ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ หมาย ถึง

ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของสถาบันวิจัย มี 5 ปัจจัยที่สำคัญ ได้แก่

1. ความสามารถและแรงจูงใจของมนุษย์ (Human competence and motivation) ประกอบด้วย 4 ประเด็นย่อย

นอกจากคุณภาพและความเป็นมืออาชีพของเจ้าหน้าที่วิจัยมีส่วนสำคัญต่อความสำเร็จของสถาบันวิจัย เจ้าหน้าที่วิจัยยังต้องมีแรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่

1.1 ความสามารถส่วนบุคคล (Individual capability)

1.2 Critical mass or collegiality

1.3 ความเป็นผู้นำทางวิชาการ (Academic leadership)

1.4 แรงจูงใจและความมุ่งมั่นส่วนบุคคล (Personal motivation and commitment)

2. ความชัดเจนของวัตถุประสงค์และความสามารถในการปรับตัว (มุมมองด้านอุปทาน) (Clarity of objectives and capacity to adapt (the supply perspective)) ประกอบด้วย 7 ประเด็นย่อย

ความชัดเจนของวัตถุประสงค์ช่วยให้สถาบันวิจัยมีความแตกต่างจากคู่แข่ง และความสามารถในการปรับตัวของสถาบันวิจัยต่อสภาพแวดล้อมมีส่วนสำคัญต่อความสำเร็จของสถาบันวิจัย

2.1 ความชัดเจนของภารกิจและวัตถุประสงค์ (A clarity of mission and objectives)

2.2 A niche in a specific, differentiated area of knowledge

2.3 ระดับความสอดคล้องร่วมกันของสถาบัน (An institutionally shared level of congruence)

2.4 ข้อสรุปของการวิจัยและการสอนและความต้องการทางสังคมสำหรับความรู้ (An articulation of research and instruction, and a social need for knowledge)

2.5 การวิจัยเชิงทฤษฎีภายในองค์กร (In-house theoretical research)

2.6 ความสามารถใน assimilate และปรับตัว (Capacity to assimilate and adapt)

2.7 การเข้าถึงข้อมูล (Access to information)

3. แรงกดดันภายนอก (มุมมองของอุปสงค์) (External pressure (the demand perspective)) ประกอบด้วย 8 ประเด็นย่อย

แรงกดดันภายนอก ได้แก่ peers, ผู้ให้การสนับสนุน (sponsors), ผู้ใช้บริการ (users) และคู่แข่ง (competitors) หน่วยงานให้ทุนมีผลอย่างมากต่อการบริหารจัดการ, หัวข้อการวิจัย และจุดประสงค์ของงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ รัฐบาลทำให้เกิดการพัฒนาของสถาบันทางวิทยาศาสตร์และวิชาการผ่านทางนโยบายและการให้การสนับสนุนโดยตรง อุตสาหกรรม, การค้า, การบริการทางสังคม และความเห็นสาธารณะเป็นผู้ใช้บริการที่มีศักยภาพทั้งหมดของวิทยาศาสตร์ สถาบันไม่สามารถดำเนินการต่อไปได้ถ้าไม่ติดตามการพัฒนาของภาคส่วนอื่น การแข่งขันระหว่างศูนย์วิจัยช่วยทำให้มีความแตกต่างของการผลิตทางวิทยาศาสตร์, ทำให้เกิดงานวิจัยที่มีคุณภาพสูง, ทำให้เกิดชุมชนทางวิทยาศาสตร์ที่จำเพาะ และการเพิ่มโอกาสสำหรับนักวิจัย

3.1 การระบุผู้อื่นที่สำคัญ (The identification of significant others)

3.2 กลไกสำหรับการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง (Mechanisms for ongoing interaction with the environment)

3.3 การปรากฏตัวของการแข่งขัน (The presence of competition)

3.4 การมีส่วนร่วมในชุมชนวิทยาศาสตร์ (Participation in the scientific community)

3.5 ความสามารถในการเจรจากับผู้ให้ (Capacity to negotiate with donors)

3.6 ความยั่งยืนของท้องถิ่น (รัฐบาล, นโยบายเอกชน) (Local sustainability (government, private policy))

3.7 การระบุลูกค้าและความเข้าใจว่าลูกค้าได้รับความรู้อย่างไร (Identification of clients and an understanding of how they acquire knowledge)

3.8 สภาพแวดล้อมที่เป็นประชาธิปไตย (ในสังคมศาสตร์) (A democratic environment (in the social sciences))

