ใบงานประวัติศาสตร์ชาติไทย สค32034

ชุดวิชา

ประวัตศาสตรชาติไทย

รหัสรายวิชา สค32034
รายวิชาเลือกบังคับ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนพื้นฐาน
ั้
พุทธศักราช 2551

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ

คํานํา

ชุดวชา ประวติศาสตรชาติไทย รายวชา สค32034 รายวิชาเลือกบงคับ ระดับ




มัธยมศึกษาตอนปลาย ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช

2551 ชุดวิชานี้ประกอบดวยเนื้อหาความรูวาดวยเรื่องความสําคัญเกี่ยวกับความภูมิใจในความเปนไทย
การประยุกตใชวิธีการทางประวัติศาสตร พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริยไทยสมัยรัตนโกสินทร

มรดกไทยสมัยรัตนโกสินทร และการเปลี่ยนแปลงของชาติไทยสมยรัตนโกสินทร และชุดวชานี้

มีวัตถุประสงค เพื่อใหผูเรียน กศน. มีความรู ความเขาใจ และตระหนักถึงความเปนมาของชาติไทย


ี่

ู


ี่

ในดินแดนทเปนประเทศไทยทดํารงอยอยางตอเนื่องมาเปนเวลายาวนานตราบจนปจจุบน
ี่
ู

ี่




ซึ่งพระมหากษัตริยไทยและบรรพบรุษในสมยตาง ๆ ทชวยลงหลักปกฐาน ปกปกรักษาถิ่นทอย
และสรางสรรคอารยธรรมอันดีสืบทอดแกชนรุนหลัง
สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณ
ั้

ผูเชี่ยวชาญเนื้อหา ที่ใหการสนับสนุนองคความรูประกอบการนําเสนอเนื้อหา รวมทงผูเกยวของ
ี่

ในการจัดทาชุดวชา หวงเปนอยางยงวาชุดวชานี้จะเกิดประโยชนตอผูเรียน กศน. และนําไปสู



ิ่



การปฏิบัติอยางเห็นคุณคาตอไป

สํานักงาน กศน.
พฤษภาคม 2561

คําแนะนําการใชชุดวิชา

ประวัติศาสตรชาติไทย


ชุดวิชา ประวัติศาสตรชาติไทย รหัสรายวชา สค32034 ใชสําหรับผูเรียนหลักสูตร

การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมธยมศึกษาตอนปลาย
แบงออกเปน 2 สวนคือ
สวนที่ 1 โครงสรางของชุดวิชา แบบทดสอบกอนเรียน โครงสรางของหนวยการเรียนรู

เนื้อหาสาระ กิจกรรมเรียงลําดับตามหนวยการเรียนรู และแบบทดสอบหลังเรียน

สวนที่ 2 เฉลยแบบทดสอบ และกิจกรรมประกอบดวย เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน
และหลังเรียน เฉลยกิจกรรมเรียงลําดับตามหนวยการเรียนรู

วิธีการใชชุดวิชา
ใหผูเรียนดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้

1. ศึกษารายละเอียดโครงสรางชุดวิชาโดยละเอียด เพื่อใหทราบวาผูเรียนตองเรียนรู
เนื้อหาในเรื่องใดบางในรายวิชานี้

2. วางแผนเพื่อกําหนดระยะเวลาและจัดเวลาที่ผูเรียนมีความพรอมที่จะศึกษาชุดวชา


เพื่อใหสามารถศึกษารายละเอียดของเนื้อหาไดครบทกหนวยการเรียนรู พรอมทากิจกรรม ตามท ี่

กําหนดใหทันกอนสอบปลายภาคเรียน
3. ทําแบบทดสอบกอนเรียนของชุดวิชาตามที่กําหนด เพื่อทราบพื้นฐานความรูเดิม

ของผูเรียน โดยใหทําในสมุดบันทึกการเรียนรูและตรวจสอบคําตอบจากเฉลยแบบทดสอบทายเลม

4. ศึกษาเนื้อหาในชุดวิชาในแตละหนวยการเรียนรูอยางละเอียดใหเขาใจ ทั้งในชุดวชา

และสื่อประกอบ (ถาม) และทํากิจกรรมที่กําหนดไวใหครบถวน
5. เมื่อทํากิจกรรมเสร็จแตละกิจกรรมแลวผูเรียนสามารถตรวจสอบคําตอบไดจาก



แนวตอบ/เฉลยทายเลม หากผูเรียนยังทากิจกรรมไมถูกตองใหผูเรียนกลับไปทบทวนเนื้อหาสาระ

ในเรื่องนั้นซ้ําจนกวาจะเขาใจ

6. เมื่อศึกษาเนื้อหาสาระครบทุกหนวยการเรียนรูแลว ใหผูเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน
และตรวจกระดาษคําตอบจากเฉลยทายเลมวาผูเรียนสามารถทาแบบทดสอบไดถูกตองทกขอหรือไม 



หากขอใดยังไมถูกตองใหผูเรียนกลับไปทบทวนเนื้อหาสาระในเรื่องนั้นใหเขาใจอกครั้งหนึ่ง ผูเรียนควร

ทําแบบทดสอบหลังเรียนใหไดคะแนนมากกวาแบบทดสอบกอนเรียน และควรไดคะแนนไมนอยกวา

รอยละ 60 ของแบบทดสอบทั้งหมด เพื่อใหมั่นใจวาจะสามารถสอบปลายภาคเรียนผาน

7. หากผูเรียนไดทําการศึกษาเนื้อหา และทํากิจกรรมแลวยังไมเขาใจ ผูเรียนสามารถ
สอบถามและขอคําแนะนําไดจากครูหรือแหลงคนควาเพิ่มเติมอื่น ๆ




หมายเหตุ : การทําแบบทดสอบกอนเรียน/หลังเรียน และทํากิจกรรมทายเรื่องใหทาและบนทกลงใน

สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดวิชา

การศึกษาคนควาเพิ่มเติม
ผูเรียนอาจศึกษาหาความรูเพิ่มเติมไดจากแหลงเรียนรูอื่น ๆ ที่เผยแพรความรู ในเรื่อง

ที่เกี่ยวของและศึกษาจากผูรู เปนตน

การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ผูเรียนตองวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดังนี้

1. ระหวางภาคเรียน วัดผลจากการทํากิจกรรมหรืองานทไดรับมอบหมายระหวางเรียน
ี่
รายบุคคล

2. ปลายภาคเรียน วัดผลจากการทําขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายภาคเรียน

โครงสรางชุดวิชา

ประวัติศาสตรชาติไทย

สาระการพัฒนาสังคม

มาตรฐานการเรียนรูระดับ


มีความรู ความเขาใจ ตระหนักเกี่ยวกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมอง

การปกครองในโลก และนํามาปรับใชในการดําเนินชีวต เพื่อความมั่นคงของชาติ

ี้
ตัวชวัด

1. อธิบายความหมาย ความสําคัญของสถาบนหลักของชาติ
2. อธิบายความเปนมาของชนชาติไทย

3. บอกพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริยไทยกบการรวมชาติ
4. อธิบายความสําคัญของสถาบนศาสนา

5. อธิบายความสําคัญของสถาบนพระมหากษัตริย 

6. อธิบายและยกตัวอยางที่แสดงถึงความภาคภูมิใจในความเปนไทย
7. บอกบุญคุณของพระมหากษัตริยไทยตั้งแตสมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร

8. อธิบายความหมาย ความสําคัญ และประโยชนของวิธีการทางประวัติศาสตร
9. อธิบายวิธีการทางประวติศาสตร

10. ประยุกตใชวิธีการทางประวติศาสตรในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตรที่สนใจ

11. อธิบายพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริยไทยสมัยรัตนโกสินทร

12. อธิบายคุณประโยชนของบุคคลสําคัญที่มีตอการพัฒนาชาติไทย

13. วิเคราะหคุณประโยชนของบคคลสําคัญที่มีผลตอการพัฒนาชาติไทย
14. เขียนบรรยายคุณคาที่ไดรับจากการศึกษาประวติศาสตรชาติไทย

15. อธิบายความหมายและความสําคัญของมรดกไทย

16. ยกตัวอยางมรดกไทยสมัยรัตนโกสินทรไดอยางนอย 3 เรื่อง
17. วิเคราะหมรดกไทยสมัยรัตนโกสินทรที่มีผลตอการพัฒนาชาติไทย

18. อธิบายความหมาย ความสําคัญของการอนุรักษมรดกไทย
19. ยกตัวอยางการมสวนรวมในการอนุรักษมรดกไทย

20. วิเคราะหเหตุการณสําคัญทางประวติศาสตรที่มีผลตอการพัฒนาชาติไทย


21. อภิปรายและนําเสนอเหตุการณสําคัญทางประวัติศาสตรที่มผลตอการพัฒนาชาติไทย


สาระสาคัญ

การเรียนรูประวัติศาสตรชาติไทยกอใหเกิดความภาคภูมิใจในความเปนชาติไทย ไดเรียนรู
ความหมาย ความเปนมา และความสําคัญของสถาบันหลักของชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย


ความเปนมาของชาติไทย เสรีภาพในการนับถือศาสนาของไทย และบญคุณของพระมหากษัตริยไทย

ตั้งแตสมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร ชุดวชาในระดับมธยมศึกษาตอนปลาย เรียนรู

เกี่ยวกับพระมหากษัตริย บรรพบรุษ วีรกรรมของบรรพบุรุษไทยในสมยกรุงรัตนโกสินทร เรียนรู



มรดกทางวัฒนธรรมสมัยกรุงรัตนโกสินทร ตลอดจนแนวทางการสืบสานมรดกไทย ดานสถาปตยกรรม

ประติมากรรม จิตรกรรม วรรณกรรม ดนตรี นาฏศิลป ประเพณีความเชื่อ การแตงกาย และศึกษา
เหตุการณทางประวติศาสตร การสถาปนาอาณาจักรรัตนโกสินทร สนธสัญญาตาง ๆ ตลอดจน


พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริยไทยในรัชกาลตาง ๆ ตั้งแต รัชกาลท 1 ถึง รัชกาลท 10 เพื่อนํา
ี่
ี่
องคความรูมาปรับใชในการดําเนินชีวิตเพื่อความมั่นคงของชาติ
ขอบขายเนื้อหา
หนวยการเรียนรูที่ 1 ความภูมิใจในความเปนชาติไทย

