แบบทดสอบ อาชญากรรม บนโลก ออนไลน์

ใบความรู้
รายวชิ าอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหัสวิชา สค0200037

........................................................

การนำวิทยาการที่ก้าวหน้าทางดา้ น คอมพิวเตอร์และ การสื่อสารมาสร้างมลู ค่าเพิ่มใหก้ ับสารสนเทศ ทำ
ให้สารสนเทศ มปี ระโยชน์และใชง้ าน ไดก้ ว้างขวางมากข้ึน ในปจั จบุ ันเทคโนโลยมี ีบทบาทในชวี ติ ประจำวัน ของเรา
ทุก คน เราจึงจำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจ ในการใช้เทคโนโลยีให้ถูกต้องปลอดภัย ทั้งกับตนเองและผู้อื่น ภัย
คุกคามจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการป้องกัน ปัจจุบันอินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทในการใช้
ชีวิตประจำวนั ไม่วา่ จะเปน็ ดา้ นการศึกษา การดำรงชีวติ การสือ่ สาร การศึกษา และอน่ื ๆ อีกมากมาย เม่ือมีความ
สะดวกสบายมากเท่าใด ความปลอดภัยของข้อมูลที่ เราจะนำเข้าในระบบยิ่งเป็นสิ่งที่สำคัญ การเผยแพร่ การ
นำเขา้ ข้อมูลต่าง ๆ กเ็ ช่นกัน ดงั นน้ั จึงมคี วาม จำเปน็ ที่จะต้องเรียนรแู้ ละทำความเขา้ ใจ

โลกปัจจุบันเป็นยุคของเทคโนโลยีสารสนเทศหรือที่เรียกว่า ยุคไอที ซึ่งเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามี
บทบาทและมีความสำคัญต่อชีวิตประจำวันของมนุษยใ์ นหลายด้าน เช่น การติดต่อสื่อสาร การซื้อขายแลกเปลีย่ น
สินค้าและบริการ การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร เป็นต้น นอกจากจะมีผลดีแล้วแต่ก็ยังเป็นช่องทางหนึ่ง ให้
มิจฉาชีพเข้ามาแสวงหาประโยชน์อย่างผิดกฎหมาย หรือทำให้เกิดปัญหาการขยายตัวของอาชญากรรมข้ามชาติ
รวมถึงอาชญากรรมรูปแบบใหม่ ที่มีความซ้อน ซึ่งเรียกว่า ‘’ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ‘’ ซึ่งในปัจจุบันถือเป็น
ปัญหาทางสังคมอย่างหน่ึงที่กำลงั เพมิ่ ความรนุ แรงและสร้างความเสียหายแก่สงั คมทว่ั ไป

๑. ความหมายของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์

๑.๑. การกระทำใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งทำให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย ใน
ขณะเดียวกนั กท็ ำให้ผกู้ ระทำความผิดได้รับประโยชน์ เช่น การลกั ทรพั ยอ์ ปุ กรณค์ อมพิวเตอร์ เป็นต้น

๑.2 การกระทำใด ๆ ที่เป็นความปิดทางอาญา ซึ่งจะต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ในการกระทำ
ความผิดน้ัน เช่น การบิดเบือนขอ้ มูล (Extortion) การเผยแพร่รปู อนาจารผู้เยาว์ (child pornography) การฟอก
เงิน (money laundering) การฉ้อโกง (fraud) การถอดรหัสโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยไม่ได้รับอนุญาต เผยแพร่
ให้ผู้อื่นดาวน์โหลด เรียกว่า การโจรกรรมโปรแกรม (software Pirating) หรือการขโมยความลับทางการค้าของ
บรษิ ัท (corporate espionage) เป็นต้น

๒. วิธีคกุ คามทางออนไลน์

๒.1 การคุกคามโดยใช้หลักจิตวิทยา เป็นการคุกคามที่ใช้การหลอกลวงเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ต้องการโดยไม่
ต้องใช้ความชำนาญด้านไอที เช่น การใช้กลวิธีการตา่ ง ๆ เพื่อให้ได้รหัสผ่านหรือสง่ ข้อมูลที่สำคัญให้ โดยหลอกว่า
จะได้รับรางวัลแต่ต้องทำตามเงื่อนไขที่กำหนด ซึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นอาจป้องกันได้ยากเพราะเกิดจาก ความเชื่อใจ แต่
ปอ้ งกนั ไดโ้ ดยให้นกั เรียนระมัดระวงั ในการใหข้ ้อมลู สว่ นตัวกบั บุคคลอ่นื

๒.2 การคุกคามด้วยเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม ข้อมูลและเนื้อหาที่มีอยู่ในแหล่งต่างๆ บนอินเทอร์เน็ตมีเป็น
จำนวนมากเพราะสามารถสร้างและเผยแพรไ่ ด้งา่ ย ทำให้ข้อมูลอาจไม่ได้รับการตรวจสอบความถูกต้อง และความ
เหมาะสม ดังนั้นขอ้ มูลบางส่วนอาจก่อใหเ้ กิดปัญหากับนักเรียนได้ 100 แหล่งข้อมูลทีม่ ีเนื้อหาไม่เหมาะสม ได้แก่

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวชิ าอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหสั วชิ า สค0200037

........................................................

แหล่งขอ้ มลู ท่ีเกยี่ วข้องกบั ความรนุ แรง การยยุ งใหเ้ กดิ ความ แตกแยก วนุ่ วายในสงั คม การพนนั ส่ือลามกอนาจาร
เน้ือหาทเ่ี ปน็ การหม่ินประมาท และการกระทำที่ เกย่ี วข้องกบั ส่งิ ทผี่ ิดต่อกฎหมายและจรยิ ธรรม

๒.3 การคกุ คามโดยใช้โปรแกรม เปน็ การคกุ คามโดยใชโ้ ปรแกรมเปน็ เครื่องมือสำหรับก่อปัญหาด้านไอ ที
โปรแกรมดังกล่าวเรียกว่า มัลแวร์ (malicious software: malware) ซึ่งมีหลายประเภท เช่น ไวรัส คอมพิวเตอร์
(Computer Virus), เวิร์ม (Worm), ม้าโทรจัน (Trojan Horse Virus) สปายแวร์ (Spyware) โป รแกรมโฆษณา
( Advertising Supported Software: Adware) แ ล ะ โ ป ร แ ก ร ม เ ร ี ย ก ค่ า ไ ถ่ (Ransomware) ส า ม า ร ถ
ศึกษาข้อมูลการคุกคามโดยใช้โปรแกรมเพิ่มเติมได้ที่วีดิทัศน์ “ภัยคุกคามทางคอมพิวเตอร์” (URL:
https://www.youtube.com/watch?v=nkRjJMRSWCw)