4. วัฒนธรรมแห่งความรู้ (The culture of knowledge) ประกอบด้วย 5 ประเด็นย่อย

สถาบันซึ่งเปิดโอกาสให้สมาชิกมากกว่าขอบเขตของสถาบันโดยให้เข้าร่วมในงานที่จัดขึ้นเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ในที่ต่างๆ, การแลกเปลี่ยนทางวิชาการ, การเผยแพร่ผลงาน และติดต่อโดยตรงกับสำนักงานนานาชาติและระดับชาติ จะช่วยรักษาวัฒนธรรมแห่งความรู้และบรรยากาศการเรียนรู้

4.1 บรรยากาศการเรียนรู้ (A climate of learning)

4.2 คุณค่าทางปัญญา (Intellectual values)

4.3 ความรู้สึกเป็นเจ้าของ (A sense of belonging)

4.4 ความรู้สึกเป็นเจ้าของงานที่ทำ (A sense of ownership for work done)

4.5 การยอมรับรางวัลล่าช้า (An acceptance of delayed rewards)

5. กลยุทธ์การจัดการ (Management strategies) ประกอบด้วย 6 ประเด็นย่อย

5.1 ความยืดหยุ่นและการปรับตัว (Flexibility and adaptability)

5.2 กระตุ้นเศรษฐกิจ (Economic stimulus)

5.3 การลดข้อบังคับที่เข้มงวด (Reduction of red tape)

5.4 กลไกสำหรับการแก้ไขด้วยตนเอง (Mechanisms for self-correction)

5.5 กลยุทธ์ทางการเงินระยะยาว (Long-term financial strategies)

5.6 การกระจายอำนาจการตัดสินใจ (Decentralization of decision-making)

ที่มา: Benjamin Alvarez. Factors affecting institutional success. Retrieved January 18, 2021, from http://www.nzdl.org/gsdlmod?e=d-00000-00—off-0hdl–00-0—-0-10-0—0—0direct-10—4——-0-1l–11-en-50—20-about—00-0-1-00-0–4—-0-0-11-10-0utfZz-8-10&cl=CL1.10&d=HASH019c0e86f4dbd3878541a3a5.5.1&gt=1

  • หน้าแรก

  • Articles All

  • People Employment

  • Organization Development

  • 10 ปัจจัยที่ทำให้องค์กรประสบความสำเร็จ


10 ปัจจัยที่ทำให้องค์กรประสบความสำเร็จ1. ความเข้าใจในเป้าหมายที่ชัดเจน รวมถึงวิสัยทัศน์การทำงาน ที่แทรกซึมเข้าไปเป็นวัฒนธรรมองค์กร และพนักงานใช้ในการทำงานร่วมกัน
 

     2. ผลผลิตของบริษัท ที่เป็นมากกว่า ผลของการทำงาน แต่เป็นผลผลิตที่ส่งผลกระทบต่อสังคม
 

     3. ความซื่อสัตย์และความโปร่งใสขององค์กร ที่ใช้ในการติดต่อการสื่อสารไปยังลูกค้า เพื่อสร้างความไว้ใจ และความเชื่อถือให้เกิดตามมา
 

     4. การวางแผนสร้างความสัมพันธ์ระะหว่างองค์กรกับลูกค้าให้เกิดขึ้นในระยะยาว
 

     5. พนักงานเข้าใจถึงวิธีการทำงานเป็นทีม และทำงานร่วมกันเป็นอย่างดี

 

ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ หมาย ถึง

     6. การมองไปในระยะยาว ถึงการรักษาไว้ซึ่งมาตราฐานที่ดีขององค์กร

     7. การที่พนักงานเข้าใจว่า วิธีที่จะสามารถแข่งขันกับองค์กรอื่นๆ นั้น จะต้องรีดขีดพลังความสามารถของตัวเองออกมามากที่สุด และต้องปฏิบัติตามข้อตกลงขององค์กร
 

     8. หัวหน้าและพนักงานมองอนาคตไปในทิศทางเดียวกัน และกำลังปฏิบัติการเพื่อมุ่งไปยังอนาคตนั้น
 

     9. องค์กรปรับปรุงกลยุทธ์ไปเรื่อยๆ อย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งความสนใจ ไปที่การพัฒนาความสามารถ แลเพิ่มประสบการณ์ให้
กับพนักงาน
 

     10. องค์กรวางโครงสร้างในการทำงานเป็นทีม ให้เล็ก กระชับ และใช้งานได้ง่าย แต่วางเป้าหมายไปสู่ความสำเร็จให้มีความ
ยิ่งใหญ่


ที่มา : http://www.thaihrcenter.com/