รูป แบบ คำสั่ง ของ if มี กี่ รูป แบบ

คำสั่งตรวจสอบเงื่อนไข if, if else, if elseif else ในภาษา PHP

คำสั่งตรวจสอบเงื่อนไข if, if else, if elseif else ถือว่าเป็นคำสั่งที่ใช้ควบคุมการทำงานของ โปรแกรมอย่างหนึ่งในภาษา PHP

ในการเขียนโปรแกรมเรามักจะเจอกรณีที่จะต้องมีการตัดสินใจ หรือมีเงื่อนไขต่างๆ ซึ่ง คำสั่ง ตรวจสอบเงื่อนไข if, if else, if elseif else ถือว่าเป็นคำสั่งพื้นฐานสำหรับคนที่เขียนโปรแกรม จะต้องรู้

คำสั่งตรวจสอบเงื่อนไข if คำสั่ง if เป็นคำสั่งที่ใช้ตรวจสอบ เงื่อนไขที่เป็นจริง(true) หรือเป็นเท็จ(false) หากเงื่อนไขเป็น จริง(true) โปรแกรมก็จะทำงานภายใต้วงเล็บหลัง if แต่ถ้าหากเงื่อนไขเป็นเท็จ(true) ก็จะไม่เกิด อะไรกับเงื่อนไขนี้ โปรแกรมจะข้ามไปทำงานในคำสั่งถัดไป โดยมีรูปแบบคำสั่งเป็นดังนี้

คำสั่ง if เป็นคำสั่งที่ใช้ตรวจสอบ เงื่อนไขที่เป็นจริง(true) หรือเป็นเท็จ(false) หากเงื่อนไขเป็น จริง(true) โปรแกรมก็จะทำงานภายใต้วงเล็บหลัง if แต่ถ้าหากเงื่อนไขเป็นเท็จ(true) ก็จะไม่เกิด อะไรกับเงื่อนไขนี้ โปรแกรมจะข้ามไปทำงานในคำสั่งถัดไป โดยมีรูปแบบคำสั่งเป็นดังนี้

รูป แบบ คำสั่ง ของ if มี กี่ รูป แบบ

โดยจะขอยกตัวอย่าง คือ ถ้านายก. อายุมากกว่า 20 ถึงจะสามารถไปเที่ยวกับเพื่อนได้

รูป แบบ คำสั่ง ของ if มี กี่ รูป แบบ

ผลลัพธ์ที่ได้คือ นาย ก. สามารถไปเที่ยวกับเพื่อนได้ เนื่องจากนายก. อายุมากกว่า 20 ปี

คำสั่งตรวจสอบเงื่อนไข if else

คำสั่ง if else เป็นคำสั่งแบบเลือกทำสองทางเลือก ถ้าเงื่อนไขเป็นจริงจะทำคำสั่งหลัง if แต่ถ้า เงื่อนไขเป็นเท็จจะทำคำสั่งหลัง else โดยรูปแบบคำสั่งเป็นดังนี้

รูป แบบ คำสั่ง ของ if มี กี่ รูป แบบ

โดยจะขอยกตัวอย่างคือ ถ้า นายก. มีเงินมากกว่า 100 เขาจะสามารถซื้อกางเกงได้ แต่ถ้าเขา ไม่มีเงิน เขาก็จะไม่สามารถซื้อกางเกงได้

รูป แบบ คำสั่ง ของ if มี กี่ รูป แบบ

ผลลัพธ์ ที่ได้คือ นายก. สามารถซื้อกางเกงได้ เนื่องจากนายก. มีเงินมากกว่า 100 บาท

คำสั่งตรวจสอบเงื่อนไข if elseif else

คำสั่ง if elseif else เป็นคำสั่งแบบเลือกทำมากกว่าสองเงื่อนไข โดยมีรูแบบคำสั่งเป็นดังนี้

