แนวข้อสอบช่างไฟฟ้าภายในอาคาร ระดับ 1 pdf

[Update PDF] แนวข้อสอบ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร กรมพัฒาฝีมือแรงงาน NEW.

Show

*** โหลดแนวข้อสอบ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร กรมพัฒาฝีมือแรงงาน อัพเดทใหม่ 2560  ***

*** ตำราสอบ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร กรมพัฒาฝีมือแรงงาน ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดที่สอบ ***

*** ชุดหนังสือสอบ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร กรมพัฒาฝีมือแรงงาน เข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน  ***

คัดกรองจากรุ่นพี่ที่สอบได้อันดับต้นๆ เก็งข้อสอบมาอย่างดี

อ่านกระชับเวลา ไม่สับสนวุ่นวาย ออกชัวร์ๆ แม่นยำที่นี้ทีเดียว

ดูรายละเอียดแนวข้อสอบ ช่างไฟฟ้าภายในอาคาร กรมพัฒาฝีมือแรงงาน เพิ่มเติมได้ที่ 

แนวข้อสอบช่างไฟฟ้าภายในอาคาร ระดับ 1 pdf

ติดตาม ข่าวเปิดสอบงานราชการ ทุกหน่วยงาน 

แนวข้อสอบช่างไฟฟ้าภายในอาคาร ระดับ 1 pdf

แนวข้อสอบช่างไฟฟ้าภายในอาคาร กรมพัฒาฝีมือแรงงาน

1 ความรู้เกี่ยวกับ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

2 แนวข้อสอบ ความรู้เกี่ยวกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

3 แนวข้อสอบวิชาความรู้ความสามารถทั่วไป

4 แนวข้อสอบความสามารถด้านเหตุผล

5 พรบ.ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ.2545

6 แนวข้อสอบ พรบ.ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ.2545

7 ถาม -ตอบ ความรู้เกี่ยวกับระบบสื่อสารและความปลอดภัยประกอบอาคาร

8 แนวข้อสอบความรู้การเมือง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม ประชาคมอาเซียน

9 แนวข้อสอบนายช่างไฟฟ้า ชุด 1

10 แนวข้อสอบนายช่างไฟฟ้า ชุด 2

MP3 - P061 – สรุปสาระสำคัญของประชาคมอาเซียน

 

แนวข้อสอบช่างไฟฟ้าภายในอาคาร ระดับ 1 pdf

สนใจ #แนวข้อสอบช่างไฟฟ้าภายในอาคาร กรมพัฒาฝีมือแรงงาน ติดต่อที่ 

โทร : 092-8307874

Line : tahlok_20

สั่งซื้อแนวข้อสอบ คลิ๊ก Line@ https://line.me/R/ti/p/%40umq6999y

** ข้อสอบมี 4 แบบ **

1. ไฟล์ PDF ชุดละ 399 บาท (ได้รับภายในวันที่สั่งซื้อ รวดเร็วทันใจ) 

2. หนังสือ+VCD ราคา 699 บาท (ส่งฟรี ems พร้อม VCD บรรยายต่างๆ) 

3. ชุดติว VCD + หนังสือ ราคา 1500 บาท (VCD ครอบคุมในหนังสือที่สอบ)

4. ชุดติว DVD + หนังสือ ราคา 2500 บาท (เจาะลึกจัดเต็ม เข้าใจง่าย)