หนวยการเรียนรูท 2 การประยุกตใชวิธีการทางประวัติศาสตร
ี่
หนวยการเรียนรูที่ 3 บุญคุณของแผนดิน

หนวยการเรียนรูที่ 4 มรดกไทยสมัยรัตนโกสินทร
หนวยการเรียนรูที่ 5 การเปลี่ยนแปลงของชาติไทยสมัยรัตนโกสินทร

สื่อประกอบการเรียนรู

1. ชุดวิชา

2. สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดวชา
3. สื่อเสริมการเรียนรูอน ๆ
ื่
จํานวนหนวยกิต

จํานวน 3 หนวยกิต

กิจกรรมการเรียนรู
1. ทําแบบทดสอบกอนเรียน ตรวจสอบคําตอบจากเฉลยทายเลม

2. ศึกษาเนื้อหาสาระในหนวยการเรียนรูทุกหนวย
3. ทํากิจกรรมตามที่กําหนด และตรวจสอบคําตอบจากเฉลยทายเลม

4. ทําแบบทดสอบหลังเรียน และตรวจสอบคําตอบจากเฉลยทายเลม

การประเมินผล
1. ทําแบบทดสอบกอนเรียน/หลังเรียน

2. ทํากิจกรรมในแตละหนวยการเรียนรู
3. เขารับการทดสอบปลายภาคเรียน

สารบัญ

หนา

คํานํา

คําแนะนําการใชชุดวิชา
โครงสรางชุดวิชา

สารบัญ
หนวยการเรียนรูที่ 1 ความภูมิใจในความเปนไทย 1


เรื่องที่ 1 สถาบนหลักของชาติ 3
เรื่องที่ 2 บทสรุปสถาบันพระมหากษัตริยเปนศูนยรวมใจของคนในชาติ 22

เรื่องที่ 3 บุญคุณของพระมหากษัตริยไทยตั้งแตสมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี
และรัตนโกสินทร 27



หนวยการเรียนรูที่ 2 การประยกตใชวิธีการทางประวัติศาสตร 36
เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญ และประโยชนของวิธีการทางประวัติศาสตร 38
เรื่องที่ 2 วิธีการทางประวัติศาสตร 39

หนวยการเรียนรูที่ 3 พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริยไทยสมัยรัตนโกสินทร 48

เรื่องที่ 1 พระราชกรณียกจของพระมหากษัตริยไทยสมัยรัตนโกสินทร 50
เรื่องที่ 2 คุณประโยชนของบคคลสําคัญ 73

หนวยการเรียนรูที่ 4 มรดกไทยสมัยรัตนโกสินทร 81
เรื่องที่ 1 ความหมาย และความสําคัญของมรดกไทย 83

เรื่องที่ 2 มรดกไทยสมัยรัตนโกสินทร 85
เรื่องที่ 3 มรดกไทยที่มีผลตอการพัฒนาชาติไทย 119

เรื่องที่ 4 การอนุรักษมรดกไทย 121
เรื่องที่ 5 การมีสวนรวมในการอนุรักษมรดกไทย 122

สารบัญ (ตอ)

หนา


หนวยการเรียนรูที่ 5 การเปลี่ยนแปลงของชาติไทยสมัยรัตนโกสนทร 123

เรื่องที่ 1 เหตุการณสําคัญทางประวติศาสตรที่มผลตอการพัฒนาชาติไทย 124


เรื่องที่ 2 ตัวอยางการวิเคราะห และอภิปรายเหตุการณสําคัญทางประวัติศาสตร
ที่มีผลตอการพัฒนาชาติไทย 148

บรรณานุกรม 149

คณะผูจัดทํา 156

1

หนวยการเรียนรูที่ 1

ความภูมิใจในความเปนไทย

สาระสําคัญ



“ความภูมใจในความเปนไทย” วลีนี้เปนสิ่งทรัฐบาล องคกรปกครอง พยายามให 

ี่

เกิดขึ้นกับประชาชนภายในประเทศมาตลอดในหลายยุคหลายสมัย เพราะความภูมใจในความเปน



ี่
คนไทยในความเปนชาติไทยนั้น จะเปนการสรางแรงผลักดันทสําคัญตอการดําเนินชีวิตของผูคน
และการพัฒนาชาติใหมีความเจริญรุงเรือง มั่นคง และเขมแข็ง


ี่

ี่

ประเทศไทยมประวัติความเปนมาทยาวนาน ผานการเปนทตั้งของมนุษยและ
การรวมตัวของชุมชนมาตั้งแตยุคกอนประวัติศาสตร กอกําเนิดเปนความเชื่อ วิถีชีวิต ประเพณี และ
วัฒนธรรมที่สืบตอมาอยางยาวนาน มีหลายเหตุการณ หลายอุปสรรคที่ผูคนและเหลาบรรพบุรุษได


รวมกัน “สรางบานแปงเมือง” จนกระทั่งมีชนชาติไทยและประเทศไทยอนนาภาคภูมใจปรากฏอย ู




ในทุกวันนี้ และการที่จะเขาใจถึงความเปนชาติไทยนั้น จะเกดขึ้นไมไดถาผูเรียนไมไดเริ่มตนจาก
การศึกษาประวัติความเปนมาของความเปนชาติไทยเสียกอน

ตัวชี้วัด
1. อธิบายความหมาย และความสําคัญของสถาบันหลักของชาติ
2. อธิบายความเปนมาของชนชาติไทย

3. บอกพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริยไทยกบการรวมชาติ
4. อธิบายความสําคัญของสถาบนศาสนา


5. อธิบายความสําคัญของสถาบนพระมหากษัตริย 

6. อธิบายและยกตัวอยางที่แสดงถึงความภาคภูมิใจในความเปนไทย


7. บอกบญคุณของพระมหากษัตริยไทยตั้งแตสมยสุโขทย อยธยา ธนบรี และ




รัตนโกสินทร

ขอบขายเนื้อหา
เรื่องที่ 1 สถาบนหลักของชาติ

1. ชาติ
1.1 ความหมาย ความสําคัญของชาติ

1.2 ความเปนมาของชนชาติไทย

2

1.3 การรวมไทยเปนปกแผน
1.4 พระมหากษัตริยกับการรวมชาติ

2. ศาสนา
2.1 ศาสนาพุทธ

2.2 ศาสนาคริสต
2.3 ศาสนาอิสลาม

2.4 ศาสนาซิกข
2.5 ศาสนาฮินดู

3. พระมหากษัตริย 
3.1 องคอุปถัมภของศาสนา

3.2 การปกครอง
3.3 การเสียสละ
3.4 พระปรีชาสามารถ

เรื่องที่ 2 บทสรุปสถาบันพระมหากษัตริยเปนศูนยรวมใจของคนในชาติ

ี่


เรื่องท 3 บุญคุณของพระมหากษัตริยไทยตั้งแตสมยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และ
รัตนโกสินทร
3.1 สมัยสุโขทัย
3.2 สมัยอยุธยา
3.3 สมัยธนบุรี

3.4 สมัยรัตนโกสินทร
สื่อการเรียนรู

1. ชุดวิชาประวัติศาสตรชาติไทย รหัสรายวิชา สค32034
2. สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดวิชา

เวลาที่ใชในการศึกษา 15 ชั่วโมง

3

เรื่องที่ 1 สถาบันหลักของชาติ



สถาบนหลักของชาติ ประกอบดวย ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย ซึ่งเปน


ู



สถาบนทอยกบสังคมไทยมาชานาน โดยเฉพาะอยางยิ่งสถาบนพระมหากษัตริยซึ่งเปนเสาหลัก
ี่

ในการสรางชาติใหเปนปกแผน เปนศูนยรวมจิตใจของปวงชน เปนบอเกิดของความรัก ความสามัคคี


ื่
นําพาประเทศชาติใหผานพนภัยนานาประการ ไมวาจะเปนภัยรุกรานของประเทศอน ภัยจาก

การลาอาณานิคมและการแผขยายลัทธิการปกครอง อีกทั้งสถาบันพระมหากษัตริยมีบทบาทสําคัญ
ั่

ี่

ิ่



ในการพัฒนาความเปนอยูของประชาชนในทวทกภูมภาค โดยเฉพาะอยางยงในทองถิ่นทหางไกล






สงผลใหมการยกระดับคุณภาพชีวตของประชาชนในทกมติ และเปนรากฐานใหประเทศชาติ

มีความมั่นคงสืบมาจนถึงปจจุบัน
ชนชาติไทยในอดีต จึงถือวาสถาบนพระมหากษัตริย เปนสถาบนสูงสุดของชาติ




ที่มีบทบาทสําคัญในการเปนผูนํา รวมประเทศชาติใหเปนปกแผน และพระมหากษัตริยทุกพระองค
ปกครอง ดูแลและบริหารประเทศชาติโดยใชหลักธรรม ที่เปนคําสอนของศาสนา ดวยความเขมแข็ง


ของสถาบันพระมหากษัตริย ที่มีความศรัทธาเลื่อมใสในสถาบันศาสนา ที่เปนเสมือนเครื่องยดเหนี่ยว
ี่

ทางจิตใจใหคนในชาติประพฤติปฏิบัติในทางทดีงาม เพราะทกศาสนาลวนแตสอนใหคนประพฤติ


และคอยประคับประคองจิตใจใหดีงาม มความศรัทธาในการบาเพ็ญตนตามรอยพระศาสดาของ


ี่
ู

แตละศาสนา และเมื่อพระมหากษัตริยเปนผูทประพฤติตนอยในธรรม และปกครองแผนดินโดย

ธรรมแลว ไพรฟาประชาราษฎรตางอยูดวยความรมเย็นเปนสุข จึงทําใหสถาบันชาติ ที่เปนสัญลักษณ
เปรียบเสมือนอาณาเขตผืนแผนดินที่เราอยอาศัย มความมนคง พัฒนาและยนหยดไดอยางเทาเทียม
ู

ั่







อารยประเทศ ดังนั้น สถาบันชาติ สถาบันศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย จึงเปนสถาบนหลักของ