๓ ประเภทของอาชญากรรมคอมพวิ เตอร์

ปจั จุบันอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ที่เกิดขึ้นมหี ลากหลายรปู แบบ ทม่ี ผี ลกระทบต่อความปลอดภัยของชีวิต
และระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ ซึ่งแบ่งได้ 9 ประเภท ดงั นี้

๓.๑ อาชญากรรมที่เป็นการขโมย โดยขโมยจากผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ( internet service
provider) หรอื ผทู้ ่ีเปน็ เจา้ ของเว็บไซตใ์ นอินเทอรเ์ นต็ รวมถึงการขโมยขอ้ มูล ของหนว่ ยงานหรอื องคก์ รต่าง ๆ เพื่อ
ใช้ประโยชน์ในการลักลอบใช้บริการ เช่น การขโมยข้อมูลเกี่ยวกับบัญชีผู้ใช้จากผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเพื่อใช้
บริการอินเทอร์เนต็ ฟรี เป็นต้น

๓.๒ อาชญากรรมที่ใช้การส่ือสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อนำมาใช้ขยายความสามารถในการ
กระทำความผดิ ของตน รวมไปถงึ การใช้คอมพวิ เตอร์ปกปิดหรือกลบเกลื่อนการกระทำของตนไม่ให้ผอู้ ่ืนลว่ งรู้ ด้วย
การตั้งรหัสการส่ือสารขึ้นมาเฉพาะระหว่างหมูอ่ าชญากร ด้วยกันซึง่ ผู้อืน่ มาสามารถเข้าใจได้ เช่น อาชญากรค้ายา
เสพติดใชอ้ เี มล์ในการตดิ ตอ่ สอื่ สารกับเครือข่ายยาเสพตดิ เปน็ ตน้

๓.๓ การละเมิดลิขสิทธิ์และการปลอมแปลง เช่น การปลอมแปลงเช็ค การปลอมแปลงสื่อมัลติมีเดีย
รวมถึงการปลอมแปลงโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ เป็นต้น

๓.๔ การใช้คอมพิวเตอร์เผยแพร่ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว ลามกอนาจาร รวมถึงข้อมูลที่มีผลกระทบ
ทางลบตอ่ วฒั นธรรมของแต่ละสังคม ตลอดจนข้อมูลที่ไม่สมควรเผยแพร่ เช่น วธิ ีการกอ่ อาชญากรรม สตู รการผลิต
ระเบิด เป็นตน้

๓.๕ การฟอกเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และการสื่อสารเป็นเครื่องมือ ทำให้
สามารถเปลี่ยนทรัพย์สิน ที่ได้จากการประกอบอาชีพผิดกฎหมาย เช่น การค้ายาเสพติด การค้าอาวุธเถื่อน ธุรกิจ
สนิ ค้าหนีภาษี การเล่นพนัน การละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ การปลอมแปลงเงนิ ตรา การล่อลวงสตรีและเดก็ ไปคา้ ประเวณี เปน็
ต้น ใหม้ าเป็นทรพั ย์สินท่ีถูกกฎหมาย

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองหอยโข่ง จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวชิ าอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหัสวิชา สค0200037

........................................................

๓.๖ อันธพาลทางคอมพิวเตอร์และผู้ก่อการร้าย ซึ่งมีวัตถุประสงค์ตั้งแต่การรบกวนระบบจนกระทั่งการ
สร้างคมเสียหายให้กับระบบโดยการเข้าไปในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แล้วทำลาย ตัดต่อ ดัดแปลงข้อมูลหรือภาพ
เพ่อื รบกวนผู้อ่นื สง่ิ ทน่ี า่ กลัวทส่ี ดุ คือ การเขา้ ไปแทรกแซงทำลาย ระบบเครือขา่ ยของสาธารณูปโภค เช่น การจ่าย
นำ้ การจา่ ยไฟ การจราจร เปน็ ต้น

๓.๗ การหลอกค้าขายลงทุนผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น การประกาศโฆษณา การชักชวนให้เริ่ม
ลงทุนแตไ่ ม่ได้มกี จิ การเหลา่ น้นั จรงิ เปน็ ตน้

๓.๘ การแทรกแซงข้อมูลโดยมิชอบ โดยการนำเอาข้อมูลเหล่านั้นมาเป็นประโยชน์ต่อตน เช่น การเจาะ
ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตเข้าไปแล้วแอบลว้ งความลับทางการค้า การดักฟังข้อมูล เพื่อนำมาเป็นประโยชน์ต่อกิจการ
ของตน เป็นตน้

๓.๙ การใชเ้ ทคโนโลยีคอมพวิ เตอรด์ ัดแปลงข้อมูลบญั ชีธนาคาร หรอื การโอนเงินจากบัญชหี น่ึง เข้าไปอีก
บัญชีหนง่ึ โดยท่ไี ม่มีการเปลี่ยนถา่ ยทรัพย์สินกนั จริง

๔. การป้องกันภัยคุกคาม การป้องกันภัยคุกคามด้านเทคโนโลยี เราสามารถท าได้โดย การตรวจสอบ
และยืนยันตวั ตนของตวั ผูใ้ ชง้ านกอ่ นเริ่มใช้งาน ซึ่งมดี ว้ ยกัน 3 รปู แบบคือ

๔.1 ตรวจสอบจากสิ่งที่ผู้ใช้รู้ เช่น ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน (Username & password) วิธีนี้ได้รับความ
นยิ มสูงสดุ

๔.2 ตรวจสอบจากสิ่งที่ผู้ใช้มี เป็นการตรวจสอบตัวตนจากอุปกรณ์ที ่ผู้ใช้งานต้องมี เช่ น
บัตร สมารต์ การด์

๔.3 ตรวจสอบจากสิ่งที่เป็นส่วนหนึ่งของผู้ใช้ เป็นการตรวจสอบข้อมูลชีวมาตร เช่น ลายนิ้วมือ ม่าน ตา
ใบหน้า เสยี ง