สนใจชำระค่าสินค้าและบริการ แล้วแจ้งได้เลยครับ

เลขที่บัญชี 476-0-29971-8 ประเภทบัญชี ออมทรัพย์ ธ.กรุงไทย 

ชื่อบัญชี ณัฐพงศ์ เทียนแก้ว 

เลขที่บัญชี 549-2-16995-3 ประเภทบัญชี ออมทรัพย์ ธ.กสิกรไทย 

ชื่อบัญชี ณัฐพงศ์ เทียนแก้ว 

*** ขอให้ท่านโชคดีในการสอบ #แนวข้อสอบช่างไฟฟ้าภายในอาคาร กรมพัฒาฝีมือแรงงาน ยินดีให้บริการครับ ***

สู้ๆนะครับ ยินดีที่ได้บริการครับ

แนวข้อสอบช่างไฟฟ้าภายในอาคาร ระดับ 1 pdf

แนวข้อสอบช่างไฟฟ้าภายในอาคาร ระดับ 1 pdf

คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ของ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อให้ท่านสามารถ เข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้ รวมถึงช่วยจดจำข้อมูลที่ท่านเคยให้ไว้ผ่านเว็บไซต์ การปิด การใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะ ส่งผลให้ท่านไม่สามารถใช้บริการในสาระสำคัญของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ซึ่งจำเป็นต้องเรียกใช้คุกกี้ได้

วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (วทอ.) เป็นส่วนงานระดับคณะของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ก่อตั้งขึ้นจากโครงการความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมันใน ปี พ.ศ. 2502 ปัจจุบันวิทยาลัยเปิดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับเตรียมวิศวกรรมศาสตร์จนถึงระดับบัณฑิตศึกษา ซึ่งครอบคลุมในหลากหลายสาขาวิชาทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตช่างฝีมือ วิศวกร นักเทคโนโลยี รวมถึงนักวิจัยขั้นสูง ด้วยระบบการเรียนการสอนแบบเยอรมันที่มุ่งเน้นการปฏิบัติ และประสบการณ์จริงในโรงงาน ให้สอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

หลักสูตรเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (EP) 3 สาขา ได้แก่

สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
สาขาวิชาเครื่องกล
สาขาวิชาโยธา

หลักสูตรปริญญาตรี ต่อเนื่อง 2-3 ปี

หลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (อส.บ.) 6 สาขา ได้แก่

สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล ออกแบบเครื่องกล/ออกแบบแม่พิมพ์
สาขาวิชาเทคโนโลยีแมคคาทรอนิกส์
สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องต้นกำลังเทคโนโลยียานยนต์/เครื่องต้นกำลังอุตสาหกรรม
สาขาวิชาเทคโนโลยีการเชื่อม
สาขาวิชาเทคโนโลยไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กำลัง
สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์โทรคมนาคม/คอมพิวเตอร์/เครื่องมือวัดและควบคุม

หลักสูตรปริญญาตรี เทียบโอน 3 ปี

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) 4 สาขา ได้แก่

สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการออกแบบและผลิตเครื่องจักรกล
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมออกแบบและผลิตเครื่องจักรกล สร้างเครื่องจักรกล/ออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องกล
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กำลัง
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการทำความเย็นและการปรับอากาศ
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมแม่พิมพ์และเครื่องมือ

หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) 12 สาขา ได้แก่

สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมแม่พิมพ์และเครื่องมือ
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมพอลิเมอร์
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการเชื่อม
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมยานยนต์
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการทำความเย็นและการปรับอากาศ
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมซ่อมบำรุงอากาศยาน
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กำลัง
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและเทคโนโลยี

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) 1 สาขา ได้แก่

สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีการผลิตและสารสนเทศ

หลักสูตรปริญญาโท

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.) 8 สาขา ได้แก่

สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมเครื่องกล

สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมยานยนต์และพลังงาน
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมพลังงาน
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประยุกต์
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้าประยุกต์
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการก่อสร้าง
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการเชื่อม
สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีวิศวกรรม

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) 2 สาขา ได้แก่

สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมเพื่อธุรกิจและอุตสาหกรรม
สาขาวิชาการจัดการเชิงวิศวกรรมและสิ่งแวดล้อมในเมือง

หลักสูตรปริญญาเอก

หลักสูตรหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วศ.ด) 1 สาขา ได้แก่

สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมยานยนต์และพลังงาน (DAET)

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด) 1 สาขา

สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมพลังงาน (DEET)