ี่
ชาติไทย ทไมสามารถแยกจากกนได สามารถยดเหนี่ยวจิตใจของปวงชนชาวไทยและคนในชาติ

มาจวบจนทุกวันนี้
ี่
“ชนชาติไทย” เปนชนชาติที่มีรากเหงาทางประวัติศาสตรและความเปนมาทยาวนาน
ี่




ไมแพชาติใดในโลก เรามีแผนดินไทยทอดมสมบรณ ในน้ํามปลา ในนามขาว มพืชพันธธัญญาหาร

ุ



ี่






ทอดมสมบรณ มภูมอากาศ และภูมประเทศทเปนชัยภูม อากาศไมรอนมาก ไมหนาวมาก

ี่
มความหลากหลายของแหลงทรัพยากรธรรมชาติทสมบรณ มทราบลุมแมน้ําทอดมสมบรณ

ี่
ี่




ี่

เหมาะแกการเพาะปลูก มีภูเขา มีทะเลทมความสมดุลและสมบรณเพียบพรอมเปนที่หมายปอง

ี่


ี่

ของนานาประเทศ นอกจากนี้ ชนชาติไทยยงมีขนมธรรมเนียม ประเพณีและวฒนธรรมทดีงาม

หลากหลาย งดงาม เปนเอกลักษณของชาติทโดดเดน ซึ่งสิ่งเหลานี้ลูกหลานไทยทกคนควรม ี

ี่


ี่

ความภาคภูมิใจที่ไดเกิดมาเปนคนไทย ในแผนดินไทย แตกอนทจะสามารถรวมชนชาติไทยใหเปน



ปกแผน ทาใหลูกหลานไทยไดมีแผนดินอาศัยอยูอยางรมเยนเปนสุขหลายชั่วอายคนมาจวบจน



4





ทกวนนี้ บรรพบรุษของชนชาติไทยในอดีต ทานไดสละชีพเพื่อชาติ ใชเลือดทาแผนดิน ตอสูเพื่อ


ปกปองดินแดนไทย กอบกูเอกราชดวยหวังไววา ลูกหลานไทยตองมแผนดินอย ไมตองไปเปนทาส

ู
ของชนชาติอื่น ซึ่งการรวมตัวมาเปนชนชาติไทยทมทงคนไทยและแผนดินไทยของบรรพบรุษไทย
ี่


ั้

ในอดีต ก็ไมใชเรื่องที่สามารถทําไดโดยงาย ตองอาศัยความรัก ความสามคคี ความกลาหาญ ความเสียสละ
อดทน และสิ่งที่สําคัญ คือ ตองมีศูนยรวมใจที่เปนเสมือนพลังในการตอสูและผูนําที่มีความชาญฉลาด
ดานการปกครองและการรบ คือ สถาบันพระมหากษัตริยที่อยูคูคนไทยมาชานาน และหากลูกหลานไทย

และคนไทยทุกคนไดศึกษาพงศาวดารและประวัติศาสตรชาติไทย ก็จะเหนวา ดวยเดชะพระบารม ี
และพระปรีชาสามารถของบูรพมหากษัตริยของไทยในอดีตที่เปนผูนําสามารถรวบรวมชนชาติไทย

ใหเปนปกแผน แมวาเราจะเคยเสียเอกราชและดินแดนมามากหมายหลายครั้ง บูรพมหากษัตริยไทย
ู
กสามารถกอบกเอกราชและรวบรวมชนชาวไทยใหเปนปกแผนไดเสมอมา และเหนือสิ่งอนใด

ื่





พระมหากษัตริยไทยทกพระองค เปนพระมหากษัตริยที่ปกครองประเทศชาติดวยพระบารมและ


ทศพิธราชธรรม ใชธรรมะและคําสั่งสอนของพระพุทธองคมาเปนแนวในการปกครอง ทําใหคนในชาติ
อยูรวมกันอยางรมเย็นเปนสุข สมกับคําที่วา “ประเทศไทย เปนประเทศแผนดินธรรมแผนดินทอง”
แผนดินธรรม หมายถึง แผนดินที่มีผูปฏิบัติธรรม และการปฏิบัติธรรมนั้น หมายถึง
การปฏิบัติหนาที่อยางถูกตอง
ี่

แผนดินทอง หมายถึง แผนดินทประชาชนไดรับประโยชน และความสุขอยางทวถึง
ั่
ตามควรแกอัตภาพ
1.1 ชาติ
การจะรับรูความเขาใจในความเปนชาติหรือความรูสึกที่หวงแหนความเปนชาติไดนั้น
ผูเรียนมีความจําเปนที่จะตองเขาใจบริบทของความเปนชาติเสียกอน ดังนี้

1.1.1 ความหมาย ความสําคัญของชาติ
ี่

ชาติ หมายถึง กลุมคนทมภาษา วฒนธรรม และเชื้อชาติ ประวติศาสตร






เดียวกัน หรือใกลเคียงกน มแผนดิน อาณาเขตการปกครอง ทเปนระบบ เปนสัดสวน มผูนําหรือ
ี่

รัฐบาลที่ใชอํานาจ หรือมีอํานาจอธิปไตยที่นํามาใชในการปกครองประชาชน


ตามพจนานุกรมฉบบราชบณฑิตยสถาน กลาววา ชาติ หมายถึง ประเทศ
ประชาชนที่เปนพลเมืองของประเทศ กลุมชนที่มีความรูสึกในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา ประวติ


ความเปนมา ขนบธรรมเนียมประเพณี และวฒนธรรมอยางเดียวกนหรืออยในปกครองรัฐบาล



ู
เดียวกัน

5

“ความจงรักภักดีตอชาตินั้น คือ ความสํานึกตระหนักในคุณของแผนดิน
อันเปนที่เกิดที่อาศัย ซึ่งทําใหบุคคลเกิดความภูมิใจในชาติกําเนิด

และมุงมั่นที่จะธํารงรักษาประเทศชาติไว ใหเปนอิสระมั่นคงตลอดไป”
ี่

พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหว (รัชกาลท 9) ในพิธถวาย

สัตยปฏิญาณและสวนสนามของทหารรักษาพระองค ณ ลานพระราชวังดุสิต 3 ธันวาคม พ.ศ. 2529
เมื่อพิจารณาคําที่มีความหมายใกลเคียงกันนั้นก็จะพบวาคําวา “ชาติ” นั้น ใกลเคียงกับคําวา

“ประเทศ” หรือคําวา “รัฐ” อยูไมนอย คือ หมายถึง ชุมนุมแหงมนุษยซึ่งตั้งอยูในดินแดนที่มีอาณาเขต
แนนอน มีอํานาจอธิปไตยที่จะใชไดอยางอิสระ และมีการปกครองอยางเปนระเบยบเพื่อประโยชน

ของบรรดามนุษยที่อยูรวมกัน
1.1.2 ความเปนมาของชนชาติไทย

เปนสิ่งที่ตองทําความเขาใจกอนที่เกี่ยวของกับความเปนมาของชนชาติไทยนั้น




ี่
ยงไมมการสรุปเปนประเด็นทสามารถยนยนไดชัดเจน เพราะการพิจารณาความเปนมาของ




ชนชาติไทยนั้น ตองพิจารณาจากหลักฐานหรืองานวิจัย การคนควาทางวชาการที่หลากหลายจาก


นักวชาการไทยและตางประเทศ อกทั้งยงตองพิจารณามติทางเอกสาร โบราณคดี เชื้อชาติหรือ


ชาติพันธุ ภาษา และวัฒนธรรม ดังนี้
ี่
1) สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ขอมูลทปรากฏ
ในพระนิพนธเรื่อง “แสดงบรรยายพงศาวดารสยาม และลักษณะการปกครองสยามแตโบราณ”
เปนการนําขอมูลของนักวิชาการตะวันตกมาประกอบ สรุปวาถิ่นดั้งเดิมของชนชาติไทยอยูทางตอนใต
ของจีน แถบมณฑลยูนนาน กวางโจว กวางสี จนกระทั่งจีนแผอิทธิพลทางการปกครองลงมา จนทาให 

ผูคนในบริเวณนั้นตองอพยพลงมาถึงบริเวณลุมแมน้ําเจาพระยาตอนบน
ี่

2) หลวงวิจิตรวาทการ ขอมลทเสนอผานผลงานเรื่อง “งานคนควาเรื่อง


ชนชาติไทย” ไดอธบายวาถิ่นเดิมของชนชาติไทยอยบริเวณตอนกลางของจีนแถบมณฑลเสฉวน
ู

ตั้งถิ่นฐานกระจัดกระจายตั้งแตแนวแมน้ําพรหมบุตรไปจนถึงทะเลจีนใตแถบอาวตังเกี๋ย
3) ขอมูลของจิตร ภูมิศักดิ์ ผานผลงานเรื่อง “ความเปนมาของคําสยามไทย

ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ” ไดศึกษาผานการวิเคราะหภาษา และตํานาน
ทองถิ่นของภาคเหนือ ไดสรุปวา ถิ่นกําเนิดของคนไทยนั้นครอบคลุมบริเวณกวางใหญทางตอนใต
ของจีน เวียดนาม ลาว เขมร ภาคเหนือของไทย พมา ไปจนถึงรัฐอัสสัมของอินเดีย เนื่องจากมีพื้นฐาน

ทางนิรุกติศาสตรที่คลายคลึงกัน

6

4) ขอมูลของศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ ณ นคร นักวชาการคนสําคัญของ



ั้


ประเทศไทย ทานไดศึกษาวเคราะหจากหลักฐานของชาวตะวนตกทงทางดานภาษาศาสตร

ประวัติศาสตร โบราณคดี และมานุษยวิทยา รวมไปถึงการลงพื้นที่ดวยตนเอง ไดสรุปไววา ถิ่นเดิม
ี่
ของคนไทยนาจะอยูบริเวณมณฑลกวางสี ทางใตของจีน เนื่องจากในเขตดังกลาวเปนพื้นทกลุมชน

ที่มีความหลากหลายทั้งทางวัฒนธรรมและประเพณี
ขอมูลประวัติความเปนมาสวนใหญจะอธิบายใกลเคียงกัน ในลักษณะของการอพยพ
ลงใตจากจีน แลวแผขยายลงหลักปกฐานอยูในบริเวณกวางทางภาคเหนือของไทยเกิดเปนเมืองและ