รูป แบบ คำสั่ง ของ if มี กี่ รูป แบบ

โดยส่วนใหญ่เรามักจะเห็นการใช้ if elseif else ในกรณีตรวจสอบคะแนนหรือผลการเรียน แต่วันนี้ เราจะขอยกตัวอย่าง คือ นาย ก. มีเงินน้อยกว่า 500 บาท เขาจะสามารถซื้อกางเกงได้ และถ้าเขามี เงินน้อยกว่า 1000 บาท เขาจะสามารถซื้อกางเกงและเสื้อได้ และเขามีเงินน้อยกว่า 1500บาท เขาจะ สามารถซื้อกางเกง เสื้อ และรองเท้าได้

ในบทก่อนหน้า คุณได้เรียนรู้พื้นฐานของภาษา C ไปแล้ว ในบทนี้คุณจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการควบคุมการทำงานของโปรแกรมโดยใช้คำสั่งควบคุม ในภาษา C มีคำสั่งควบคุมหลายประเภทที่คุณสามารถใช้ได้ เช่น if, if-else, for, while, do-while เป็นต้น ซึ่งคำสั่งควบคุมการทำงานของโปรแกรมนั้นจะมีสองประเภทคือ คำสั่งเลือกเงื่อนไขและคำสั่งวนซ้ำที่คุณจะได้เรียนในบทนี้

คำสั่ง If

คำสั่งควบคุมการทำงานที่เป็นพื้นฐานที่สุดในภาษา C นั้นก็คือคำสั่ง if มันใช้สำหรับสร้างเงื่อนไขให้โปรแกรมทำงานตามที่ต้องการ ยกตัวอย่างเช่น ถ้าหากวันนี้ฝนไม่ตก คุณจะออกไปเที่ยวข้างนอก นี่เป็นการตัดสินใจที่เกิดขึ้นและถูกนำแนวคิดมาใช้ในการเขียนโปรแกรม นี่เป็นรูปแบบของการใช้งานคำสั่ง if ในภาษา C

if (expression)
{
    // statements
}

คำสั่ง if เป็นคำสั่งที่ใช้ในการตรวจสอบว่าเงื่อนไขเป็นจริงหรือไม่ โดยการใช้ตัวดำเนินการต่างๆ ในการสร้างเงื่อนไขหรือ expression ถ้าผลลัพธ์เป็นจริง โปรแกรมจะทำงานในบล็อคของคำสั่ง if ที่เราได้กำหนดขึ้น และถ้าหากผลลัพธ์ไม่เป็นจริงโปรแกรมจะข้ามการทำงานในบล็อคคำสั่งไป มาดูตัวอย่างการใช้งานของมัน;

#include <stdio.h>

int main()
{
    if (10 == 10)
    {
        printf("block 1 is executed.\n");
    }

    if (3 < 1)
    {
        printf("block 2 is executed.\n");
    }

    int a = 10;
    if (a % 2 == 0)
    {
        printf("block 3 is executed.\n");
    }
    return 0;
}

ในการทำงานของโปรแกรมเป็นการใช้คำสั่ง if เพื่อเปรียบเงื่อนไขต่างๆ โดยแต่ละบล็อคคำสั่งจะทำงานเมื่อเงื่อนไขเป็นจริงเท่านั้น บล็อคแรกจะทำงานเพราะว่า 10 มีค่าเท่ากับ 10 บล็อคที่สองจะไม่ทำงานเพราะว่า 3 ไม่น้อยว่า 1 และสำหรับบล็อคสุดท้ายจะทำงาน เพราะว่า

#include <stdio.h>

int main()
{
    if (10 == 10)
    {
        printf("block 1 is executed.\n");
    }

    if (3 < 1)
    {
        printf("block 2 is executed.\n");
    }

    int a = 10;
    if (a % 2 == 0)
    {
        printf("block 3 is executed.\n");
    }
    return 0;
}
9 เป็นจำนวนคู่

และนี่เป็นผลลัพธ์ของโปรแกรมเมื่อรัน คุณจะเห็นว่ามีแค่ block 1 และ 3 ที่แสดงผลเพราะว่าเงื่อนไขของ if เป็นจริง

block 1 is executed
block 3 is executed

คำสั่ง If else

คำสั่ง if else เป็นคำสั่งมีการเพิ่มเงื่อนไข else if เข้ามาสำหรับการสร้างเงื่อนไขแบบหลายทางเลือก นั่นหมายถึงในบล็อคของคำสั่งจะทำงานเมื่อเงื่อนไขไม่ต้องกับเงื่อนไขก่อนหน้าแต่ตรงกับเงื่อนไขปัจจุบัน นอกจากนี้ยังมีคำสั่ง else ซึ่งเป็นบล็อคของคำสังที่จะทำงานถ้าหากไม่มีเงื่อนไขใดเป็นจริงเลย มาดูตัวอย่างของการใช้คำสั่ง if-else