ภาควิชาทั้งหมด

  • เทคโนโลยีวิศวกรรมเครื่องกล

  • เทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า

  • เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม

  • วิทยาศาสตร์ประยุกต์และสังคม

  • เทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ

  • เทคโนโลยีวิศวกรรมเครื่องต้นกำลัง

  • เทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์

  • เทคโนโลยีวิศวกรรมการเชื่อม

  • การจัดการเทคโนโลยีการผลิตและสารสนเทศ

  • โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน

  • เทคโนโลยีวิศวกรรมเครื่องกล

ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมเครื่องกล (Department of Mechanical Engineering Technology) มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ทางทฤษฏีและทักษะในด้านปฏิบัติ  โดยมุ่งเน้นการนำความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์รวมถึงความรู้ด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมต่าง ๆ มาประยุกต์เข้าด้วยกันได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ควบคู่ไปกับคุณธรรม จริยธรรม  โดยมีการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง

หลักสูตรปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.)

  • สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการออกแบบและผลิตเครื่องจักรกล  2  แขนง (PDF)

– แขนงวิชาสร้างเครื่องจักรกล  MDET(M)
– แขนงวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องกล  MDET(D)

  • สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมแม่พิมพ์และเครื่องมือ TDET(P) (PDF)
  • สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์ MtET (PDF)
  • สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมพอลิเมอร์ PoET (PDF)

หลักสูตรปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) (เทียบโอน)

  • แขนงวิชาแม่พิมพ์พลาสติก  TDET(P)-2R
  • แขนงวิชาแม่พิมพ์โลหะ  TDET(D)-2RS
  • แขนงวิชาสร้างเครื่องจักรกล MDET(M)-2R11
  • แขนงวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องกล MDET(D)-2R11

หลักสูตรปริญญาโท อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต (อส.ม.) ต่อเนื่อง

  • สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล (ออกแบบเครื่องกล–ออกแบบแม่พิมพ์) MDT/TDT (PDF)
  • สาขาวิชาเทคโนโลยีแมคคาทรอนิกส์ MtT (PDF)

หลักสูตรปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม) (PDF)

  • กลุ่มวิชาด้านการออกแบบและการสร้างเครื่องจักรกล
  • กลุ่มวิชาด้านการออกแบบและการสร้างแม่พิมพ์
  • กลุ่มวิชาด้านแมคคาทรอนิกส์
  • กลุ่มวิชาด้านกระบวนการผลิตทางพอลิเมอร์
  • กลุ่มวิชาด้านกลศาสตร์การคำนวณ

  • เทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า

ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า (Department of Electrical Engineering Technology) เป็นภาควิชาที่สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ปัจจุบันเปิดสอนในหลักสูตรปริญญาตรี จำนวน 2 หลักสูตร และหลักสูตรปริญญาโท จำนวน 1 หลักสูตร ระดับปริญญาตรีทำการเรียนการสอนหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (PnET) และหลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (PNT) ซึ่งเป็นหลักสูตรเฉพาะทาง เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความสามารถ เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบไฟฟ้ากำลัง อิเล็กทรอนิกส์กำลัง ระบบควบคุมในเครื่องจักร กระบวนการผลิต และการบำรุงรักษาทั้งภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจบริการได้ โดยการเรียนการสอนจะให้ความสำคัญทั้งเชิงทฤษฎีและลงมือปฏิบัติ เพื่อให้บัณฑิต คิดเป็น ทำเป็น เน้นความรู้เฉพาะทางด้านไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กำลัง สำหรับระดับปริญญาโท เปิดสอนหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้าประยุกต์ (MAEE)  เป็นหลักสูตรสหกิจศึกษาที่มุ่งเน้นการวิจัยเชิงประยุกต์เพื่อเพิ่มพูนความรู้และความสามารถของผู้เรียนในหลากหลายสาขาทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า หลักสูตรนี้เป็นการบูรณาการทางวิศวกรรมและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบัติจริง นอกจากนี้หลักสูตรดังกล่าวยังสอดคล้องกับวิศวกรที่ทำงานในภาคอุตสาหกรรมด้วย ผลลัพธ์ของหลักสูตรคือการแนะแนวทางในการสร้างทักษะด้านวิศวกรรมและทักษะการเป็นผู้นำแก่ผู้เรียน