ี่
เมืองขนาดใหญที่ขยายตัวเปนอาณาจักรตามมา กลาวอกนัยหนึ่ง ตั้งแตทสมยไทยอพยพลงมานั้น
ี่

ดินแดนแหลมทองเปนทอยของชนชาติมอญ ละวาของขอม พวกมอญอยทางตะวนตกของ
ู


ู

ลุมแมน้ําเจาพระยาไปจรดมหาสมุทรอินเดีย พวกละวามอาณาเขตอยในบริเวณภาคกลาง มเมอง
ู




นครปฐมเปนเมืองสําคัญพอถึงพุทธศตวรรษที่ 14 ขอมซึ่งอยูทางตะวนออกมอํานาจมากขึ้นเขายด

เอาดินแดนพวกละวาไปไวในอํานาจ แลวแบงการปกครองเปน 2 สวน คือ สวนภาคเหนือ และสวน


ี่

ี่
ภาคใต ตอมาในพุทธศตวรรษท 16 สมดุลอานาจในการแยงชิงพื้นทไดเปลี่ยนแปลงไป มอญกบ



ขอมสูรบกนจนเสื่อมอํานาจลง และในชวงเวลานั้นสุโขทยไดปรากฏขึ้นมาอยางชัดเจนในหนา
ประวัติศาสตรไทย



จากรองรอยหลักฐานทางเอกสารทางประวติศาสตรตาง ๆ มการยนยันและเชื่อวา
ประวัติศาสตรของชนชาติไทยในแหลมทอง (Golden Khersonese) เริ่มตนเมื่อประมาณ พ.ศ. 800

(พุทธศตวรรษที่ 8 - 12) เปนตนมา โดยมีดินแดนของอาณาจักรและแควนตาง ๆ เชน อาณาจักร
ฟูนัน ตั้งอยูบริเวณทางทิศตะวันตกและชายทะเลของอาวไทย และมีอาณาจักรหริภุญชัยทางเหนือ

อาณาจักรศรีวิชัยทางใต และมีอาณาจักรทวารวดี (พุทธศตวรรษท 12) บริเวณลุมแมน้ําเจาพระยา
ี่


ตอนลาง เปนตน และไดรวมตัวเปนปกแผน มีพระมหากษัตริยไดสถาปนาอาณาจักรสุโขทยเปนราชธานี

แหงแรกของชนชาติไทย ราวป พ.ศ. 1762 โดยพอขุนศรีนาวนําถม พระราชบดาของพอขุนผาเมอง


เปนผูปกครองอาณาจักรจากหลักฐานและขอมูลขางตนนี้ รวมถึงสมมติฐานของแหลงอารยธรรมตาง ๆ
ของโลก ซึ่งสวนใหญแหลงกําเนิดของชนชาติกลุมในอดีตจะอยูบริเวณลุมแมน้ํา อาทิ แหลงอารยธรรม

เมโสโปเตเมีย ตั้งอยูบริเวณที่ราบลุมระหวางแมน้ําไทกริส (Tigris) ทางตะวันออก และแมน้ํายเฟรติส
(Euphrates) ทางตะวันตกหรืออารยธรรมอินเดียโบราณหรืออารยธรรมลุมแมน้ําสินธุ ตั้งอยูบริเวณ

ี่


ี่


ลุมแมน้ํา เปนตน ดังนั้น จึงมความเปนไปไดทชนกลุมตาง ๆ ทเคยอาศัยในลุมแมน้ําเจาพระยา




หรือบริเวณรอบอาวไทย มการรวมตัวกนเปนปกแผน มีการพัฒนาเปนชุมชน สังคม และเมอง



จนกลายมาเปนอาณาจักรตาง ๆ ของชนชาติไทยตามพงศาวดาร

7

1.1.3 การรวมไทยเปนปกแผน
ภายหลังการลมสลายของอาณาจักรอยุธยา ใน พ.ศ. 2310 สมเด็จพระเจา


กรุงธนบรีไดพยายามกอบกเอกราชและศักดิ์ศรีของอาณาจักรกลับคืนมา หลังจากการสถาปนา
ู




อาณาจักรธนบรีขึ้น ตองเผชิญกบสงครามภายนอกจากกองทพพมา และสงครามภายใน คือ
การปราบชุมนุมที่แยงชิงความเปนใหญแตกกันเปนกกเปนเหลา ชวงเวลาผานไปจนถึง พ.ศ. 2325
อาณาจักรรัตนโกสินทรเปนแผนดินไทยทพอจะเรียกไดวา “เปนปกแผน” ขึ้นมาบาง ถึงแมวาใน



ี่






เวลาตอมาจะเกิดสงครามเกาทัพที่เปนศึกใหญในสมัยรัตนโกสินทร แตก็ถือวาเปนชวงแหงสันติสุข
มาไดยาวนาน
ความเปนปกแผนของความมั่นคงของสยามเดนชัดมากขึ้นในสมัยจอมพล ป.

พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี มีการเปลี่ยนชื่อประเทศจากสยาม เปน “ไทย” กลาวอีกนัยหนึ่ง
ั้
“การสรางชาติ” ไดเกิดขึ้นอยางสมบูรณในยุคสมัยนี้ คือ มครบทงอาณาเขต ดินแดน ประชากร อานาจ



อธปไตย รัฐบาล ไปจนถึงสัญลักษณของชาติทแสดงถึงเอกลักษณวัฒนธรรมไทย เชน ภาษาไทย และ
ี่
ธงชาติไทย เปนสิ่งสําคัญที่ผูคนในยุคปจจุบันจะตองอนุรักษหวงแหนใหสามารถดํารงสืบไปในอนาคต
แหลงกําเนิดของชนชาติไทย จะอพยพมาจากทใด จะมการพิสูจนหรือไดรับ

ี่


ี่

การยอมรับหรือไม คงไมใชประเด็นสําคัญทจะตองพิสูจนหาความจริง คงปลอยใหเปนเรื่องของ

ู

นักประวติศาสตรหรือนักวชาการ แตความสําคัญอยที่ลูกหลานคนไทยทกคนทอาศัยอยูบนพื้น

ี่


แผนดินไทย ตองไดเรียนรูและตองยอมรับวา การรวมชนชาติไทยใหเปนปกแผน และอยสุขสบาย
ู

จนถึงปจจุบนนี้ คนไทยและลูกหลานไทยทกคนตองตระหนักถึงบญคุณของบรรพบรุษไทยและ





พระปรีชาสามารถของบูรพมหากษัตริยไทยในอดีตที่สามารถรวบรวมชนชาวไทย ปกปองรักษา
ี่

เอกราชและรวบรวมชาติไทยใหเปนปกแผน จึงเปนพระราชกรณียกจทสําคัญของพระมหากษัตริยไทย


ในอดีต ซึ่งหากจะยอนรอยไปศึกษาพงศาวดารฉบบตาง ๆ รวมถึงประวัติศาสตรชาติไทย ตั้งแต

ยุคกอนการสถาปนากรุงสุโขทัย ใหเปนราชธานีแหงแรกของชนชาวไทยแลว การสถาปนาราชธานี
ทุกยุคทุกสมัยไมวาจะเปนการสถาปนากรุงศรีอยธยา กรุงธนบุรี กรุงรัตนโกสินทร รวมไปถึงการกอบก ู


ั้


เอกราชหลังจากการเสียกรุงศรีอยธยาทง 2 ครั้ง ลวนเปนวรกรรมและบทบาทอนสําคัญของ


พระมหากษัตริยไทยทั้งสิ้น
1.1.4 พระมหากษัตริยไทยกับการรวมชาติ

การรวมชาติไทยใหเปนปกแผน เปนบทบาททสําคัญของพระมหากษัตริยไทย
ี่


ในอดีต หากรัฐใดแควนใด ไมมีผูนําหรือพระมหากษัตริยที่เขมแข็ง มีพระปรีชาสามารถทั้งดานการรบ

การปกครองรวมถึงดานการคา เศรษฐกจการคลัง รัฐนั้นหรือแควนนั้น ยอมมการเสื่อมอานาจลง


และถูกยึดครองไปเปนเมืองขึ้นหรือประเทศราชภายใตการปกครองของชนชาติอื่น การถูกยึดครอง
ื่


หรือไปเปนเมองขึ้นภายใตการปกครองของอาณาจักรอนในอดีต สามารถทาไดหลายกรณี อาทิ

8

การยอมสิโรราบโดยดี โดยการเจริญไมตรีและสงบรรณาการถวาย โดยไมมีศึกสงครามและการเสีย

เลือดเนื้อ สถาบันพระมหากษัตริย ไดมีบทบาทสําคัญในการรวมชาติใหเปนปกแผน รวมถึงการปกปอง

ู
ประเทศชาติและมาตุภูมิสืบไวใหลูกหลานไทยไดมีแผนดินอย ซึ่งหากชนชาติไทยในอดีต ไมมผูนําหรือ
ู


ี่
กษัตริยที่มีพระปรีชาสามารถ ในวันนี้อาจไมมชาติไทยหลงเหลืออยในแผนทโลก หรือชนชาติไทย
อาจตองตกไปอยูภายใตการปกครองของชาติใดชาติหนึ่ง
บทบาทของพระมหากษัตริยไทยในการรวมชาติ
บทบาทของพระมหากษัตริยไทยในการรวมชาติ ในสมยรัชกาลท 1 ถึง รัชกาลท 3
ี่
ี่

ั่
หรือในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนนั้น ความเปนปกแผนมนคงของอาณาจักรเกิดขึ้นจากการปรับปรุง




การปกครอง ประมวลกฎหมายการบูรณปฏิสังขรณวัดวาอาราม ทานุบํารุงพระพุทธศาสนา เกดเปน


ยคทองของการฟนฟูวรรณคดี นาฏศิลป ดนตรีไทย การคาและความสัมพันธระหวางประเทศ


มีความเจริญรุงเรืองโดยเฉพาะกับจีน เกิดเปน “เงินถุงแดง” ที่นํามาใชในชวงวิกฤตของประเทศ


ภายหลังความพายแพของอาณาจักรพมา และราชวงศชิงของจีนในการทาศึกกบ
อังกฤษ พระมหากษัตริยไทยในชวงเวลานั้นไดตระหนักถึงภัยของ “ลัทธิลาอาณานิคม” เปนอยางดี
และทรงตระหนักวาสยามนี้ตองมีการปรับตัวและพัฒนาตนเองใหรอดพนจากภัยรายจากการคุกคาม