#include <stdio.h>

int main()
{
    int score;
    scanf ("%d", &score);

    if (score < 50)
        printf("Your grade is F");
    else if (score < 60)
        printf("Your grade is D");
    else if (score < 70)
        printf("Your grade is C");
    else if (score < 80)
        printf("Your grade is B");
    else
        printf("Congratulation! You got grade A");

    return 0;
}

ในตัวอย่างนี้เป็นโปรแกรมสำหรับการคำนวณเกรด โดยโปรแกรมจะให้คุณสามารถใส่เกรดเข้ามา และเปรียบเทียบเงื่อนไขโดยใช้คะแนนตรวจสอบ คุณจะสังเกตเห็นว่าเราสามารถ ใช้ else if ได้ถ้าหากมีหลายเงื่อนไข และใช้คำสั่ง else เป็นเงื่อนไข default ในกรณีที่ไม่ตรงกับเงื่อนไขใดๆ เลย

74
Your grade is B
85
Congratulation! You got grade A

นี่เป็นผลลัพธ์การทำงานของโปรแกรมเมื่อเราได้กรอกคะแนนเป็น 74 ซึ่งตรงกับเงือนไขของเกรด B หลังจากโปรแกรมพบอย่างน้อยหนึ่งเงือนไขที่เป็นจริง บล็อคที่เหลือจะถูกข้ามไปในทันที และเราได้รับโปรแกรมอีกครั้งและกรอกคะแนนเป็น 85 ซึ่งโปรแกรมไม่ตรงกับเงื่อนไขใดเลย ในบล็อคของคำสั่ง if และ else if ทำให้ในบล็อคของคำสั่ง else ทำงานและได้เกรด A

คำสั่ง Switch case

Switch case เป็นคำสั่งเงื่อนไขที่ทำงานคล้ายกับ if แต่ส่วนมากจะใช้สำหรับการเปรียบเทียบกับค่าคงที่และต้องเป็นข้อมูลประเภท Integer หรือ Char เท่านั้น มาดูตัวอย่างของการใช้คำสั่ง Switch

#include <stdio.h>

int main()
{
    int number = 5;

    switch (number)
    {
    case 1:
        printf("n is 1");
        break;
    case 2:
        printf("n is 2");
        break;
    case 3:
        printf("n is 3");
        break;
    default:
        printf("Unknown");
    }

    return 0;
}

ในการทำงานจากตัวแปรด้านบน เป็นการส่งตัวแปร

block 1 is executed
block 3 is executed
0 โดยจะนำไปเปรียบเทียบกับแต่ละ case ถ้าเงื่อนไขตรง โปรแกรมจำทำงานทันที่ จนกว่าจะสิ้นสุดบล็อคของคำสั่ง switch ดังนั้นเราจำเป็นต้องใช้คำสั่ง
block 1 is executed
block 3 is executed
1 เพื่อให้จบการทำงาน สำหรับคำสั่ง
block 1 is executed
block 3 is executed
2 จะเป็นการทำหลังจากที่
block 1 is executed
block 3 is executed
0 ไม่ตรงกับเงื่อนไขใดๆ ก่อนหน้า

คำสั่ง while loop

หลังจากที่คุณได้รู้จักคำสั่งเงื่อนไขพื้นฐานไปแล้ว ต่อไปคุณจะได้รู้จักคำสั่งของการทำงานซ้ำ ซึ่งสามารถให้เราประมวลผลส่วนของโปรแกรมที่ต้องการได้

คำสั่งวนซ้ำที่ง่ายที่สุดคือคำสั่ง while loop โดยการทำงานของคำสั่ง while loop จะทำงานเมื่อเงื่อนไขเป็นจริง และจะสิ้นสุดการทำงานจนกว่าเงื่อนไขจะเป็นเท็จ มาดูตัวอย่างของโปรแกรม