หลักสูตรปริญญาตรี วิศวกรรมบัณฑิต (วศ.บ.) 4 ปี  (PDF)

สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (ภาษาไทย)เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาช่วงเวลาเรียนค่าเทอมแขนงวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (อิเล็กทรอนิกส์กำลัง)ภาคปกติ 148 หน่วยกิต (เสริมทักษะภาษาอังกฤษ)จ-ศ. (09.00 – 16.00)19,000 บาท (ประมาณ)แขนงวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
– (อิเล็กทรอนิกส์กำลัง)
– (ควบคุม)ภาคสมทบ 148 หน่วยกิต (เสริมทักษะภาษาอังกฤษ)จ-ศ. (09.00 – 16.00)29,000 บาท (ประมาณ)

หลักสูตรปริญญาตรี วิศวกรรมบัณฑิต (วศ.บ.) 3 ปี  (PDF)

สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (ภาษาไทย)เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาช่วงเวลาเรียนค่าเทอมแขนงวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (อิเล็กทรอนิกส์กำลัง)ภาคปกติ 124 หน่วยกิต (เสริมทักษะภาษาอังกฤษ)จ-ศ. (09.00 – 16.00)29,000 บาท (ประมาณ)

หลักสูตรปริญญาตรี อุตสาหกรรมบัณฑิต (อส.บ.) ต่อเนื่อง 2-3 ปี  (PDF)

สาขาเกณฑ์การสำเร็จการศึกษาช่วงเวลาเรียนค่าเทอมสาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กำลัง 2 ปี (ภาษาไทย)ภาคปกติ 86 หน่วยกิต (เสริมทักษะภาษาอังกฤษ)จ-ศ. (09.00 – 16.00 น.)19,000 บาท (ประมาณ)สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์กำลัง 3 ปี (ภาษาไทย)ภาคปกติ 86 หน่วยกิต (เสริมทักษะภาษาอังกฤษ)จ-ศ. (17.00 – 20.00 น.)
ส (08.00 – 16.00 น.)19,000 บาท (ประมาณ)

หลักสูตรปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต 2 ปี

สาขาเกณฑ์การสำเร็จการศึกษาช่วงเวลาเรียนค่าเทอมสาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้าประยุกต์ (ภาษาไทย)ภาคค่ำ 36 หน่วยกิต (วิทยานิพนธ์)จ-ศ. (16.00 – 21.00 น.)
ส (08.00 – 16.00 น.)17,000 บาท (ประมาณ)

  • เทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม

ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม หรือที่รู้จักกันในนาม CvET (Civil and Environmental Engineering Technology) เป็นส่วนหนึ่งของคณะวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เปิดดำเนินการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและเทคโนโลยี และระดับบัณฑิตศึกษา (ปริญญาโท) 2 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการก่อสร้าง และ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการด้านวิศวกรรมและสิ่งแวดล้อมในเมือง เรามุ่งเน้นการจัดการเรียนการสอนที่มีทั้งศาสตร์ที่เกี่ยวข้องในสาขาวิศวกรรมโยธาและเทคโนยีการก่อสร้าง และศาสตร์ในสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ที่มุ่งเน้นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมในเมือง

หลักสูตรปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต 4 ปี (PDF)

สาขาเกณฑ์การสำเร็จการศึกษาช่วงเวลาเรียนค่าเทอมสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและเทคโนโลยี 148 หน่วยกิตจ-ศ (08.00 – 16.00 น.)19,000 บาท (ประมาณ)

หลักสูตรปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต 2 ปี (PDF)