ื่


ี่

ของชาติตะวันตกทเดนชัดเริ่มตนเมออังกฤษเขามาขอทาสนธสัญญาเบาวริงกับสยาม ในสมย
รัชกาลที่ 4 ตอมาเกิดวิกฤต ร.ศ. 112 ในสมัยรัชกาลที่ 5 พระเจานโปเลียนที่ 3 แหง ฝรั่งเศสนําเรือปน
เขามาถึงแมน้ําเจาพระยาใกลพระบรมมหาราชวัง บีบบังคับใหสยามยกดินแดนฝงซายของแมน้ําโขง

ใหอยูใตอาณัติของฝรั่งเศส พรอมทั้ง เรียกรองคาเสียหายดวยจํานวนเงินกวา 2 ลานฟรังก เปนอีกครั้ง
ที่อิสรภาพของสยามอยูในจุดที่อาจตกเปนเมืองขึ้นหรืออาณานิคมของมหาอํานาจตะวันตก
ในชวงเวลาดังกลาวแมวาจะมภัยรอบดาน อริราชศัตรูเกาอยางพมา หรือญวน







ี่



พายแพแกชาติตะวันตกไปแลว ถึงกระนั้นสยามกลับมความเปน “ปกแผน” อยางทไมเคยมมากอน

ผานการเปน “สมบูรณาญาสิทธิราชย” ของพระมหากษัตริยโดยเฉพาะในสมัยรัชกาลที่ 5 ที่อํานาจ

ของกษัตริยชวยดลบันดาลใหเกดความผาสุกของราษฎร เกิดเปนการ “เลิกระบบไพรทาส”

ในสมัยรัชกาลที่ 6 ความเปนชาติไดเดนชัดขึ้น ชื่อของประเทศสยามไดรับการยอมรับ
ี่



วาทดเทยมกบหลายชาติตะวนตก เมอทรงสงทหารอาสาชาวสยามเขารวมสงครามโลก ครั้งท 1


ื่


ในภาคพื้นยโรป สถาบนหลักของประเทศ คือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย กเกดขึ้นในสมัยนี้


สัญลักษณของชาติ เชน ธงไตรรงคก็เกิดขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของชาติสยามในโอกาสตาง ๆ

9

การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ทเปลี่ยนระบอบการปกครองของสยาม
ี่








จากสมบรณาญาสิทธราชยมาเปนระบอบประชาธปไตยอนมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมข
เปนเหตุการณสําคัญของประวัติศาสตรไทย รัชกาลที่ 7 ทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับแรกของ
สยามตามคํารองขอของคณะราษฎร
หลังสมัยรัชกาลที่ 7 จนถึงปจจุบัน บทบาทของพระมหากษัตริยไทยถึงแมวาจะถูก


เปลี่ยนแปลงไปตามที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญ ก็ยังทรงมีบทบาทในการเปนศูนยกลางการยึดเหนี่ยว
จิตใจใหกับปวงชนชาวไทย ผานพระราชกรณียกิจในการยกระดับคุณภาพชีวิตของราษฎร “การรวมชาติ”





ในบริบทปจจุบนจึงไมใชความมั่งคงของดินแดนอกตอไป แตเปน “ศูนยรวมจิตใจของปวงชน”

ที่พระมหากษัตริยไทยทรงเปนเสมอมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน

1.2 ศาสนา
ศาสนา เปนลัทธิความเชื่อของมนุษย เกี่ยวกับการกําเนิดและสิ้นสุดของโลก หลักศีลธรรม
ตลอดจนลัทธพิธีทกระทาตามความเชื่อนั้น ๆ จะเหนไดวาแตละประเทศนั้นจะยึดคําสั่งสอนของ
ี่



ศาสนาเปนหลักในการปกครองประเทศ และมีการกําหนดศาสนาเปนศาสนาประจําชาติ นอกจาก



ศาสนาจะมีอิทธิพลตอการปกครองของประเทศแลวยังมอทธพลตอวัฒนธรรมของแตละประเทศ




เชน ประเทศไทยมีการหลอพระพุทธรูปเปนงานศิลปะ วฒนธรรมการไหว การเผาศพ วฒนธรรม
เหลานี้ไดรับอิทธิพลมาจากศาสนาเหมือนกัน ดังนั้น ศาสนาจึงเปนสถาบันที่สําคัญตอประเทศมาก
1.2.1 ศาสนาพุทธ

ศาสนาพุทธ ไดเผยแผเขามาในดินแดนประเทศไทยเปนครั้งแรก โดยพระเถระ
ชาวอินเดีย เมอประมาณ พ.ศ. 236 โดยการอปถัมภของพระเจาอโศกมหาราช แหงอนเดีย

ื่




ี่
ู
ซึ่งในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยในดินแดนทเรียกวา สุวรรณภูมิ มอาณาเขตกวางขวาง มหลาย



ประเทศรวมกันในดินแดนสวนนี้ มีจํานวน 7 ประเทศ ไดแก ประเทศไทย พมา ศรีลังกา ญวน กมพูชา
ลาว และมาเลเซีย ซึ่งพระพุทธศาสนาทเขามาในครั้งนั้น เปนนิกายหนยานหรือเถรวาทแบบดั้งเดิม


ี่
มีพุทธศาสนิกชนเลื่อมใสศรัทธาไดบวชเปนพระภิกษุเปนจํานวนมาก และไดสรางวัด สถูปเจดียไว 


สักการะบูชา ตอมาภายหลัง กษัตริยในสมัยศรีวิชัยทรงนับถือพระพุทธศาสนาแบบมหายาน จึงทาให 

ศาสนาพุทธนิกายมหายานเผยแผเขามาสูดินแดนประเทศไทยทางตอนใต ซึ่งไดมการรับ


ี่
ั้

พระพุทธศาสนาทงแบบเถระวาท แบบมหายาน และศาสนาพราหมณทเขามาใหม จึงทาให 
ั้
ประเทศไทยมผูนับถือพระพุทธศาสนาทั้ง 2 แบบ มีพระสงฆทง 2 ฝาย ไดแก นิกายเถรวาท และ

มหายาน

10

จากพงศาวดารและหลักฐานทางประวัติศาสตร พระพุทธศาสนา เปนศาสนาท ี่

สังคมไทยสวนใหญนับถือมาตั้งแตในอดีต และสืบทอดกันมาเปนชานาน ดังนั้น พระพุทธศาสนาจึง






มบทบาทสําคัญของวถีชีวตคนไทย รวมถึงวฒนธรรมและประเพณี จนประเทศไทยไดชื่อวาเปน



ศูนยกลางของพระพุทธศาสนาของโลกโดยมี “พุทธมณฑล” เปนศูนยกลางแหงพุทธศาสนาโลก
ตามมติของการประชุมองคการสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 20 พ.ค. 2548
ในสมัยรัตนโกสินทร พระมหากษัตริยทกพระองคทรงมพระมหากรุณาธคุณ




ตอสถาบันศาสนา มาเปนลําดับ อาท ิ
เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2489 รัชกาลที่ 9 เสด็จขึ้นครองราชย พระองคไดทรง
แสดงพระองคเปนพุทธมามกะตอหนาสังฆมณฑล ณ พระอโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยม ี

สมเด็จพระสังฆราชเปนประธาน
ี่

ี่

ื่
เมอวนท 22 ตุลาคม พ.ศ. 2494 รัชกาลท 9 ทรงปฏิบติตามโบราณราชประเพณี
ดวยการเสด็จทรงออกผนวช ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระองคทรงรับการบรรพชา
เปนพระภิกษุในพุทธศาสนา ไดรับสมณนามจากพระอุปชฌายจารวา “ภูมิพโลภิกขุ” จากนั้นเสด็จ
ประทับ ณ พระตําหนักปนหยา วัดบวรนิเวศ โดยพระองคทรงปฏิบัติพระธรรมวินัย ตามแบบอยาง

พระภิกษุโดยเครงครัด

ื่
รัชกาลที่ 9 ทรงอุปสมบทนาคหลวงมาตลอด โดยเริ่มปแรกเมอวนท 6 กรกฎาคม
ี่

พ.ศ. 2489 ไดเสด็จฯ พระราชดําเนินไปในพระราชพิธทรงบาเพ็ญพระราชกศล ณ พระอโบสถ




วัดพระศรีรัตนศาสดาราม มีหมอมเจาสุนทรากร วรวรรณ หมอมเจาอาชวดิศดิศกุล หมอมราชวงศ
ยันตเทพ เทวกุล และ นายเสมอ จิตรพันธ เปนนาคหลวง
นอกจากนั้นรัชกาลที่ 9 ยังเสด็จฯ พระราชดําเนินไปในงานพิธีทางศาสนา ที่ประชาชน


ั้

และทางราชการจัดขึ้นในทตาง ๆ มไดขาด อกทงยงทรงสรางพระพุทธรูปขึ้น ในโอกาสสําคัญเปน
ี่

จํานวนมาก
ี่
หลังจากที่รัชกาลที่ 10 ไดทรงขึ้นครองราชยเปนพระมหากษัตริยลําดับท 10 แหง




ราชวงศจักรี พระองคทรงเสด็จพระราชดําเนินไปปฏิบติพระราชกจทางพระพุทธศาสนาอยาง


สม่ําเสมอ เชน เสด็จพระราชดําเนินเปลี่ยนเครื่องทรงพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ณ วัดพระศรี


รัตนศาสดาราม ตามฤดูกาล เสด็จพระราชดําเนินไปทรงบาเพ็ญพระราชกศลในวันสําคัญทาง

พระพุทธศาสนา เชน วันวิสาขบชา วันอาสาฬหบูชา วันเขาพรรษา และการถวายผาพระกฐินหลวง
ตามวัดตาง ๆ เปนตน

11

1.2.2 ศาสนาคริสต
ศาสนาคริสตเปนศาสนาที่พัฒนาหรือปฏิรูปมาจากศาสนายูดาห ซึ่งมีประวัติศาสตร