#include <stdio.h>

int main()
{
    int n = 1;

    while (n <= 10)
    {
        printf("%d, ", n);
        n++;
    }
    return 0;
}

ในตัวอย่างเป็นการใช้คำสั่ง while เพื่อแสดงผลตัวเลข 1 ถึง 10 โดยเราได้กำหนดค่าเริ่มต้นให้

block 1 is executed
block 3 is executed
4 เท่ากับ 1 และจะเพิ่มขึ้นในการแสดงผลแต่ละครั้ง จนกว่าจะมากกว่า 10 จึงสิ้นสุดการทำงานของโปรแกรม และจะได้ผลลัพธ์ดังนี้

1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10,

คำสั่ง do-while loop

คำสั่ง do while นั้นคล้ายกับคำสั่ง while แต่สิ่งที่แตกต่างกันเล็กน้อยคือ คำสั่ง do while จะทำงานก่อนอย่างน้อยหนึ่งรอบ แล้วจะตรวจเงื่อนและถ้าเงื่อนไขไม่เป็นจริงจะสิ้นสุดการทำงาน มาดูตัวอย่างการใช้งาน

#include <stdio.h>

int main()
{
    int n = 1;

    do
    {
        printf("Enter number: ");
        scanf ("%d", &n);
        printf("You have entered %d\n", n);
    }
    while (n != 0);

    printf("The program is terminated");
    return 0;
}

ในตัวอย่างนี้ เป็นโปรแกรมที่จะรับค่าจากคีย์บอร์ด โดยจะรับตัวเลขเข้ามาและแสดงผลตัวเลขที่ได้รับเข้ามา และจะสิ้นสุดการทำงานเมื่อตัวเลขเป็น 0

#include <stdio.h>

int main()
{
    if (10 == 10)
    {
        printf("block 1 is executed.\n");
    }

    if (3 < 1)
    {
        printf("block 2 is executed.\n");
    }

    int a = 10;
    if (a % 2 == 0)
    {
        printf("block 3 is executed.\n");
    }
    return 0;
}
0

คำสั่ง for loop

คำสั่ง for loop เป็นคำสั่งวนซ้ำที่เราสามารถกำหนดค่าเริ่มต้นเงื่อนไขและการเปลี่ยนแปลงของค่าได้ ในตอนแรกครั้งเดียว โดยมีรูปแบบดังนี้

#include <stdio.h>

int main()
{
    if (10 == 10)
    {
        printf("block 1 is executed.\n");
    }

    if (3 < 1)
    {
        printf("block 2 is executed.\n");
    }

    int a = 10;
    if (a % 2 == 0)
    {
        printf("block 3 is executed.\n");
    }
    return 0;
}
1

คำสั่ง for loop สามารถใช้ได้เหมือนกับ คำสั่ง while loop และ do while loop แต่โดยทั่วไปแล้ว เรามักจะใช้คำสั่ง for loop กับการวนซ้ำในจำนวนรวบที่แน่นอน หรือมันมักจะถูกใช้กับอาเรย์ มาดูตัวอย่างการใช้งาน

#include <stdio.h>

int main()
{
    if (10 == 10)
    {
        printf("block 1 is executed.\n");
    }

    if (3 < 1)
    {
        printf("block 2 is executed.\n");
    }

    int a = 10;
    if (a % 2 == 0)
    {
        printf("block 3 is executed.\n");
    }
    return 0;
}
2

ในตัวอย่างเป็นการใช้คำสั่ง for loop เพื่อวนซ้ำแสดงผลลัพธ์เลข 1 ถึง 10 เหมือนกับตัวอย่างของคำสั่ง while loop ก่อนหน้า มาดูตัวอย่างเพิ่มเติมในการใช้คำสั่ง for loop

#include <stdio.h>

int main()
{
    if (10 == 10)
    {
        printf("block 1 is executed.\n");
    }

    if (3 < 1)
    {
        printf("block 2 is executed.\n");
    }

    int a = 10;
    if (a % 2 == 0)
    {
        printf("block 3 is executed.\n");
    }
    return 0;
}
3