๕. การตง้ั รหสั ผา่ น
รหัสผ่านถือเป็นสิ่งสำคัญในยุคของเทคโนโลยี การเข้าใช้งานระบบต่าง ๆ บนอินเทอร์เน็ต จำเป็นต้อง มี
ชอื่ ผ้ใู ชแ้ ละรหสั ผ่านเพ่ือเข้าใช้งาน การตง้ั รหัสผา่ น จำเป็นตอ้ งมคี วามปลอดภยั กับเจา้ ของ เพอ่ื ปอ้ งกัน การร่ัวไหล
ของขอ้ มลู หรือ การใช้แอคเคาน์ ไปในทางทีผ่ ิด ดงั นั้นในการตง้ั รหสั ผ่านใหม้ ีความปลอดภัย สามารถปฏบิ ัตไิ ด้ดังนี้
๕.๑ บัญชีรายช่ือผู้ใช้แต่ละระบบ ควรใช้รหัสผ่านท่ีแตกต่างกัน โดยเฉพาะบัญชีที ่ใช้เข้าถึงข้อมูลที ่มี
ความสำคัญ เช่น รหัสผ่านที่ใช้ในการเข้าถึง ข้อมูลที่มีความสำคัญ เช่น รหัสผ่านของบัตรเอทีเอ็ม หลายใบให้ใช้
รหสั ผ่านตา่ งกนั 101
๕.๒ หลีกเลี่ยงการใช้รหัสผ่านโดยใช้วัน เดือน ปีเกิด ชื่อผู้ใช้ ชื่อจังหวัด ชื่อตัวละคร ชื่อสิ่งของต่าง ๆ ที่
เก่ียวขอ้ ง หรือคำท่ีมอี ยู่ในพจนานกุ รม

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวิชาอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหัสวชิ า สค0200037

........................................................

๕.๓ รหสั ผ่านทมี่ ีความยาว 10 ตัวอกั ษรนน้ั เดายากกว่ารหสั ผ่าน 8 ตัวอักษรถึง 4 พนั เทา่ ถา้ เดารหสั ผ่าน
8 ตัวอักษรใช้เวลา 1 วัน เดารหัสผ่าน 10 ตัวอักษรก็ต้องใช้เวลา 4000 วัน เว็บไซต์ในทุกวันนี้มักจะ ต้องการ
รหัสผา่ นความยาว 8 ตวั อกั ษรเปน็ ข้ันต่ำอยู่แล้ว แตถ่ า้ ต้องการความปลอดภยั จรงิ ๆ 10 ตวั อักษรจะดีกว่า

๕.๔- ผสมผสานทั้งตัวเลข เครื่องหมาย ตัวอักษรใหญ่ และตัวอักษรเล็ก เมื่อเราใช้ตัวอักษรใหญ่ เล็ก
ตวั เลข และเคร่อื งหมายตา่ ง ๆ ลงในรหสั ผา่ น โอกาสทีจ่ ะเดารหัสผ่านถูกจะมแี ค่ 1 ในหลายแสนลา้ น

๕.๕ ไม่บันทึกรหัสผ่านแบบอัตโนมัติบนโปรแกรม Browser โดยเฉพาะหากเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นเป็น
เคร่อื งทใี่ ชร้ ว่ มกบั ผู้อ่ืน

๕.๖ หลีกเลี่ยงการบันทกึ รหัสผ่านลงในกระดาษ รวมทั้งอปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนิกสด์ ว้ ย หากจำเป็นต้องบันทึก
ก็ควรจัดเกบ็ ไวใ้ นทีท่ ป่ี ลอดภัย

๕.๗ ไมบ่ อกรหัสผ่านของตนเองกับผู้อ่ืน ไม่ว่ากรณใี ด ๆ
๕.๘ หมน่ั เปลย่ี นเปน็ ประจำอาจกระทำทุก 3 เดือน
๕.๙ ออกจากระบบทุกครั้งที่เลิกใช้บริการต่าง ๆ บนอินเทอร์เน็ต การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมี
ความรับผิดชอบ 1. แนวทางการปฏบิ ตั ิเม่ือพบเนือ้ หาท่ไี ม่เหมาะสม
๕.๑๐ ปฏเิ สธการรับข้อมูล ท าได้โดยไมเ่ ปิดดู ไมบ่ นั ทึกเกบ็ ไว้ และไมก่ ดไลค์ (Like)
๕.๑๑ ไมส่ ง่ ตอ่ ไม่แชร์ ไมเ่ ผยแพร่ เพราะนอกจากจะท าให้ผอู้ ่ืนเดอื ดรอ้ นกบั ข้อมลู ทไี่ ม่เป็นความจริงแล้ว
ยัง อาจจะผิด พ.ร.บ. วา่ ด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์ ซงึ่ มีโทษท้ังจำทั้งปรบั
๕.๑๒ แจง้ ครู หรอื ผปู้ กครอง
๕.๑๓ แจ้งผู้เกี่ยวข้องที่ดูแลเว็บไซต์นั้น เช่น Facebook YouTube เพื่อให้เจ้าของเว็บไซต์ ลบเนื้อหา
หรอื ตดั สิทธ์ิ (block) หรอื จำกัดสิทธก์ิ ารใช้งาน
๕.๑๔ แจ้งเจ้าหน้าทรี่ ฐั หรอื ตำรวจ เพื่อดำเนนิ การตามกฎหมาย

๖. อาชญากรรมทพี่ บบอ่ ยบนอนิ เทอร์เนต็

๖.1. การเงิน – อาชญากรรมท่ขี ัดขวางความสามารถขององค์กรธรุ กิจในการทำธุรกรรม อี-คอมเมิร์ซ
๖.2. การละเมิดลิขสิทธิ์ – การคัดลอกผลงานที่มีลิขสิทธิ์ รวมถึง การละเมิดลิขสิทธิ์ ใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
การใช้อนิ เทอรเ์ นต็ เพ่อื จำหน่ายหรือเผยแพรผ่ ลงานสรา้ งสรรคท์ ี่ได้รบั การคุ้มครองลขิ สิทธ์ิ
๖.3. การเจาะระบบ – การให้ได้มาซึ่งสิทธิในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับ
อนุญาต
๖.4. การก่อการรา้ ยทางคอมพวิ เตอร์ – การเจาะระบบ โดยมจี ดุ ม่งุ หมายเพอื่ สรา้ งความหวาดกลัว
๖.5. ภาพอนาจารทางออนไลน์ – การประมวลผลหรือการเผยแพร่ภาพอนาจารเด็กถือเป็นการกระทำที่
ผิดกฎหมายและการเผยแพร่ภาพลามกอนาจารในรูปแบบใดๆ แก่เยาวชนถือเปน็ การกระทำท่ีขดั ตอ่ กฎหมาย
๖.6. ภายในโรงเรยี น – ถงึ แมว้ า่ อนิ เทอร์เน็ตจะเป็นแหล่งทรัพยากรสำหรบั การศึกษาและสันทนาการ แต่
เยาวชนจำเปน็ ตอ้ งได้รบั ทราบเกี่ยวกับวธิ กี ารใช้งานเครื่องมอื อย่างปลอดภยั และมีความรับผดิ ชอบ

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวิชาอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหสั วชิ า สค0200037

........................................................