มาตั้งแตประมาณ 2,000 ป กอนคริสตกาล ชนเผาหนึ่งเปนบรรพบรุษของชาวยว ตั้งถิ่นฐานอยู







ณ ดินแดนเมโสโปเตเมย มหวหนาเผาชื่อ “อับราฮัม” (อบราฮม เปนศาสดาของศาสนายูดาห)



ี่
ไดอางตนวา ไดรับโองการจากพระเจาใหอพยพชนเผาไปอยูในดินแดนทเรียกวา แผนดินคานาอน

(บริเวณประเทศอิสราเอลในปจจุบัน) โดยอับราฮัมกลาววา พระเจากาหนดและสัญญาใหชนเผานี้



เปนชนชาติที่ยิ่งใหญตอไป การที่พระเจาสัญญาจึงกอใหเกิดพันธสัญญาระหวางพระเจากบชนชาวยิว
ดังนั้น ในเวลาตอมาจึงเรียกคัมภีรของศาสนายูดาหและศาสนาคริสตวา “พันธสัญญา”
ศาสนาคริสตเขามาในประเทศไทยยุคเดียวกับการลาอาณานิคมของลัทธจักรวรรดินิยม


ี่


ิ่
โดยเฉพาะอยางยงชาวโปรตุเกส ชาวสเปน และชาวดัตช ทกําลังบกเบิกเอเชียตะวนออกเฉียงใต
ซึ่งนอกจากกลุมที่มีจุดประสงค คือ ลาเมืองขึ้นและเผยแพรศาสนาพรอมกัน เชน จักรวรรดิอาณานิคม



ฝรั่งเศส มาไดเมืองขึ้นในอนโดจีน เชน ประเทศเวยดนาม กมพูชา ลาว โดยลักษณะเดียวกบ

โปรตุเกสและสเปน ในขณะที่ประเทศไทยรอดพนจากการเปนเมืองขึ้น สวนหนึ่งอาจเพราะการเปดเสรี
ในการเผยแพรศาสนา ทําใหลดความรุนแรงทางการเมืองลง ศาสนาคริสตที่เผยแพรในไทยเปนครั้งแรก

เปนนิกายโรมันคาทอลิก ปรากฏหลักฐานวาในป พ.ศ. 2110 (ค.ศ. 1567) มีมิชชันนารี คณะดอมินิกน


2 คน เขาสอนศาสนาใหชาวโปรตุเกส รวมถึงชาวพื้นเมืองที่เปนภรรยา
ศาสนาคริสตไดรับพระราชทานพระบรมราชูปถัมภเชนเดียวกบศาสนาอื่น โดย

รัชกาลที่ 9 ทรงอุดหนุนกิจการของศาสนาคริสตตามวาระโอกาสตาง ๆ อยูเสมอ สามารถสรางโรงเรียน

โรงพยาบาล โบสถและประกอบศาสนกจไดทวทุกภาคของประเทศ ไดเสด็จพระราชดําเนินไปใน
ั่
งานพิธีสําคัญ ๆ ของศาสนาคริสตเปนประจํา ที่สําคัญทสุด คือ เสด็จพระราชดําเนินเยือนนครรัฐ
ี่
วาติกัน เมื่อครั้งเสด็จพระราชดําเนินเยือนทวีปยุโรปเมื่อ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2503 เพื่อกระชับพระราชไมตรี
ระหวางประเทศไทยกับคริสตจักร ณ กรุงวาติกัน
เมื่อพระสันตะปาปา จอหน ปอล ที่ 2 ประมุขแหงคริสตจักรโรมันคาธอลิก เสด็จเยือน
ประเทศไทยอยางเปนทางการในฐานะพระราชอาคันตุกะ เมื่อวันท 10 - 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2527
ี่
ครั้งนั้นนับวาเปนกรณีพิเศษอยางยิ่ง เพราะไมเคยปรากฏมากอนวาประมุขคริสตจักรโรมันคาทอลิก
จะเสด็จมาเยือนประเทศไทยเชนนี้ ไดเสด็จออกทรงรับ ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาทอยางสมพระเกียรติ
สําหรับรัชกาลที่ 10 พระองคเสด็จพระราชดําเนินแทนพระบาทสมเด็จพระปรมินทร-
มหาภูมิพลอดุลยเดช ไปเปนองคประธานในพิธีเปด อาคารคริสตจักร ใจสมาน เมื่อวันที่ 30 เมษายน
พ.ศ. 2522 เสด็จพระราชดําเนินแทนพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ไปรับเสด็จ

พระสันตะปาปา จอหน ปอล ที่ 2 ในโอกาสเสด็จเยือนประเทศไทยอยางเปนทางการ ณ ทาอากาศยาน
กองบัญชาการกองทัพอากาศ

12

1.2.3 ศาสนาอิสลาม



ศาสนาอิสลาม เขามาเผยแพรในประเทศไทยตั้งแตยคสมยสุโขทย และชวง

ี่

กรุงศรีอยธยาเรื่อยมา โดยกลุมพอคาชาวมสลิมในคาบสมุทรเปอรเซียทเขามาคาขายในแหลม
มลายู (อินโดนีเซียและมาเลเซีย) ไดนําศาสนาอสลามเขามา ภายหลังคนพื้นเมองจึงไดเปลี่ยนมา


นับถือศาสนาอิสลาม และบางคนเปนถึงขุนนางในราชสํานัก ในชวงตนกรุงรัตนโกสินทรมีชาวมสลิม


อพยพมาจากมลายูและเปลี่ยนสัญชาติเปนไทย นอกจากนี้ยงมีชาวมุสลิมอนเดียที่เขามาตั้งรกราก

รวมถึงชาวมุสลิมยูนนานทหนีภัยการเบยดเบยนศาสนาหลังการปฏิวติคอมมวนิสตในประเทศจีน

ี่





ศาสนาอสลามในประเทศไทย จึงเติบโตอยางรวดเร็ว โดยสถิติระบวาประชากรมสลิมมจํานวน



ประมาณ 2.2 ลานคน ถึง 7.4 ลานคน
ี่
กอนป พ.ศ. 2505 กงศุลแหงประเทศซาอุดิอาระเบีย ไดเขาเฝารัชกาลท 9 เพื่อถวาย
คัมภีรอัลกุรอาน ฉบับที่มีความหมายเปนภาษาอังกฤษ โดยรัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราชดําริวา ควรจะม ี
คัมภีรอัลกรอานฉบบความหมายภาษาไทย ใหปรากฏเปนศรีสงาแกประเทศชาติ เมื่อนายตวน








สุวรรณศาสน จุฬาราชมนตรีในสมยนั้น เปนผูนําผูแทนองคการสมาคม และกรรมการอสลาม
เขาเฝาถวายพระพรในนามของชาวไทยมุสลิมในวนเฉลิมพระชนมพรรษาปนั้น รัชกาลท 9 ทรงม ี
ี่

พระกระแสรับสั่งใหจุฬาราชมนตรี แปลความหมายของพระมหาคัมภีรอัลกรอานจากคัมภีร

ฉบบภาษาอาหรับโดยตรง สิ่งนี้เปนพระมหากรุณาธิคุณททรงมตอศาสนาอสลาม และทรงเปน


ี่



องคอัครศาสนูปถัมภกอยางแทจริง
ี่

ี่
ในชวงเวลาทจุฬาราชมนตรีแปลพระมหาคัมภีรถวาย ทกครั้งทเขาเฝา รัชกาลท 9
ี่
จะทรงแสดงความหวงใยตรัสถามถึงความคืบหนา อุปสรรค ปญหาที่เกิดขึ้น และทรงมพระราชประสงค

ทจะใหพิมพเผยแพร ในป พ.ศ. 2511 อนเปนปครบ 14 ศตวรรษแหงอลกรอาน ประเทศมสลิม


ี่







ทุกประเทศตางก็จัดงานเฉลิมฉลองกันอยางสมเกียรติ ประเทศไทยแมจะไมใชประเทศมสลิม แตไดม ี

ี่

ื่

การจัดงานเฉลิมฉลอง 14 ศตวรรษแหงอัลกุรอานขึ้น ณ สนามกีฬากิตติขจร เมอวนท 16 มนาคม
พ.ศ. 2511 เปนวันเดียวกันกับการจัดงานเมาลิดกลาง ในปนั้นพระบาทสมเด็จพระปรมนทรมหาภูมิพล


อดุลยเดช พรอมดวยสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถเสด็จเปนองคประธานในพิธี และ
ี่


ในวันนั้นเปนวันเริ่มแรกทพระมหาคัมภีรอัลกรอาน ฉบับความหมายภาษาไทย ไดพิมพถวาย
ตามพระราชดําริและไดพระราชทานแกมัสยิดตาง ๆ ทั่วประเทศ โดนเนนย้ํา ดังนี้

13

1. การแปลพระคัมภีรอัลกรุอานเปนภาษาไทย ขอใหแปลอยางถูกตอง
2. ขอใหใชสํานวนเปนภาษาไทยที่สามัญชนทั่วไปอานเขาใจได




นอกจากนี้ในงานไดมีการพระราชทานรางวลโลเกียรติคุณ และเงนรางวัลแกผูนํา
ศาสนาอิสลามประจํามัสยิดตาง ๆ และทรงมีพระราชดําริใหมีการสนับสนุนการจัดสรางมัสยิดกลาง
ประจําจังหวัดขึ้น โดยใหรัฐบาลจัดสรรงบประมาณแผนดินสําหรับจัดสราง ขณะนี้ไดสรางเสร็จ


เรียบรอยแลวใน 4 จังหวัดภาคใต ซึ่งรัชกาลท 9 ทรงเสด็จพระราชดําเนินไปเปนองคประธานในพิธ ี
ี่
ดวยพระองคเอง

รัชกาลที่ 10 หรือ “สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณ สยามมกฎราชกุมาร”
ในขณะนั้นไดทรงเคยปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ทั้งเสด็จพระราชดําเนินในฐานะผูแทนพระองค และในฐานะ
ของพระองคเอง ไดแก ทรงเปนผูแทนพระองคเปดงานเมาลิดกลางแหงประเทศไทย เสด็จพระราชดําเนิน



