ข้อสอบวิทยาการคํานวณ ม.5 การเก็บรวบรวมข้อมูล

วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 2 การเก็บรวบรวมและสำรวจข้อมูล from Coco Tan

การนำข้อมูลทุติยภูมิที่มีการจัดเก็บรวบรวมไว้แล้วใช้งาน อาจมีค่าใช้จ่ายและใช้เวลาน้อยกว่าการใช้ข้อมูลปฐมภูมิ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลทุติยภูมิที่มีการอ้างอิงหรือส่งต่อกันมาเป็นทอดๆ อาจมีความจริงบางส่วนถูกบิดเบือนไปทั้งโดยเจตนา หรือไม่เจตนา ดังนั้น ในการอ้างอิงข้อมูลทุติยภูมิ ต้องตรวจสอบความถูกต้องและแหล่งที่มาอย่างละเอียดถี่ถ้วน เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นในการนำข้อมูลไปใช้ เพื่อให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง

         2) ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) คือ ข้อมูลต่างๆ ที่มีผู้เก็บหรือรวบรวมไว้ก่อนแล้ว เพียงแต่นักวิจัยนำข้อมูลเหล่านั้นมาศึกษาใหม่ เช่น ข้อมูลสำมะโนประชากร สถิติจากหน่วยงาน และเอกสารทุกประเภท ช่วยให้ผู้วิจัยประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ต้องเสียเวลากับการเก็บข้อมูลใหม่ และสามารถศึกษาย้อนหลังได้ ทำให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณ์ที่ศึกษา แต่จะมีข้อจำกัดในเรื่องความครบถ้วนสมบูรณ์ เนื่องจากบางครั้งข้อมูลที่มีอยู่แล้วไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ของเรื่องที่ผู้วิจัยศึกษา และปัญหาเรื่องความ น่าเชื่อถือของข้อมูล ก่อนจะนำไปใช้จึงต้องมีการปรับปรุงแก้ไขข้อมูล และเก็บข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งอื่นในบางส่วนที่ไม่สมบูรณ์

ผู้แต่ง : กลุ่มนักวิชาการภาษีอากร สุเมธ ศิริคุณโชติ, กำธร สิริชูติวงศ์, อดิศักดิ์ สืบประดิษฐ์, ภิรัตน์ เจียรนัย

ปีที่พิมพ์ : กรกฎาคม 2565

คำนำ

ในรอบปีที่ผ่านมา ได้มีการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายภาษีอากรหลายเรื่อง เช่น การ
ปรับปรุงมาตรการภาษีด่างๆ เพื่อการป้องกันและต่อสู้กับโควิด 19 ที่เป็นมหันตภัยของชาวโลก
นอกจากนั้นการปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมส่วนใหญ่เป็นเรื่องการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรตาม
ประมวลรัษฎากรเพิ่มเดิมเพื่อส่งเลริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เพื่อกระจายความมั่งคั่งให้
เกิดความเป็นธรรม เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ หรือเพื่อสนองนโยบายบางประการของ
รัฐบาล รวมทั้งการปรับปรุงวิธีการจัดเก็บภาษีอากรให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
การแก้ไขปรับปรุงที่สำคัญ ได้แก่ การปรับปรุงการยกเว้นภาษีเงินได้และลดอัตราภาษี
หัก ณ ที่จ่ายจากคนต่างด้าวที่เชี่ยวชาญพิเศษฯ การแก้ไขเพิ่มเติมสิทธิประโยชน์ทางภาษีเกี่ยว
กับคริปโตเคอเรนซี่ มาตรการหักหนี้สูญ การปรับปรุงโครงสร้างหนี้ ภาษีมูลค่เพิ่มเกี่ยวกับธุรกิจ
e-Senvice การชำระอากรเป็นตัวเงินสำหรับตราสารอิเล็กทรอนิกส์ การปรับปรุงวิธีการส่งหมายเรียก
หรือเอกสารอื่นด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งปรับปรุงการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจาก
ธุรกรรม e-Service ฯลฯ
กรมสรรพากรยังมีงานสำคัญที่ยังคงทำต่อไปอีกหลายเรื่อง เช่น เรื่องการขยายฐาน
ผู้เสียภาษี เรื่องการจัดเก็บภาษีจากกิจการออนไลน์ของบริษัทข้ามชาติ เรื่องการพัฒนาบริการ
และโครงสร้างพื้นฐานเกี่ยวกับการใช้บัตรอิเล็กทรนิกส์อย่างครบวงจร เรื่องการลดความเหลื่อมล้ำ
ในทางเศรษฐกิจ เรื่องการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของผู้เสียภาษีอากร เป็นตัน ซึ่งเรื่องเหล่านี้
คงต้องมีการศึกษาคันคว้า ระดมความคิดเห็น และผลักนให้เกิดความก้าวหน้า ความชัดเจน
และเกิดผลเป็นรูปธรรมยิ่งๆ ขึ้นต่อไป
หวังว่าหนังสือภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรฉบับปรับปรุงใหม่ปี 2565 นี้ จะเป็น
ประโยชน์ต่อผู้ที่เกี่ยวข้องกับวงการภาษีอากรเช่นเคย ถ้าพบข้อผิดตกบกพร่องหรือมีข้อติชม
ชี้แนะประการใด โปรดแจ้งให้ทางผู้รวบรวมและเรียบเรียงทราบตามหมายเลขโทรศัพท์ หรืออึเมล
ที่ปรากฏบนปกหลังของหนังสือนี้ด้วย จะขอบพระคุณยิ่ง