๖.7. การหลอกค้าขายลงทนุ ผา่ นทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เชน่ การประกาศโฆษณา การชักชวนใหเ้ ขา้
ร่วมลงทนุ

๖.8. การแทรกแซงข้อมูลโดยมิชอบ โดยการนำเอาข้อมลู เหล่านน้ั มาเป็นประโยชน์ตอ่ ตน

๗. ปญั หาทเ่ี ก่ียวข้องกับการปอ้ งกันอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
๗.๑ ความยากง่ายในการตรวจสอบ ว่าอาชญากรรมจะเกิดขึ้นเมื่อใด ที่ใด อย่างไร ทำให้เกิดความ
ยากลำบากในการปอ้ งกัน
๗.๒ การพสิ ูจนก์ ารกระทำผิดและการตามรอยของความผดิ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ความผดิ ท่ีเกิดขึ้นโดยผ่าน
ระบบอินเทอร์เน็ต ตัวอย่างเช่น การที่มีผู้เจาะระบบเข้าไปฐานข้อมูลของโรงพยาบาล และแก้ไขโปรแกรมการ
รักษาพยาบาลของผู้ป่วย ทำให้แพทย์รักษาผิดวิธี ซึ่งตำรวจไม่สามารถสืบทราบและพิสูจน์ได้ว่าใครเป็นผู้กระทำ
ความผิด
๗.3 ปัญหาการรับฟังพยานหลักฐาน ซึ่งจะมีลักษณะแตกตา่ ง ไปจากหลักฐานของคดีอาชญากรรม แบบ
ธรรมดาอยา่ งส้ินเชงิ
๗.๔ ความยากลำบากในการบังคับใช้กฎหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาชยากรรมเหล่านี้มักเป็น
อาชญากรรมขา้ มชาติ ซง่ึ กฎหมายของแตล่ ะประเทศอาจครอบคลุมไปไมถ่ ึง
๗.๕ ปัญหาความไม่รู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ ๆ ของเจ้าพนักงาน หรือเจ้าพนักงานดังกล่าวมีงานล้นมือ
โอกาสทจ่ี ะศกึ ษาเทคนคิ หรอื กฎหมายใหม่ ๆจงึ ทำไดน้ อ้ ย
๗.๖ ความเปลย่ี นแปลงทางเทคโนโลยีสมยั ใหม่ ซ่ึงเปล่ยี นแปลงรวดเรว็ มากจนหนว่ ยงานที่รับผิดชอบตาม
ไม่ทนั
๘. แนวทางการป้องกนั และแก้ไขปญั หาอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
๘.1. มกี ารวางแนวทางและเกณฑ์ในการรวบรวมพยานหลักฐาน เพ่ือดำเนินคดีอาชญากรรมคอมพวิ เตอร์
และช่วยให้พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการทราบวา่ พยานหลกั ฐานเชน่ ใด้ควรนำเข้าสู่การพิจารณาของศาล จะ
ไดล้ งทาผูก้ ระทำความผดิ ได้
๘.2. จัดให้มีผู้ที่มคี วามรูค้ วามชำนาญในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเข้าร่วมเปน็ คณะทำงานในคดีอา
ชยากรรมคอมพวิ เตอร์ เพอื่ ใหเ้ กิดประสิทธภิ าพในการดำเนินคดี
๘.3. จัดตั้งหน่วยงานที่เกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ เพื่อให้มีเจ้าหน้าที่ที่มีความรู้ความ
ชำนาญเฉพาะในการปราบปราม และการดำเนินคดอี าชญากรรมคอมพวิ เตอร์
๘.4. บัญญัติกฎหมายเฉพาะเกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ รวมถึงแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายที่มีอยู่ให้
ครอบคลมุ การกระทำอนั เป็นความผดิ เก่ยี วกบั อาชญากรรมคอมพวิ เตอร์ทุกปะเภท
๘.5. ส่งเสริมความร่วมมือกับต่างประเทศ ทั้งโดยสนธิสัญญาเกี่ยวกับความร่วมมือระหว่างประเทศทาง
อาญาหรอื โดยวิธีอนื่ ในการสบื สวนสอบสวนดำเนนิ คดี และการปราบปรามอาชญากรรมคอมพวิ เตอร์
๘.6. เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ให้แก่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ หน่วยงาน และองค์กร
ตา่ ง ๆใหเ้ ข้าใจแนวคดิ และวธิ กี าร ของอาชญากรรมคอมพวิ เตอร์ เพอื่ ปอ้ งกนั ตนเองเป็นเบื้องตน้

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวชิ าอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหัสวิชา สค0200037

........................................................

๘.7. ส่งเสรมิ จริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์ ท้ังโดยการสร้างความรู้ความเข้าใจแกบ่ ุคคลท่ัวไปในการใช้
คอมพิวเตอร์อย่างถูกต้อง โดยการปลูกฝังเด็กตั้งแต่ในวัยเรียนให้เข้าในกฎเกณฑ์ มารยาทในการใช้คอมพิวเตอร์
อยา่ งถกู วิธแี ละเหมาสม

๙. มารยาทท่ัวไปในการใช้อินเทอร์เนต็
๙.1. ไม่ใช้อินเทอรเ์ น็ตเพอื่ การทำรา้ ยหรือรบกวนผ้อู น่ื
๙.2. ไม่ใช้อนิ เทอร์เน็ตเพื่อการทำผดิ กฎหมายหรือผิดศลี ธรรม
๙.3. ไม่เจาะระบบเครือขา่ ยอนิ เทอร์เน็ตของตนเองและผู้อืน่
๙.4. ไม่ใช้บัญชีอนิ เทอร์เน็ตของผ้อู ื่นและไม่ใช้เครอื ข่ายทไ่ี ม่ได้รับอนญุ าต
๙.5. การติดต่อสือ่ สารกับผ้อู ืน่ บนเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต ตอ้ งให้เกยี รติซง่ึ กันและกนั