เยือนมัสยิดกลางจังหวัดปตตานี เพื่อพระราชทานถวยรางวลการทดสอบการอญเชิญพระมหาคัมภีร



ี่
อลกรอาน และโดยเสด็จรัชกาลท 9 ไปจังหวัดนราธวาส และพระราชทานพระคัมภีรอัลกรอาน

และคําแปลเปนภาษาไทยแกคณะกรรมการอิสลาม
1.2.4 ศาสนาซิกข 






ชาวซิกขสวนมากยดอาชีพคาขายอสระ บางกแยกยายถิ่นฐานทํามาหากนไปอย ู
ตางประเทศบาง และเดินทางไปมาระหวางประเทศ ในบรรดาชาวซิกขดังกลาว มพอคาชาวซิกข


ผูหนึ่งชื่อ นายกรปาราม มาคาน ไดเดินทางไปประเทศอัฟกานิสถาน เพื่อหาซื้อสินคาแลวนําไป


ื่
ู

ุ



ี่
จําหนายยงบานเกด สินคาทซื้อครั้งหนึ่ง มมาพันธดีรวมอยดวยหนึ่งตัว เมอขายสินคาหมดแลว
ไดเดินทางมาแวะที่ประเทศสยาม โดยนํามาตัวดังกลาวมาดวย และมาอาศัยอยูในพระบรมโพธิสมภาร



ของพระมหากษัตริยสยาม ไดรับความอบอนใจเปนอยางยง ดังนั้น เมื่อเขามโอกาสเขาเฝา
ิ่

ุ


พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยหว (รัชกาลที่ 5) เขาจึงไดกราบบงคมทลนอมเกลาฯ

ู

ถวายมาตัวโปรดของเขาแดพระองค ดวยความสํานึกในพระมหากรุณาธคุณ พระบาทสมเด็จ


พระจุลจอมเกลาเจาอยูหว จึงเหนในความจงรักภักดีของเขา พระองคจึงไดพระราชทานชาง

ใหเขาหนึ่งเชือก ตลอดจนขาวของเครื่องใชที่จําเปนในระหวางเดินทางกลับอินเดีย
เมอเขาเดินทางกลับมาถึงอนเดียแลวเหนวา ของทเขาไดรับพระราชทานมานั้น

ื่

ี่
สูงคาอยางยิ่งควรที่จะเก็บรักษาใหสมพระเกียรติยศแหงพระเจากรุงสยาม จึงไดนําชางเชือกนั้นไปถวาย
ั้


พระราชาแหงแควนแคชเมยร พรอมทงเลาเรื่องทตนไดเดินทางไปประเทศสยาม ไดรับความสุข
ี่

ความสบายจากพี่นองประชาชนชาวสยาม ซึ่งมีพระเจาแผนดินปกครองดวยทศพิธราชธรรมเปนท ี่
ยกยองสรรเสริญของประชาชน ถวายการขนานนามของพระองควา พระปยมหาราช

14





พระราชาแหงแควนแคชเมยรไดฟงเรื่องราวแลวมความพอพระทยอยางยิ่ง






ทรงรับชางเชือกดังกลาวเอาไวแลวขึ้นระวางเปนราชพาหนะ พรอมกบมอบแกวแหวนเงนทอง






ใหนายกรปารามมาดาม เปนรางวัล จากนั้นไดเดินทางกลับบานเกิด ณ แควนปญจาป แตครั้งนี้


เขาไดรวบรวมเงินทอง พรอมทั้งชักชวนเพื่อน ใหไปตั้งถิ่นฐานอาศัยอยูใตรมพระบรมโพธสมภาร
พระเจากรุงสยามตลอดไป
รัชกาลที่ 9 เสด็จพระราชดําเนินทรงเปนองคประธานในงานฉลองครบรอบ 500 ป


แหงศาสนาซิกข ตามคําอัญเชิญของสมาคมศรีคุรุสิงหสภา โดยในป พ.ศ. 2550 มศาสนิกชน


ชาวซิกขอยูในประเทศไทยประมาณสามหมื่นคน ทุกคนตางมุงประกอบสัมมาอาชีพภายใตพระบรม
โพธิสมภารแหงพระมหากษัตริยไทย ดวยความมั่งคั่งสุขสงบทั้งกายและใจ โดยทั่วหนา
1.2.5 ศาสนาพราหมณ - ฮินดู
ู
ศาสนาพราหมณ - ฮินดู ถือเปนอีกศาสนาหนึ่งที่มีความเกาแก และอยคูประเทศไทย
มาเปนระยะเวลายาวนาน เขาไปมีสวนในพิธีสําคัญ ๆ โดยเฉพาะพระราชพิธีตาง ๆ เชน พระราชพิธ ี
ี่
บรมราชาภิเษก ทเปนพระราชพิธสถาปนาพระมหากษัตริยขึ้นเปนสมมติเทพปกครองแผนดิน


เปนใหญในทิศทงแปด และเปนการประกาศใหประชาชนทราบโดยทวกน ตามคติพราหมณจะ
ั่


ั้
ประกอบพิธีอัญเชิญพระเปนเจา เพื่อทําการสถาปนาใหพระมหากษัตริยเปนสมมติเทพ ดํารงธรรม
สิบประการ ปกครองประเทศดวยความรมเย็นเปนสุข ดวยเหตุนี้พระมหากษัตริยทุกพระองคจึงทรง

มีพระมหากรุณาธิคุณในการสงเสริม และอุปถัมภกิจการของศาสนาพราหมณ - ฮนดูในประเทศไทย
ดวยดีเสมอมา

ี่
ในสมัยรัชกาลท 9 ทรงใหการสนับสนุนกจการตาง ๆ ของศาสนิกชนในศาสนา

ี่

พราหมณ - ฮนดู ทเขามาอยใตเบองพระบรมโพธสมภารในประเทศไทยอกดวย ดังเห็นไดจาก

ู
ื้


การเสด็จพระราชดําเนินไปทรงรวมกจกรรมที่จัดขึ้นโดยศาสนิกชนชาวอนเดียทนับถือศาสนา

ี่

พราหมณ - ฮินดู รวมทั้งการเสด็จพระราชดําเนินไปทรงวางศิลาฤกษและเปดศาสนสถานในศาสนา
พราหมณ - ฮินดู ที่สําคัญ เชน เมื่อวันท 11 มิถุนายน พ.ศ. 2512 พระองคและสมเด็จพระนางเจาสิริกติ์

ี่
พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนินจากพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ไปทรงเปนประธาน
ในการเปดอาคาร “เทพมณเฑียร” ณ สมาคมฮินดูสมาชถนนศิริพงษ แขวงเสาชิงชา กรุงเทพมหานคร
รัชกาลที่ 10 หรือ “สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร”
ในขณะนั้น ไดเคยเสด็จฯ แทนรัชกาลที่ 9 ไปทรงเจิมเทวรูปพระอิศวร พระอมา พระคเณศร พระนารายณ


พระพรหม และพระราชทานเงินใหแกหัวหนาคณะพราหมณ ผูเปนประธานในการประกอบพระราชพิธ ี
ตรียัมปวาย - ตรีปวาย ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต

15

1.3 พระมหากษัตริย
ประเทศไทยมีพระมหากษัตริยปกครองประเทศสืบเนื่องมากวา 700 ป ตั้งแตสมย




สุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร การปกครองโดยระบบกษัตริยเปนวฒนธรรมทไทยรับมา
ี่
จากอินเดีย พรอมกับการรับวัฒนธรรมความเชื่อทางศาสนา โดยไดผสมผสานแนวคิดหลัก 3 ประการ
ี่





เขาดวยกัน คือ แนวคิดในศาสนาพราหมณ - ฮนดู ทเชื่อวากษัตริยทรงเปนสมมติเทพ แนวคิดใน
พุทธศาสนาที่วา พระมหากษัตริยทรงมีสถานะเปรียบประดุจพระพุทธเจา ทรงเปนจักรพรรดิราช
หรือธรรมราชา ทกอปรดวยราชธรรมหลายประการ อาท ทศพิธราชธรรม และจักรวรรดิวัตร

ี่
12 ประการ แนวคิดทั้งสองประการดังกลาวนี้ อยูบนพื้นฐานของแนวคิดประการทสาม คือ การปกครอง
ี่
แบบพอปกครองลูก ดังปรากฏมาตั้งแตสมัยสุโขทัย ดวยเหตุนี้จึงทําใหการปกครองโดยระบบกษัตริย 
ของไทย มีความเปนเอกลักษณเฉพาะตัวแตกตางจากประเทศอื่น (มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี, 2554 : พระราชนิพนธคํานํา)

ตามอนุสัญญามอนเตวเดโอวาดวยสิทธและหนาที่ของรัฐ (The Montevideo


Convention on the Rights and Duties of State) ค.ศ. 1393 มาตรา 1 ไดกลาวถึงองคประกอบของรัฐ

เพื่อวัตถุประสงคในกฎหมายระหวางประเทศวา รัฐประกอบดวย ประชากรที่อยูรวมกันอยางถาวร

ดินแดนทกําหนดไดอยางแนชัด ความสามารถทสถาปนาความสัมพันธกบตางรัฐได (อานาจ
ี่
ี่


อธิปไตย) และมรัฐบาล ซึ่งในการปกครองประเทศไมวาจะเปนระบอบใดก็ตาม เพื่อใหการปกครอง


เปนไปดวยความสงบเรียบรอย จะตองมีผูนําเปนผูบริหารปกครองประเทศ โดยทผูนําหรือประมข
ี่


ั้

สูงสุดในการปกครองประเทศของนานาอารยประเทศนั้น จะมความแตกตางกนไป ทงนี้อาจขึ้นอยูกบ
ระบบการปกครอง ประเพณีนิยมและธรรมเนียมปฏิบัติที่สืบทอดกันมา หรือบางประเทศเกิดการเปลี่ยนแปลง


จากรูปแบบการปกครองของประเทศนั้น ๆ เชน มีพระมหากษัตริยเปนประมขสูงสุด หรือม ี


ประธานาธิบดีเปนผูปกครองประเทศหรือรัฐ สําหรับประเทศไทยเรานั้นมพระมหากษัตริยเปน

ประมุขสูงสุดในการปกครองประเทศมาตั้งแตอดีตกาล
ความหมายของคําวา พระมหากษัตริย 

พระมหากษัตริย คือ ประมุขหรือผูปกครองสูงสุดของประเทศ จะเหนไดวาประเทศไทย


ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันมีพระมหากษัตริยเปนประมขปกครองประเทศ อนเกดจากแนวความคิด