สาขาเกณฑ์การสำเร็จการศึกษาช่วงเวลาเรียนค่าเทอมสาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการก่อสร้างภาคปกติ 36 หน่วยกิต (วิทยานิพนธ์)จ-ศ (08.00 – 16.00 น.)19,000 บาท (ประมาณ)สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการก่อสร้างภาคพิเศษ 36 หน่วยกิต (วิทยานิพนธ์)ส-อา (18.00 – 21.00 น.)35,000 บาท (ประมาณ)

หลักสูตรปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 2 ปี (PDF)

สาขาเกณฑ์การสำเร็จการศึกษาช่วงเวลาเรียนค่าเทอมสาขาวิชาการจัดการด้านวิศวกรรมและสิ่งแวดล้อมในเมืองภาคปกติ 36 หน่วยกิต (วิทยานิพนธ์)จ-ศ (08.00 – 16.00 น.)19,000 บาท (ประมาณ)

  • วิทยาศาสตร์ประยุกต์และสังคม

ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์และสังคม วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ปัจจุบันเปิดการเรียนการสอนในระดับปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการนวัตกรรมเพื่อธุรกิจและอุตสาหกรรม (สหวิทยาการ) หรือที่รู้จักในนาม MIMB (Master of Science Program in Innovation Management for Business and Industry) ซึ่งวัตถุประสงค์ของหลักสูตรเพื่อผลิตบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการทำงานและพัฒนาองค์ความรู้ในด้านการจัดการนวัตกรรมทั้งในภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม สร้างองค์ความรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้อง และนำนวัตกรรมไปสู่การพาณิชย์ ตลอดจนเป็นผู้ที่มีคุณธรรมจริยธรรมและมีภาวะผู้นำในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฎิบัติตนอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม เราวางรากฐานทางทฤษฎีที่แข็งแกร่งและเสริมสร้างให้ผู้เรียนเข้าใจด้วยทำงานวิจัยในระดับมาตรฐาน และการศึกษาดูงานจนสามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้จริง หลักสูตรนี้ผลิตมหาบัณฑิตให้เป็นผู้นำ เป็นนักพัฒนาที่สามารถสร้างนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เหมาะสมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

หลักสูตรปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 2 ปี (PDF)

สาขาเกณฑ์การสำเร็จการศึกษาช่วงเวลาเรียนค่าเทอมสาขาการจัดการนวัตกรรมเพื่อธุรกิจและอุตสาหกรรม (สหวิทยาการ)ภาคปกติ 36 หน่วยกิต (วิทยานิพนธ์)จ-ศ (18.00 – 21.00 น.)18,000 บาทสาขาการจัดการนวัตกรรมเพื่อธุรกิจและอุตสาหกรรม (สหวิทยาการ)ภาคปกติ 36 หน่วยกิต (สารนิพนธ์)จ-ศ (18.00 – 21.00 น.)18,000 บาท

  • เทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ

ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จัดทำหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตสาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2554 ในรูปแบบสหกิจศึกษา (Co-operative Education) เปิดโอกาสให้นักศึกษาในหลักสูตรออกปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการเป็นระยะเวลา 1 ภาคการศึกษา และมีการปรับปรุงล่าสุดเมื่อ ปี พ.ศ.2559 เพื่อให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมโดยมุ่งเน้นผลิตการผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ สามารถประยุกต์ใช้งานด้านวิศวกรรมในสถานประกอบการและโรงงานอุตสาหกรรม โดยมีวัตถุประสงค์

  1. เพื่อผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการที่มีความเชี่ยวชาญ สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมด้านต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีวิสัยทัศน์ในการเลือกและใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยให้เหมาะสมกับงานด้านอุตสาหกรรมในแต่ละด้าน
  3. พื่อผลิตบัณฑิตที่มีเจตคติที่ดี มีคุณธรรมและมีทักษะเพียงพอที่จะสามารถดำเนินธุรกิจอุตสาหกรรม อย่างมีประสิทธิภาพและมีความรับผิดชอบต่อชุมชน

หลักสูตรปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต 4 ปี (PDF)

สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ

หลักสูตรปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (PDF)

สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีวิศวกรรม

  • เทคโนโลยีวิศวกรรมเครื่องต้นกำลัง

หลักสูตรปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) 4 ปี 

สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมยานยนต์ (PDF)

สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการทำความเย็นและการปรับอากาศ (PDF)

สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมซ่อมบำรุงอากาศยาน (PDF)

หลักสูตรปริญญาตรี อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (อส.บ.) 2-3 ปี

เทคโนโลยีเครื่องต้นกำลัง (PDF)

หลักสูตรปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.) 2 ปี 

สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมพลังงาน (PDF)

สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมยานยนต์และพลังงาน

หลักสูตรปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)

สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมพลังงาน (PDF)

  • เทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์

ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เป็นหนึ่งในสิบหน่วยงานของวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมซึ่งประกอบไปด้วย 4 แขนงวิชา ได้แก่ แขนงวิชาการกระจายเสียงวิทยุและโทรทัศน์ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ แขนงวิชาเครื่องมือวัดและควบคุม และแขนงวิชาโทรคมนาคม ปัจจุบันภาควิชาฯจัดการเรียนการสอนทั้งหมด 3 หลักสูตรด้วยกัน ได้แก่ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประยุกต์ (MEEE) หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (EnET) และหลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรสาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ (ECT-EIT-ETT)

แขนงวิชาการกระจายเสียงวิทยุและโทรทัศน์ – มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถออกแบบและผลิตสื่อในงานกระจายเสียงวิทยุและโทรทัศน์ สามารถความคุมการดำเนินงานในสถานี สามารถติดตั้งและตรวจสอบการทำงานของอุปกรณ์ ตลอดจนการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่องานกระจายเสียงวิทยุและโทรทัศน์

แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ – มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถออกแบบและประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ สามารถออกแบบและวิเคราะห์โครงสร้างข้อมูล อัลกอริธึม และเทคนิคทางด้านปัญญาประดิษฐ์เพื่อแก้ปัญหาต่างๆ สามารถออกแบบและพัฒนาระบบซอฟต์แวร์ เว็บแอฟพลิเคชันและระบบฐานข้อมูล สามารถออกแบบระบบเครือข่าย

แขนงวิชาเครื่องมือวัดและควบคุม – มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถใช้เครื่องมือวัดและอุปกรณ์ตรวจจับในอุตสาหกรรมได้อย่างเหมาะสม สามารถออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการวัดคุม สามารถออกแบบและวิเคราะห์ระบบควบคุมทางอุตสาหกรรม สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับงานควบคุมในอุตสาหกรรม

แขนงวิชาโทรคมนาคม – มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจและออกแบบระบบการสื่อสารอนาล็อค-ดิจิทัล และระบบเครือคอมพิวเตอร์ทั้งแบบมีสายและไร้สาย สามารถออกแบบวงจรไมโครเวฟและอุปกรณ์แพร่กระจายคลื่น สามารถใช้โปรแกรมจำลองในการทำงานระบบสื่อสารและออกแบบอุปกรณ์สื่อสาร

หลักสูตรปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) 4 ปี (PDF)

สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาช่วงเวลาเรียนค่าเทอมแขนงโทรคมนาคม (ภาษาไทย)ภาคปกติ 147 หน่วยกิตจ-ศ (09.00 – 16.00 น.)19,000 บาท (เหมาจ่าย)แขนงโทรคมนาคม (ภาษาไทย)ภาคสมทบพิเศษ 147 หน่วยกิตจ-ศ (09.00 – 16.00 น.)25,000 บาท (เหมาจ่าย)แขนงคอมพิวเตอร์ (ภาษาไทย)ภาคปกติ 147 หน่วยกิตจ-ศ (09.00 – 16.00 น.)19,000 บาท (เหมาจ่าย)แขนงเครื่องมือวัดและควบคุม (ภาษาไทย)ภาคปกติ 147 หน่วยกิตจ-ศ (09.00 – 16.00 น.)19,000 บาท (เหมาจ่าย)แขนงการกระจายเสียงวิทยุและโทรทัศน์ (ภาษาไทย)ภาคปกติ 147 หน่วยกิตจ-ศ (09.00 – 16.00 น.)19,000 บาท (เหมาจ่าย)