ในตัวอย่างเราได้ใช้ for loop ในการวนอ่านค่าจากในตัวแปรอาเรย์ โดยจำนวนรอบในการวนจะใช้ฟังก์ชัน

block 1 is executed
block 3 is executed
5 ในการหาความยาวของอาเรย์ ซึ่งคุณจะได้เรียนรู้เรื่องอาเรย์ในบทหลัง โดยในครั้งแรกจะอ่านมาแสดงปกติ และครั้งที่สองจะอ่านจากด้านหลังมา โดยจะได้ผลลัพธ์ดังนี้

#include <stdio.h>

int main()
{
    if (10 == 10)
    {
        printf("block 1 is executed.\n");
    }

    if (3 < 1)
    {
        printf("block 2 is executed.\n");
    }

    int a = 10;
    if (a % 2 == 0)
    {
        printf("block 3 is executed.\n");
    }
    return 0;
}
4

คำสั่ง break

คำสั่ง

block 1 is executed
block 3 is executed
1 เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับหยุดการทำงาน loop ในทันที โดยจะไม่สนใจเงื่อนไขของ loop ว่ายังเป็นจริงอยู่หรือไม่ มาดูตัวอย่างการใช้งานในการแสดงผลตัวเลข 1 ถึง 10

#include <stdio.h>

int main()
{
    if (10 == 10)
    {
        printf("block 1 is executed.\n");
    }

    if (3 < 1)
    {
        printf("block 2 is executed.\n");
    }

    int a = 10;
    if (a % 2 == 0)
    {
        printf("block 3 is executed.\n");
    }
    return 0;
}
5

ในการทำงานของโปรแกรม โปรแกรมจะวนเพียง 3 รอบ เพราะว่าเมื่อ

block 1 is executed
block 3 is executed
7 มีค่าเป็น 3 เราได้ใช้คำสั่ง break เพื่อให้สิ้นสุดการทำงานของ for loop ทันที โดยจะไม่สนใจกว่าเงื่อนไขของ for loop จะยังคงเป็นจริง และนี่เป็นผลลัพธ์ของโปรแกรมเมื่อรัน

#include <stdio.h>

int main()
{
    if (10 == 10)
    {
        printf("block 1 is executed.\n");
    }

    if (3 < 1)
    {
        printf("block 2 is executed.\n");
    }

    int a = 10;
    if (a % 2 == 0)
    {
        printf("block 3 is executed.\n");
    }
    return 0;
}
6

คำสั่ง continue

คำสั่ง continue เป็นคำสั่งสำหรับการข้ามการทำงานในรอบปัจจุบัน และทำงานในรอบใหม่ทันที มาดูตัวอย่าง

#include <stdio.h>

int main()
{
    if (10 == 10)
    {
        printf("block 1 is executed.\n");
    }

    if (3 < 1)
    {
        printf("block 2 is executed.\n");
    }

    int a = 10;
    if (a % 2 == 0)
    {
        printf("block 3 is executed.\n");
    }
    return 0;
}
7

ในตัวอย่างโปรแกรมจะทำงานคำสั่ง continue ถ้าหาก

block 1 is executed
block 3 is executed
7 หาร 2 มีเศษเป็น 0 หรือจำนวนคู่ ดังนั้นโปรแกรมจะได้ดังนี้

#include <stdio.h>

int main()
{
    if (10 == 10)
    {
        printf("block 1 is executed.\n");
    }

    if (3 < 1)
    {
        printf("block 2 is executed.\n");
    }

    int a = 10;
    if (a % 2 == 0)
    {
        printf("block 3 is executed.\n");
    }
    return 0;
}
8

ในบทนี้ คุณได้เรียนรู้คำสั่งควบคุมในเบื้องต้นในภาษา C เราได้พูดถึงการควบคุมโปรแกรมด้วยคำสั่งเลือกเงือนไขอย่งเช่นคำสั่ง If และ switch และคำสั่งวนซ้ำที่สามารถทำให้โปรแกรมของเราทำงานแบบเดิมซ้ำๆ ได้ภายในเงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลงไป และนอกจากนี้คุณยังได้รู้จักการใช้คำสั่ง continue และ break สำหรับควบคุมการทำงานของลูป