๑๐. แนวทางการปอ้ งกนั อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ท่สี ามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ง่าย ๆ มี 4 ขอ้ ดังนี้
๑๐.1. การป้องกันข้อมลู สว่ นตวั โดยการตัง้ รหสั เข้าข้อมูลชองไฟล์ข้อมลู ทีต่ ้องการปอ้ งกัน
๑๐.2. การป้องกันการเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การใส่ชื่อ Username และ password, การใช้
สมาร์ทการ์ดในการควบคุมการใช้งาน หรือกุญแจเพื่อการป้องกันการใช้คอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับอนุญาต, การใช้
อุปกรณ์ทางชวี ภาพ เช่น ตรวจสอบเสยี ง ลายน้ิวมือ ฝา่ มือ ลายเซน็ มา่ ยตา เป็นตน้
๑๐.3. การสำรองข้อมูล โดยไม่เก็บข้อมูลไว้ท่ีเดียว สามารถสำรองไว้ในอุปกรณ์ทีใ่ ช้อ่านอยา่ งเดียว เชน่
แผ่นซดี แี ละแผ่นวีดีโอ
๑๐.4. การตัง้ ค่าโปรแกรมค้นหาและกำจัดไวรสั คอมพวิ เตอร์ เปน็ การป้องกนั ทนี่ ยิ มใช้กนั อย่างแพร่หลาย
เนือ่ งจากสามารถป้องกันอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ได้

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์
พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ คอื พระราชบัญญัติที่ว่าด้วยการกระทำผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ ซึง่ คอมพิวเตอร์ท่ีว่าน้ี

ก็เป็นได้ทั้งคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค สมาร์ตโฟน รวมถึงระบบต่างๆ ที่ถูกควบคุมด้วยระบบ
คอมพิวเตอร์ดว้ ย ซง่ึ เป็นพ.ร.บ.ท่ีตัง้ ขึ้นมาเพ่ือป้องกัน ควบคมุ การกระทำผิดทีจ่ ะเกิดขนึ้ ได้จากการใช้คอมพิวเตอร์
หากใครกระทำความผิดตามพ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์นี้ กจ็ ะต้องได้รับการลงโทษตามทีพ่ .ร.บ.กำหนดไว้

ปัจจุบันมีคนใช้คอมพิวเตอร์ รวมถึงสมาร์ตโฟนเปน็ จำนวนมาก บางคนก็อาจจะใช้ในทางที่เป็นประโยชน์
แต่บางคนก็อาจใช้สิ่งนี้ทำร้ายคนอื่นในทางอ้อมด้วยก็ได้ เราอาจจะได้ยินข่าวเรื่องการกระทำความผิดทาง
คอมพิวเตอร์อยู่บ้าง ซึ่งบางเหตุการณ์ก็สร้างความเสียหายไม่น้อยเลย เพื่อจัดการกับเรื่องพวกนี้ เลยต้องมีพ.ร.บ.
ออกมาควบคุม ในเมื่อการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเรื่องใกล้ตัวเรา พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ก็เป็นเรื่องใกล้ตัวเราเช่นกันค่ ะ
หากเราไม่รเู้ อาไว้ เราอาจจะเผลอไปทำผิด โดยท่เี ราไมไ่ ด้ต้ังใจกไ็ ด้

พ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์ มกี ี่ฉบับ

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวิชาอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหัสวิชา สค0200037

........................................................

ประเทศไทย มี พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มาแล้ว 2 ฉบบั คอื ฉบับแรก ปี 2550 และ ฉบับสอง ปี 2560
โดยฉบับทีใ่ ชง้ านปัจจบุ นั คือ ฉบบั ปี 2560

ความแตกตา่ งสำคัญระหว่างฉบับปี 2560 กบั 2550 คือ แก้ไขมิให้ “ความผิดหมิ่นประมาท” เปน็
ความผิดตาม พ.ร.บ คอมพวิ เตอร์ อีกตอ่ ไป
เพราะในอดีต ความผิดหมิ่นประมาท ถือว่าเข้าข่ายผิด พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ซึ่งกฎหมายระบุว่า ไม่สามารถยอม
ความได้ ดงั นั้นแมต้ ่อมา ค่คู วามจะเจรจายอมความสำเรจ็ หรืออยากถอนฟ้อง ศาลกไ็ มส่ ามารถใช้ดุลพิจนิจที่จะไม่
ลงโทษคคู่ วามได้ สง่ ผลให้มคี ดีฟ้องรอ้ งขึ้นศาลจำนวนมากและเกิดปญั หาทางปฏิบัติ
เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว จึงมีการนำ “ความผิดหมิ่นประมาท” ออกจาก พรบ คอมพิวเตอร์ แต่ไปบังคับใช้ด้วย
ประมวลกฎหมายอาญาแทน ทำให้การบังคับใชก้ ฎหมายมปี ระสิทธภิ าพมากขน้ึ

พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 2560 มกี ่หี มวด ก่ีมาตรา
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2560 มีอยู่ 2 หมวด โดยหมวดที่เกี่ยวข้องกับประชาชนคือ หมวด 1 “ความผิด
เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์” เพราะเป็นหมวดที่บอกว่า พฤติกรรมใดที่มีความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ และมีบทลงโทษ
อะไรอย่างไร โดยหมวด 1 มมี าตราที่ควรสนใจท้งั หมด 11 มาตราดังน้ี

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองหอยโข่ง จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวิชาอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหสั วิชา สค0200037

........................................................

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองหอยโข่ง จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวิชาอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหสั วิชา สค0200037

........................................................

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองหอยโข่ง จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวิชาอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหัสวิชา สค0200037

........................................................

ตวั อยา่ ง การกระทำความผิดเกี่ยวกบั พรบ คอมพิวเตอร์ พร้อมบทลงโทษ
การกระทำความผดิ เก่ยี วกบั คอมพวิ เตอร์ ทค่ี นทำงานออนไลนอ์ ยา่ งพวกเราไมค่ วรทำจะมอี ะไร แลว้ หาก
ทำผิด พรบ คอมพวิ เตอร์ มีบทลงโทษ อะไรบ้าง
พ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์ มาตรา 5 | ตวั อย่างการกระทำผดิ
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อ่นื โดยมชิ อบ ตวั อยา่ งเชน่
• การแฮคเกอร์ เขา้ ไปดขู ้อมูลคอมพิวเตอรค์ นอนื่ โดยไม่ไดร้ ับอนุญาต
• การใช้ username / password ของผู้อ่ืน Login เขา้ สู่ระบบ โดยไม่ได้รับการอนุญาต
บทลงโทษ
ต้องระวางโทษ จำคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรบั ไมเ่ กิน 1 หม่นื บาท หรือทั้งจำทง้ั ปรับ
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มาตรา 9 | ตวั อยา่ งการกระทำผดิ
ทำลาย แกไ้ ข ดัดแปลง นำไฟลอ์ นั ตรายเข้าสู่คอม จนทำให้ขอ้ มลู คอมพวิ เตอรข์ องผอู้ ่ืนเสียหาย ตวั อยา่ งเชน่
• การนำไฟลอ์ นั ตราย เชน่ ไวรัส มัลแวร์ มาสู่คอมพิวเตอร์ของเพ่ือน หรือ คนร้จู ัก จนระบบ

คอมพวิ เตอรเ์ สียหาย
• การแฮคเกอร์ เขา้ ไปดขู ้อมูลคอมพวิ เตอรค์ นอ่นื โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวิชาอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหสั วิชา สค0200037

........................................................