หลักสูตรปริญาตรี อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (อส.บ.) 2-3 ปี (PDF)

สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาช่วงเวลาเรียนค่าเทอมแขนงโทรคมนาคม (ภาษาไทย)ภาคปกติ 85 หน่วยกิตจ-ศ (09.00 – 16.00 น.) 2 ปี
จ-ศ (17.00 – 21.00 น.) 3 ปี
ส (09.00 – 16.00 น.) 3 ปี19,000 บาท (เหมาจ่าย) แขนงคอมพิวเตอร์ (ภาษาไทย)ภาคปกติ 85 หน่วยกิตจ-ศ (09.00 – 16.00 น.) 2 ปี
จ-ศ (17.00 – 21.00 น.) 3 ปี
ส (09.00 – 16.00 น.) 3 ปี19,000 บาท (เหมาจ่าย) แขนงเครื่องมือวัดและควบคุม (ภาษาไทย)ภาคปกติ 85 หน่วยกิตจ-ศ (09.00 – 16.00 น.) 2 ปี
จ-ศ (17.00 – 21.00 น.) 3 ปี
ส (09.00 – 16.00 น.) 3 ปี19,000 บาท (เหมาจ่าย)

หลักสูตรปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) 2 ปี (PDF)

สาขาเกณฑ์การสำเร็จการศึกษาช่วงเวลาเรียนค่าเทอมสาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประยุกต์ (ภาษาไทย)ภาคปกติ 36 หน่วยกิต (วิทยานิพนธ์)จ-ศ (09.00 – 16.00 น.)19,000 บาท (ประมาณ)สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประยุกต์ (ภาษาไทย)ภาคปกติ 36 หน่วยกิต (วิทยานิพนธ์)จ-ศ (09.00 – 16.00 น.)
ส. (09.00 – 16.00 น.)19,000 บาท (เหมาจ่าย)

  • เทคโนโลยีวิศวกรรมการเชื่อม

ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการเชื่อม เดิมเป็นเพียงแผนกวิชาเทคโนโลยีการเชื่อมสังกัดอยู่ในภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมเครื่องกล ต่อมาได้จัดตั้งเป็นโครงการภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการเชื่อม ในปี พ.ศ.2548 และได้รับอนุมัติให้จัดตั้งเป็นภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการเชื่อม ในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ.2549  เพื่อเปิดสอนหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมการเชื่อม และหลักสูตรอุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการเชื่อม โดยมีรูปแบบการศึกษามุ่งเน้นทางการเสริมสร้างขีดความสามารถในด้านกระบวนการเชื่อม เทคโนโลยีด้านการเชื่อม เครื่องมือ  การตรวจสอบงานเชื่อม และควบคุมคุณภาพควบคู่ไปกับคุณธรรม  เดิมภาควิชาเปิดรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ปีละ 4 ห้อง ห้องเรียนละ 30 คน  โดยมีการปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง

หลักสูตรปริญญาตรี วิศวกรรมบัณฑิต (วศ.บ.) 4 ปี  (PDF)

เทคโนโลยีวิศวกรรมการเชื่อม

หลักสูตรปริญญาตรี อุตสาหกรรมบัณฑิต (อส.บ.) ต่อเนื่อง 2-3 ปี (PDF)

เทคโนโลยีการเชื่อม

หลักสูตรปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.) 2 ปี (PDF)

