สารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ ศิลปากร

นักศึกษาวิชาเอก โท สารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากรเข้าชมกระบวนงานจดหมายเหตุ

วันจันทร์ที่ ๑๗ กุมพาพันธ์ ๒๕๖๓ เวลา ๑๓.๓๐ - ๑๖.๐๐ น. มีคณะอาจารย์-นักศึกษาวิชาเอก โท สารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ ชั้นปีที่๒-๔ มหาวิทยาลัยศิลปากร จำนวน ๓๙ คน เข้าชมกระบวนงานจดหมายเหตุ  ณ หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ต. คลองห้า อ. คลองหลวง จ. ปทุมธานี

สารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ ศิลปากร

สารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ ศิลปากร
สารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ ศิลปากร

สารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ ศิลปากร
สารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ ศิลปากร
สารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ ศิลปากร

สารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ ศิลปากร
สารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ ศิลปากร

สารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ ศิลปากร
สารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ ศิลปากร

(จำนวนผู้เข้าชม 322 ครั้ง)

จบสาขาสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ทำงานอะไรได้บ้าง

ตอนนี้กำลังเรียนสาขานี้ในคณะอักษรศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง กำลังจะเข้าสาขาวิชาโทในสายสังคมศาสตร์ เรียนไปเรียนมาเริ่มรู้สึกกังวลว่าจะหางานไม่ได้ เพราะเห็นรุ่นพี่จบไปก็ไปเป็นพวกบรรณารักษ์อยู่ในห้องสมุดไม่ก็เป็นครู ซึ่งเราไม่ได้อยากเป็นครูหรือเป็นบรรณารักษ์

สารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ ศิลปากร
  รู้สึกตัวเองถนัดคอมกราฟิกส์มากกว่าด้วยซ้ำ ไม่รู้จะทำยังไงดีเครียดมาก ไม่รู้ว่าควรเรียนต่อไปยังไงดี ใครจบสาขานี้แชร์ประสบการณ์หน่อยค่ะ ว่าทำงานอะไรกันบ้างแล้วระดับความก้าวหน้าในงานเป็นยังไงบ้าง เงินเดือนประมาณเท่าไหร่ TT

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์

เรียนเกี่ยวกับ

สารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์ ศิลปากร

สาขาสารสนเทศศาสตร์ได้ถูกปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร มาจากสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์เรียนเพื่อเป็นผู้บริหารจัดการข้อมูล สารสนเทศ ในรูปแบบต่างๆ เนื้อหาที่เรียนเกี่ยวข้องกับแหล่งบริการสารสนเทศต่างๆ โดยแหล่งหลักๆที่รวบรวมสารสนเทศไว้มากๆ ได้แก่ห้องสมุดนั่นเอง
วิชาเอกก็จะประกอบด้วยหลากหลายวิชาที่เกี่ยวกับการจัดการข้อมูล อาทิสารสนเทศกับสังคม แหล่งสารสนเทศท้องถิ่น การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ การวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ เครือข่ายห้องสมุดกับการเรียนรู้ การจัดเก็บการค้นคืนสารสนเทศ การจัดการฐานข้อมูล
การวิจัยเบื้องต้นทางบรรณารักษศาสตร์ และสารสนเทศศาสตร์ เป็นต้น นอกจากนี้บางมหาลัยอาจแยกเอกวิชาเลือกเพิ่มเติม เช่นสำนักงานอัตโนมัติ  การเขียนเพื่อการสื่อสาร สารสนเทศสิ่งแวดล้อม การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การจัดการเว็บเพจ การจัดการสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง สิ่งพิมพ์ชุมชน ฯลฯ 

คุณสมบัติ

1. เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 หรือหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หรือ ประกาศนียบัตรอื่นๆที่กระทรวงศึกษาธิการเทียบเท่า สำหรับผู้สมัครที่จบหลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียนสายสามัญ ต้องมีคุณสมบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการดำเนินงานการศึกษานอก เขตโรงเรียนสายสามัญศึกษา (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2544
2. ต้องไม่เป็นผู้กำลังศึกษาเกินกว่าชั้นปีที่ 1 ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาที่ร่วมในการคัดเลือกนี้ เว้นแต่ได้ลาออกจากสถาบันอุดมศึกษานั้นเสียก่อน
3. สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายทุกแผนการเรียน

มหาวิทยาลัยที่เปิดสอน

#มหาวิทยาลัยคณะ/สาขาระดับชั้นที่เปิดรับปวช.ปวส.ป.ตรีป.โทป.เอก
ปวช.ปวส.ป.ตรีป.โทป.เอก
1 มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ คณะอักษรศาสตร์ สาขาสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์          
2 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์          
3 มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์          
4 มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์          
5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์          
6 มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์          
7 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์          
8 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์          
9 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาสารสนเทศศาสตร์และบรรณารักษศาสตร์          
10 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์          
11 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะอักษรศาสตร์ สาขาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์          
12 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนยรังสิต คณะศิลปศาสตร์ สาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์          
13 มหาวิทยาลัยบูรพา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์          
14 มหาวิทยาลัยบูรพา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาบรรณารักษ์          
15 มหาวิทยาลัยรามคำแหง คณะมนุษยศาสตร์ สาขาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์          

แนวทางการประกอบอาชีพ

หลักสูตรนี้ได้ออกแบบไว้เพื่อให้บัณฑิตสามารถประกอบอาชีพในหน่วยงานที่ให้บริกาสารสนเทศตลอดจนการทำงานที่เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทั้งหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน เช่น ครู/อาจารย์ บรรณารักษ์ นักเอกสารสนเทศ นักวิชาการสารสนเทศ 
นักวิเคราะห์ระบบสารสนเทศ นักจดหมายเหตุ อาชีพอิสระ ในหน่วยงานภาครัฐและเอกเชน เช่น สำนักพิมพ์ ห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดคณะ/มหาวิทยาลัย ศูนย์ข่าว บล๊อกเกอร์บนเว็บไซต์  ศูนย์วิวัย กระทรวงวิทยาศาสตร์ ฯ หรือหากมีความรู้ทางด้านไอที สามารจะเป็นนักวิเคราะห์หรือนักพัฒนาเว็บไซต์ก็ได้เช่นกัน

ที่มาข้อมูล

http://is.udru.ac.th/
https://www.gotoknow.org/posts/272344
http://is.udru.ac.th/activities-news/0025.html
http://huso.pkru.ac.th/news_inner.php?nid=228
http://www.pkru.ac.th/news_modal.php?id_new=1689
http://neesupisara.blogspot.com/2015/03/blog-post.html
http://www.bru.ac.th/bru56/index.php?option=com_content&view=article&id=611:libaly&catid=101:humam&lang=th

SHARED