• การใช้ username / password ของผู้อนื่ Login เขา้ สู่ระบบ โดยไมไ่ ด้รบั การอนุญาต
บทลงโทษ
ต้องระวางโทษ จำคุกไม่เกนิ 5 ปี ปรับไมเ่ กนิ 1 แสนบาท หรือท้ังจำท้ังปรับ

พ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์ มาตรา 11 | ตวั อย่างการกระทำผิด

มาตราน้เี ก่ียวข้องโดยตรงกบั พ่อคา้ แม่คา้ ออนไลน์คะ่ เพราะเกีย่ วข้องกับการโปรโมทสินค้าบนอนิ เตอรเ์ น็ต
โดยการกระทำท่ีอาจผดิ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 2560 มีดงั น้ี

• การสง่ ข้อมลู หรืออเี มลก์ ่อกวนผอู้ น่ื (สแปม) เพื่อขายสนิ ค้าหรือบรกิ าร จนผู้รับเกดิ ความเดอื ดร้อน
รำคาญ โดยไม่มีปุ่มให้กดเลิกการรับอีเมล์

• การฝากรา้ นใน FB หรือ IG แบบรวั ๆ ซ้ำไปซ้ำมา โดยเจ้าของเพจไม่ได้อนญุ าต จนเกิดความเดอื ดร้อน
รำคาญแกเ่ จ้าของเพจหรอื ผู้พบเห็น

บทลงโทษ
ต้องระวางโทษ ปรับไมเ่ กิน 2 แสนบาท
พ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์ มาตรา 12 | ตวั อยา่ งการกระทำผิด
กระทำการทำลาย แก้ไข หรือ รบกวนข้อมูลหรือระบบคอมพวิ เตอร์ ของระบบสาธารณะ หรอื ความ
ม่นั คง เช่น
• เจาะเข้าระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งความคุมไฟฟ้าในนครหลวง และสั่งดบั ไฟฟ้าทั่วเมือง อนั ก่อให้เกดิ ความ

วุ่นวายและมีผลกระทบเปน็ วงกวา้ ง
บทลงโทษ
ต้องระวางโทษ ปรบั ไมเ่ กนิ 2 แสนบาท
พ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์ มาตรา 13 | ตัวอยา่ งการกระทำผิด
จำหนา่ ยหรือเผยแพร่ชุดคำส่ังเพือ่ นำไปใช้กระทำความผดิ ตวั อย่างเชน่

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองหอยโข่ง จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวิชาอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหสั วิชา สค0200037

........................................................

• เป็นผู้จำหน่ายชุดคำสั่งท่ใี ช้ในการเจาะระบบ หรอื รบกวนข้อมลู คอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมทำ
BOTNET หรอื DOS (Denial of Service)

บทลงโทษ
ตอ้ งระวางโทษ จำคุกไม่เกนิ 5 ปี เดอื น ปรับไมเ่ กิน 2 หม่ืนบาท หรือทง้ั จำทง้ั ปรบั
พ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์ มาตรา 14 | ตวั อยา่ งการกระทำผิด

พ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์ มาตรา 14 คือหน่ึงในมาตราท่ีประชาชนควรให้สนใจเปน็ พเิ ศษ เพราะเปน็ หน่งึ ใน
ฐานความผดิ ท่มี ีคดีฟ้องร้องมากทส่ี ดุ โดยตัวอย่างการกระทำผิด มาตราดงั กล่าว มีดงั น้ี

• โพสตห์ รือแชร์ ข้อมูลปลอม ไมเ่ ปน็ ความจริง หลอกลวง (อย่างเช่น แม่คา้ ออนไลน์โพสตห์ ลอกลวง
เพ่ือเก็บเงนิ ลูกค้า แตไ่ มม่ ีการส่งมอบสนิ คา้ จริง โฆษณาธุรกิจลกู โซ่ทีห่ ลอกลวงเอาเงนิ ลกู ค้า โพสข่าว
ปลอม เปน็ ตน้ )

• การกด like & Share ขา่ วหรือข้อมลู ปลอม อันเป็นการให้เพื่อนใน social network ไดเ้ ห็นข้อมูล
ดงั กล่าวดว้ ย กถ็ อื เป็นความผิดตาม พรบ คอมพิวเตอร์ มาตรา 14 เช่นกัน

• เปน็ แอดมนิ เพจท่ีปล่อยให้มีข่าวหรอื ขอ้ มูลปลอมเผยแพรใ่ นเพจตัวเอง โดยมิไดท้ ำการลบท้งิ
• โพสหรือเผยแพรภ่ าพเปลอื ย ภาพลามกอนาจารของคนรจู้ ัก หรือ คนรกั เก่า อนั เปน็ เหตุใหผ้ อู้ ่ืนไดร้ บั

ความอบั อาย หรอื เสยี หาย
บทลงโทษ

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองหอยโข่ง จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวชิ าอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหสั วชิ า สค0200037

........................................................