เทคโนโลยีวิศวกรรมการเชื่อม

  • การจัดการเทคโนโลยีการผลิตและสารสนเทศ

ภาควิชาการจัดการเทคโนโลยีการผลิตและสารสนเทศ  ภาควิชาการจัดการเทคโนโลยีการผลิตและสารสนเทศ หรือเรียกชื่อย่อว่า IPTM เป็นส่วนหนึ่งของวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ปัจจุบันเปิดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีการผลิตและสารสนเทศ ในรูปแบบสหกิจศึกษาโดยเน้นการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎีและปฏิบัติควบคู่กันเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถด้านการจัดการเทคโนโลยีการผลิตและสารสนเทศ สามารถประยุกต์ใช้งานด้านการจัดการเทคโนโลยีการผลิตในสถานประกอบการและโรงงานอุตสาหกรรม ด้านการโปรแกรม การสื่อสารข้อมูลและการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ และอื่น ๆ นอกจากนั้นยังเปิดโอกาสให้นักศึกษาออกปฏิบัติงานสหกิจศึกษาในหน่วยงานภาครัฐและเอกชนชั้นนำตามความถนัด เป็นเวลา 10 เดือน เพื่อเป็นการเชื่อมโยงการเรียนรู้ในห้องเรียนกับประสบการณ์จากการทำงานจริง อันนำไปสู่การผลิตบัณฑิตที่มีแนวคิดเชิงปฏิบัติ ทำงานเป็น สามารถบูรณาการความรู้ด้านการจัดการผลิตและเทคโนโลยีสารสนเทศกับการทำงาน ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายประเทศไทย 4.0 ของรัฐบาล (Smart Industry Smart City and Smart People) ในการบูรณาการโลกของการผลิตกับการเชื่อมต่อทางเครือข่าย (Internet of Things) นอกจากนั้น นักศึกษายังได้รับการฝึกทักษะด้านการวิจัยในรายวิชาโครงงานพิเศษ โดยเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะในการคิด วิเคราะห์ และสร้างสรรค์งานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์ได้จริง เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนออกไปประกอบวิชาชีพ

หลักสูตรปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต  (PDF)

สาขาเกณฑ์การสำเร็จการศึกษาช่วงเวลาเรียนค่าเทอมสาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีการผลิตและสารสนเทศภาคปกติ 141 หน่วยกิต (ปริญญานิพนธ์)จ-ส (8.00-21.00 น.)19,000 (ประมาณ)สาขาวิชาคณิตศาสตร์เชิงวิทยาการคอมพิวเตอร์ภาคสมทบพิเศษ 141 หน่วยกิต (ปริญญานิพนธ์)จ-ส (8.00-21.00 น.)29,000 (ประมาณ)

  • โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน

โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน เป็นหน่วยงานระดับภาควิชา สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม บริหารงานตามนโยบายของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ จัดการเรียนการสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ หลักสูตรเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ เปิดสอน 3 สาขา ได้แก่ สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาเครื่องกล และสาขาโยธา (โปรแกรมภาษาไทย, โปรแกรมภาษาอังกฤษ) โดยมุ่งเน้นการเรียนการสอนที่ฝึกให้นักเรียนมีทักษะความชำนาญในงานปฏิบัติ เสริมสร้างประสบการณ์ทางเทคนิค ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ และวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมที่มีความสำคัญสำหรับนักเรียนนำไปใช้ศึกษาต่อระดับในระดับที่สูงขึ้น โดยเฉพาะทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายในประเทศหรือต่างประเทศ

คุณสมบัติของผู้สมัครเข้าศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ต้องสำเร็จการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น  หรือกำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนสุดท้ายระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 (ไม่รับสอบเทียบ ม.3) โดยเมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วผู้ที่จะเข้าศึกษาต่อจะต้องมีระดับผลการเรียนเฉลี่ย (GPA)  เฉพาะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม.3) ไม่ต่ำกว่า 2.50 หรือ มีผลการเรียนรวมเฉลี่ยตลอดหลักสูตร ชั้น ม.1 – ม.3 ไม่ต่ำกว่า 2.50 โดยมหาวิทยาลัยจะพิจารณาผลการเรียนจากระเบียนการแสดงผลการเรียนหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 3  มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3  (ปพ.1:3)  เท่านั้น