ศาสตราจารย์ ดร.สุเมธ ศิริคุณโชติ
นายกำธร สิริชูติวงศ์
นายอดิศักดิ์ สืบประดิษฐ์
นายภิรัตน์ เจียรนัย
(กลุ่มนัทวิชาการกาษีอากร)
กรกฎาคม 2565

ภาคที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากร

2. วัตถุประสงค์ในการเก็บภาษีอากร.

3. ลักษณะของภาษีอากรที่ดี.

4.โดรงสร้างของกฎหมายภาษีอากร

5. การจำแนกประเภทภาษีอากร.

ภาคที่ 2 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

2. เงินได้พึงประเมินและแหล่งเงินได้.

3. การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

3.1 บุคคลที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมด
3.2 เงินได้ที่ได้รับยกเว้น

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมด
3.3 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่ได้รับยกเว้นประเภทของเงินได้พึงประเมินและการหักค่าใช้จ่าย

4.1 เงินได้พึ่งประเมินประเภทที่ 1

4.2 เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 2

4.3 เงินได้พึ่งประเมินประเภทที่ 3

4.4 เงินได้พึ่งประเมินประเภทที่ 4

4.5 เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 5

4.6 เงินได้พึ่งประเมินประเภทที่ 6

4.7 เงินได้พึ่งประเมินประเภทที่ 7

4.8 เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 8

5.1 การหักลดหย่อนในกรณีทั่ไป
5.2 การหักลดหย่อนในกรณีสามีภริยาต่างฝ่ายต่างมีเงินได้
5.3 การหักลดหย่อนในกรณีผู้มีเงินได้มิได้เป็นผู้อยู่ในประเทศไทย
5.4 การหักลดหย่อนในกรณีผู้มีเงินได้ถึงแก่ความตาย

5.5 การหักลดหย่อนในกรณีผู้มีเงินได้เป็นกองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง

5.6 การหักลดหย่อนในกรณีผู้มีเงินได้เป็นห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคค

6. การคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปี (มาตรา 48)

7. การเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี (มาตรา 56 ทวิ)

7.1 ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้ครึ่งปี
7..2 เงินได้พึ่งประเมินที่กำหนดให้เสียภาษีเงินได้ครึ่งปี
7.3 การคำนวณภาษีเงินได้ครึ่งปี

7.4 ตัวอย่างการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปีและสิ่นปี

8. การยื่นแบบแสดงรายการและการชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

8.1 เกณฑ์ของเงินได้พึ่งประเมินที่ต้องยื่นแบบแสดงรายการ
8.2 ผู้มีหน้าที่รับผิดขอบในการยื่นแบบแสดงรายการ
8.3 กำหนดเวลาการยื่นแบบแสดงรายการ
8.4 แบบแสดงรายการที่ใช้
8.5 สถานที่ยื่นแบบแสดงรายการ
8.6 การชำระภาษี
8.7 การผ่อนชำระภาษี มาตรา 64

9. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย.

9.1 วัดถุประสงค์
9.2 ผู้มีหน้าที่หักภาษีเงินได้ ณ ที่ข่าย
9.3 วิธีการคำนวณหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย และตัวอย่างการคำนวณ
9.4 หน้าที่ทั่วไป

ของผู้หักภาษีเงินได้ ณ ที่จายสถานที่ยื่นแบบแสดงรายการและนำส่งเงินภาษี
ตัวอย่างการกรอกรายการในบัญชีพิเศษแสดงการหักภาษี ณ ที่จ่าย

9.6 แบบแสดงรายการที่ไช้
9.7 ความรับผิดของผู้ที่มีหน้าที่หักภา

9.8 ข้อผ่อนผันบางประการเกี่ยวกับการยื่นแบบแสดงรายการ

10. เงินได้ที่สามารถแยกคำนวณต่างหากจากเงินได้อื่น

11. การขอขยายกำหนดเวลาการยื่นแบบแสดงรายการและการชำระภาษี.

13. เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม และโทษรายชื่อสถานพยาบาล สถานศึกษาและสถานสาธารณกุศลที่ผู้บริจาคมีสิทธิขอหักลดหย่อน