หากเป็นการกระทำทส่ี ่งผลถึงประชาชน ตอ้ งได้รับโทษจำคุกไมเ่ กนิ 5 ปี ปรับไม่เกิน 1 แสนบาท หรอื ทงั้
จำท้งั ปรับ และหากเป็นกรณีทีเ่ ปน็ การกระทำท่ีส่งผลตอ่ บุคลใดบคุ คลหน่ึง ต้องไดร้ บั โทษจำคุกไมเ่ กิน 3 ปี ปรบั ไม่
เกิน 6 แสนบาท หรือท้ังจำทั้งปรับ (แตใ่ นกรณีอย่างหลังนี้สามารถยอมความกันได้)

พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มาตรา 16 | ตวั อยา่ งการกระทำผดิ
กระทำการเผยแพร่ภาพท่สี รา้ งขนึ้ หรือภาพตัดต่อ อนั เป็นเหตุใหผ้ ้อู น่ื ได้รับการดหู ม่นิ อับอาย หรือ เสยี
ช่อื เสยี ง ตวั อยา่ งเช่น
• เผยแพรข่ ้อมลู เยาวชน โดยไม่มกี ารปกปิดตวั ตนของเยาวชนท่านนน้ั โดยตามกฏหมาย หากเปดิ เผย

ตัวตนเยาวชนสูส่ าธารณะ อาจทำใหใ้ ช้ชีวิตในสังคมลำบาก อาจถกู ดูหม่นิ เกลียดชงั
• เผยแพร่ภาพของผูเ้ สยี ชีวิต อันสง่ ผลใหพ้ อ่ แมห่ รือคู่สมรสของผู้ตาย เกดิ ความอบั อาย
บทลงโทษ
ตอ้ งระวางโทษ จำคุกไม่เกนิ 3 ปี เดือน ปรบั ไม่เกนิ 2 แสนบาท หรือท้งั จำทั้งปรบั
กรณีศึกษา: การทำผดิ กฎหมายคอมพิวเตอร์ ตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์
หลงั จากมกี ารประกาศใช้ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ฉบับท่ี 2 ก็มีเคสทเี่ ข้าข่ายกระทำความผิด พ.ร.บ.
ตวั อยา่ งเคสที่อาจผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองหอยโขง่ จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวชิ าอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหัสวิชา สค0200037

........................................................

เร่งหามือโพสต์ภาพ อาคารเพลินจิตเอียง ผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ฐานนำข้อความเท็จเข้าระบบ
คอมพิวเตอร์ ก่อให้เกดิ ความต่ืนตระหนก

จากกรณีที่ สมาชกิ เฟซบกุ๊ คนหนึ่ง ไดโ้ พสตภ์ าพชวนหวาดเสียว พรอ้ มเขยี นคำบรรยายว่า "ณ สถานีเพลิน
จิต ตรงโครงการสร้างตึกใหม่ตรงข้ามตึกมหาทุน น่ากลัวจะหัก (ตึก Noble ติด ๆ กันด้วย) #js100radio ช่วย
ประสานตอ่ ท"ี ทำให้ในโลกออนไลนต์ ่างตื่นตระหนก และวิจารณก์ นั ไปต่าง ๆ นานา อย่างไรกต็ าม ได้มีผู้ใช้เฟซบุ๊ก
รายหน่ึง เข้ามาแสดงความคดิ เห็นวา่ ตกึ ในภาพนา่ จะเปน็ โรงแรมโรสวดู เพลินจิต ซงึ่ อย่ใู นระหว่างก่อสรา้ ง โดยตัว
อาคารด้านหน้าออกแบบให้มีลักษณะหน้าตัดเหมือนดาบ และเตรียมเปิดบริการในอีกสองปีข้างหน้า

ขณะที่ต่อมา ทางผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตปทุมวัน ก็ใหส้ ัมภาษณ์สื่อมวลชนว่า จากในภาพไม่ได้เกิดจาก
อาคารทรุดเอยี ง แตเ่ ปน็ ดไี ซนข์ องตัวตกึ เอง (อ่านข่าว : อยา่ แตกตน่ื ตึกดงั เพลนิ จติ ไมไ่ ด้เอยี งจอ่ ถล่ม-ตั้งใจดีไซน์)

จากเรื่องดังกล่าว (15 สิงหาคม 2560) ทวิตเตอร์ @Nalinee_PLE รายงานว่า กองบังคับการตำรวจ
นครบาล 1 สั่ง ผบก.น.6 สน.ลุมพินี เร่งหาตัวมือโพสต์ภาพอาคารย่านเพลินจิตเอียง เพื่อดำเนินคดีตาม พ.ร.บ.
คอมพิวเตอร์ ม.14 (2) นำข้อความเท็จเข้าระบบคอมพิวเตอร์ อันเป็นเท็จก่อให้เกิดความตื่นตระหนก โทษจำคุก
ไมเ่ กนิ 5 ปี ปรับไมเ่ กิน 500,000 บาท หรือท้งั จำทั้งปรบั

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองหอยโข่ง จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวิชาอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหสั วิชา สค0200037

........................................................

การคกุ คามทางเพศออนไลน์ (Cyber Sexual Harassment)
Cyber Sexual Harassment คือ การใชภ้ าษาลวนลามทางเพศผ่านสื่อโซเชยี ลมีเดีย ปัจจุบันพฤติกรรม
คุมคามทางเพศผ่านสังคมออนไลน์สามารถพบเห็นไปแทบทุกช่องทาง เนื่องจากโซเชียลมีเดียเป็นส่วนหนึง่ ในชวี ิต
ของคนในสังคม และไม่สามารถระบุตัวตนที่แท้จริงของผู้ใช้งานได้ ทำให้การกระทำความผิดเป็นเรื่องง่ายมากข้ึ น
เพราะผู้กระทำความผิดสามารถ ลบทำลายหลักฐานบนโซเชียลมีเดียได้ ทำให้ยากในการติดตาม และยังมีแนวคิด
บางส่วนมองว่า พฤติกรรมดังกลา่ วเป็นการพูดเล่น พดู ตดิ ตลก หรือเป็นการแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับคนอื่นไปใน
แนวลามก “เปน็ เร่อื งปกติทีใ่ คร ๆ ก็ทำได้ เพราะเราตา่ งไม่รู้จกั ” ไม่ใช่เรอ่ื งผดิ แปลก
รูปแบบการเกิดการคุกคามทางเพศออนไลน์ (Cyber Sexual Harassment)
๑. การเหยียดเพศ
การแสดงความคดิ เห็นในเชิงดูถกู เหยยี ดหยามรสนิยมทางเพศ หรือเพศสภาพของผู้อ่นื โดยเห็นว่าเป็น
เร่ืองตลก และนำมาล้อเลยี นใหอ้ บั อาย อาทิ สายเหลือง, ลา้ งตเู้ ยน็ , ขดุ ทอง หรอื เปล่ียนทอมให้เปน็ เธอ ฯลฯ

๒. การลวนลามทางเพศ
การแสดงความคดิ เห็นเก่ียวกับเรื่องเพศ การพูดถึงอวยั วะเพศ (ชาย/หญงิ ) เสนอหรอื ขอทำกิจกรรมทาง
เพศกับบุคคลดังกลา่ ว โดยไม่สนใจเรอื่ งเพศ หรืออายขุ องผู้ถกู กระทำ อาทิ อยากเลีย/อม_ใหล้ ้ม, ได้น้อง_สักครงั้
จะต้ังใจเรียน, เห็นกลา้ มแล้ว อยาก_ซักคำ, ช่วงน้ี พ่หี ิวขอกินขา้ วหลามน้องได้ไหม หรือเหน็ น้องแล้ว พี่อยากเปน็
ผ้ปู ระสบภยั เปน็ ต้น
๓. การข่มขทู่ างเพศ
การขม่ ขู่ผถู้ ูกกระทำและคนสนทิ บนโลกออนไลน์ เพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ทางเพศ โดยพฤติกรรมดังกล่าว
ถอื วา่ เปน็ การเกาะติดชีวติ ออนไลนข์ องผู้อน่ื (Cyberstalking) หรอื อีกกรณี คือ Revenge Porn เปน็ การนำรูปโป๊
ของเหย่ือมาข่มขหู่ รือแกแ้ ค้น และเหตุการณท์ ี่พบบ่อย คอื เมือ่ ฝ่ายหญิงเลิกกับฝ่ายชาย แล้วฝ่ายชายนำภาพโปท๊ ี่
เคยถ่ายตอนเป็นแฟนกันมาข่มขู่ หรอื แก้แคน้ ฝา่ ยหญิง โดยไม่สนใจวา่ ฝ่ายหญงิ จะไดร้ บั ความเสื่อมเสียหรอื อบั อาย
เพยี งใด
ส่อื ออนไลนท์ ่ีพบข้อความ Cyber Sexual Harassment
• ทวิตเตอร์
• เฟซบกุ๊
• ยูทปู
• อินสตาแกรม
• พันทปิ
• การแสดงความคดิ เห็นผา่ นการไลฟ์สด ฯลฯ

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองหอยโข่ง จงั หวดั สงขลา

ใบความรู้
รายวิชาอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ รหสั วชิ า สค0200037

........................................................

ตัวอยา่ งพฤตกิ รรมทีเ่ ขา้ ข่าย Cyber Sexual Harassment
• การแสดงความคิดเห็นเกยี่ วกับคนอนื่ ไปในแนวลามก
• การกระจายข่าวลอื เร่ืองการร่วมเพศ หรือนินทาคนอืน่ ด้วยข้อความบนสื่อออนไลน์
• การโพสต์แสดงความคิดเหน็ ทางเพศภาพหรอื วดิ โี อลามกบนสอ่ื ออนไลน์
• ส่งข้อความและภาพลามกผา่ นขอ้ ความ
• กดดนั ให้คนอนื่ มีส่วนร่วมในการส่งขอ้ ความลามก
• สง่ ต่อข้อความและภาพลามกผา่ นขอ้ ความหรืออเี มล
• แอบอา้ งเป็นบคุ คลอ่ืนบนสื่อออนไลน์ เพื่อแสดงความคิดเห็นลามกหรือเสนอการรว่ มเพศ ฯลฯ

สง่ิ ทีค่ วรยำ้ เตอื น เพือ่ ไม่ให้เกิด Cyber Sexual Harassment
• คนหนา้ ตาดี ไมว่ า่ จะเพศใด อายุเท่าใด หรือสัญชาติไหน ท่องไว้วา่ บคุ คลเหล่าน้นั ไม่ใช่เหย่ืออารมณ์

หน่ื ท่คี ณุ จะนำมาเล่นสนุกบนโซเชียลได้
• การแตง่ ตวั เซ็กซี่ หรอื ล่อแหลม ไมใ่ ชใ่ บอนุญาตคุกคามทางเพศ
• การแสดงความหื่น ไม่ว่าจะทำกบั ใครก็ตาม การกระทำของคณุ ไมไ่ ด้ดเู ท่ หรอื ดเู ก่งเหนือใคร แตเ่ ป็น

เรอื่ งนา่ อายท่เี ข้าขา่ ยผดิ กฎหมาย
• หากคุณไม่เคารพ “สทิ ธิส่วนตวั ” ของผอู้ ืน่ ก็ไมม่ ีสิทธเิ รยี กร้องให้คนอน่ื เคารพสิทธิส่วนตวั ของคณุ

เชน่ กัน ฯลฯ

Cyber Sexual Harassment เขา้ ข่ายความผดิ อะไรบ้าง
ปัจจุบันยังไม่มีตัวบทกฎหมายที่กำหนดเรื่องการเอาผิดกับผู้กระทำผิดเรื่องลวนลามทางเพศในสังคม
ออนไลน์ เนื่องจาก พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์ หรือ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 2560 ไม่ได้
บัญญตั คิ วามผิดเก่ียวกับการคุกคามทางเพศบนอินเทอร์เน็ตไว้เปน็ การเฉพาะ อีกทั้งประมวลกฎหมายอาญา ก็ไม่มี
บทบัญญัติโดยเฉพาะเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวเช่นกัน มีเพียงบทบัญญัติทั่วไปที่อาจนำมาปรับใช้ตามกรณีที่เกิดข้ึน
อาทิ
พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทำความผดิ ทางคอมพวิ เตอร์ 2560
มาตรา 14 ข้อ (4) ที่กล่าวไว้ว่า การนำข้อมูลที่มีลักษณะอันลามกเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ การกระทำ
ดงั กล่าวถือวา่ มีความผดิ อาจต้องรบั โทษจำคุกไม่เกนิ 5 ปี ปรับไม่เกนิ 100,000 บาท หรือทั้งจำทงั้ ปรับ
ระมวลกฎหมายอาญา
สำหรับในสว่ นของประมวลกฎหมายอาญาทสี่ ามารถนำมาเทียบเคยี งได้ อาทิ
• มาตรา 59 วรรคสอง กลา่ วถึงเรอ่ื งเจตนา ว่า ผกู้ ระทำความผิดรู้อยแู่ ล้วว่า การกระทำของตน (โพสต์

ข้อความในเชงิ ลามก) จะสง่ ผลอะไรตอ่ ผู้ถกู กระทำนัน้ บ้าง
• มาตรา 397 กล่าวไว้ว่า บุคคลใดที่กระทำการรังแกหรือข่มเหงผู้อื่นจนได้รับความอับอายหรือ

เดอื ดรอ้ นรำคาญ อาจต้องรบั โทษจำคุกไมเ่ กนิ 1 เดือน ปรบั ไม่เกิน 1,000 บาท หรือท้ังจำทัง้ ปรับ

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอคลองหอยโข่ง จงั หวดั สงขลา