ที่วา แตเดิมมนุษยยังมีนอยดํารงชีพแบบเรียบงายอยูกับธรรมชาติ และเมื่อมนุษยขยายพันธุมากขึ้น
ธรรมชาติตาง ๆ เริ่มหมดไป เกิดการแกงแยงกันทํามาหากิน เกิดปญหาสังคมขึ้น จึงตองหาทางแกไข

คนในสังคมจึงคิดวาตองพิจารณาคัดเลือกใหบุคคลที่เหมาะสมและมความเฉลียวฉลาด ไดรับการแตงตั้ง



ี่

ใหเปนผูพิจารณาตัดสิน เมื่อเกิดกรณีปญหาตาง ๆ ซึ่งตองปฏิบติหนาทดวยความบริสุทธิ์ยติธรรม
ทําใหคนในสังคมพอใจ และยินดี ประชาชนทั้งหลายจึงเปลงอุทานวา “ระชะ” หรือ “รัชชะ” หรือ


ี่

ราชา แปลวา ผูเปนทพอใจประชาชนยนดี ตอมาเลยเรียกวา พระราชา ดวยเหตุทวาการกระทา


ี่

16

หนาที่ดังกลาวไมมเวลาไปประกอบอาชีพ ประชาชนทงหลายพากนบริจาคยกทดินให จึงเปนผูม ี
ี่

ั้



ที่ดินมากขึ้นตามลําดับ คนทั้งหลายจึงเรียกวา เขตตะ แปลวา ผูมทดินมาก และเขียนในรูปภาษา


ี่
สันสกฤษวา เกษตตะ หรือ เกษตร ในที่สุดเขียนเปนพระมหากษัตริย แปลวา ผูที่มีที่ดินมาก ดังนั้น


ี่

คําวา พระมหากษัตริย ความหมายโดยรวม กคือ ผูทยึดครอง หวงแหนและขยายผืนแผนดินไว 

ใหแกประชาชนหรืออาณาประชาราษฎร ทพระองคทรงเสียสละเลือดเนื้อและชีวตกอบกเอกราช
ี่
ู



บานเมองไวใหชนรุนหลัง อยางเชนประเทศไทยของเรานี้ ถาไมมพระมหากษัตริยทรงยึดถือ


ู

ครอบครองผืนแผนดินไทยไว คนไทยทกคนจะมผืนแผนดินไทยอยทกวันนี้ไดอยางไร อนึ่ง


พระมหากษัตริยในนานาอารยประเทศที่เปนประมุขของรัฐที่ไดรับตําแหนงโดยการสืบสันตติวงศนั้น
อาจจําแนกประเภทโดยอาศัยพระราชอํานาจ และพระราชสถานะเปน 3 ประการ คือ

1. พระมหากษัตริยในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย (Absolute Monarchy)

พระมหากษัตริยทรงเปนประมุขของรัฐ มีพระราชอํานาจและพระบรมเดชานุภาพเด็ดขาด และลนพน
แตพระองคเดียว และในอดีตประเทศไทยเคยใชอยูกอนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
2. พระมหากษัตริยในระบอบปรมตาญาสิทธิราชย (Limited Monarchy) คือ


พระมหากษัตริยทรงมีพระราชอํานาจทุกประการ เวนแตจะถูกจํากัดโดยบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
เชน ประเทศซาอุดิอาระเบีย เปนตน
3. พระมหากษัตริยภายใตรัฐธรรมนูญ (Constitutional Monarchy) คือ ในระบอบนี้

มีพระมหากษัตริยเปนประมุข แตในการใชพระราชอํานาจดานการปกครองนั้น ถูกโอนมาเปนของ



รัฐบาล พลเรือน และทหาร พระมหากษัตริยจึงทรงใชพระราชอานาจผานฝายนิติบญญัติ ฝาย
บริหาร และฝายตุลาการ พระองคมิไดใชพระราชอํานาจ แตมีองคกรหรือหนวยงานรับผิดชอบตาง ๆ
กันไป เชน ประเทศไทย อังกฤษ และญี่ปุนในปจจุบัน เปนตน
พระมหากษัตริยของไทย

หากนับยอนอดีตประวัติศาสตรไทยตั้งแตสมัยโบราณ คําวา ”กษัตริย” หรือนักรบ



ผูยิ่งใหญ ศึกษาไดจากในสมยกรุงสุโขทยมีการปกครองแบบพอปกครองลูก จะมความใกลชิดกบ

ประชาชนมาก เชน ในสมัยราชวงศพระรวง กษัตริยจะมพระนามขึ้นตนวา “พอขุน” เรียกวา





พอขุนศรีอินทราทิตย พอขุนรามคําแหง ในสมยกรุงศรีอยธยาไดรับคติพราหมณมาจากขอม

เรียกวา เทวราชา หรือ สมมติเทพ หมายถึง พระมหากษัตริยทรงเปนเทพมาอวตารเพื่อปกครอง




มวลมนุษย ทาใหชนชั้นกษัตริยมสิทธอานาจมากที่สุดในอาณาจักร และหางเหนจากชนชั้น




ี่
ประชาชนมาก ในสมัยราชวงศอูทอง จึงมีพระนามขึ้นตนวา “สมเด็จ” เรียกวา สมเด็จพระรามาธิบดีท 1

(พระเจาอูทอง) สมเด็จพระราเมศวร หรือในสมัยรัตนโกสินทร แหงมหาจักรีบรมราชวงศ เริ่มดวย
รัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลปจจุบันคือรัชกาลที่ 10 ซึ่งเปนการยกยองเทิดทูลสถาบันองคพระมหากษัตริย

17

จึงมีพระนามขึ้นตนวา พระบาทสมเด็จ เชน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลท 5)
ี่
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9)

ดังนั้นคําวา “พระมหากษัตริยของไทย” อาจมีคําเรียกที่แตกตางกันตามประเพณีนิยม

หรือธรรมเนียมที่เคยปฏิบัติสืบตอกันมา เชน เรียกวา พระราชา เจามหาชีวต เจาฟา เจาแผนดิน
พอเมือง พระเจาแผนดิน พระเจาอยูหัว หรือในหลวง ฯลฯ และพระมหากษัตริยเปนไดดวยการสืบ


สันตติวงศ หรือโดยการยึดอานาจจากพระมหากษัตริยพระองคเดิมแลวปราบดาภิเษกตนเองขึ้น


เปนพระมหากษัตริย ทั้งนี้ ในการสืบสันตติวงศตอกนมาโดยเชื้อพระวงศ เรียกวา พระราชวงศ เมอ
ื่



ื่
สิ้นสุดการสืบทอดโดยเชื้อพระวงศ ดวยเหตุอนใดกตาม พระมหากษัตริยพระองคใหม จะเปนตน

พระราชวงศใหมหรือเปนผูสถาปนาพระราชวงศ
พระมหากษัตริยไทยกับรัฐธรรมนูญ
ในอดีตพระมหากษัตริยทรงเปนเจาของชีวิตและเจาแผนดิน กลาวคือ ทรงพระบรม
เดชานุภาพเปนลนพน โดยหลักแลวจะโปรดเกลาฯ ใหผูใดสิ้นชีวิตก็ยอมกระทําได และทรงเปนเจาชีวิต
ั่
ื่

ื่
ี่
ของทดินตลอดทวราชอาณาจักร แตเมอภายหลังมการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมอวันท 24
ี่

มิถุนายน พ.ศ. 2475 ระบบการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธราชยเปนระบอบประชาธปไตย






ซึ่งมพระมหากษัตริยทรงเปนประมข ทาใหพระราชสถานะของพระมหากษัตริยไดเปลี่ยนแปลง




ี่



ไปดวยคือ ทรงเปลี่ยนฐานะเปนพระมหากษัตริยในระบอบประชาธิปไตยทมรัฐธรรมนูญเปน
กฎหมายแมบทในการใชพระราชอํานาจทั้งปวง
พระราชสถานะและพระราชอํานาจของพระมหากษัตริย 

รูปแบบของการปกครองในระบอบประชาธปไตย ไดกาหนดไวในรัฐธรรมนูญไทย


ทุกฉบับอันเปนกฎหมายแมบทสูงสุดในการปกครองประเทศ จะตองกลาวถึงสถาบนพระมหากษัตริย 

ไวในรัฐธรรมนูญ เพราะรูปแบบประมุขของประเทศไทย คือ พระมหากษัตริยที่สืบเนื่องกันมาอยาง


ยาวนาน ตามประเพณีการปกครองไทยในระบอบประชาธปไตยอันมพระมหากษัตริยเปนประมข




และตามรัฐธรรมนูญพระมหากษัตริยจะมีพระราชสถานะและตําแหนงหนาที่ตาง ๆ มี 2 ประการ คือ
1) พระราชสถานะและพระราชอํานาจของพระมหากษัตริยที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ

เปนการกลาวถึงพระมหากษัตริยตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแตละฉบบ เชน พระมหากษัตริย 


เปนองคพระประมุข หรือพระมหากษัตริยเปนอัครศาสนูปถัมภก รวมทั้งทรงดํารงตําแหนงจอมทพไทย
ดังปรากฎในพระราชบญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475

(พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกลาเจาอยูหัว) หมวด 2 กษัตริย มาตรา 3

กลาววา “กษัตริยเปนประมุขสูงสุดของประเทศ พระราชบัญญัติก็ดี คําวินิจฉัยของศาลก็ดี การอน ๆ
ื่
ซึ่งจะมีบางกฎหมายระบุไวโดยเฉพาะก็ดี จะตองกระทําในนามของกษัตริย” และรัฐธรรมนูญแหง


ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 (สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธราช

18

บรมนาถบพิตร) หมวดที่ 2 พระมหากษัตริย มาตรา 8 กลาววา “องคพระมหากษัตริยทรงดํารงอย ู

ในฐานะอันเปนที่เคารพสักการะ ผูใดจะละเมดมิได ผูใดจะกลาวหาหรือฟองรองพระมหากษัตริย 




ุ
ี่
ในทางใด ๆ มิได” ซึ่งบทบญญัติเรื่องนี้ไดรับอทธพลมาจากรัฐธรรมนูญของญี่ปน ทสอดคลองกบ

ั้
ี่

ความคิดความเชื่อของคนไทย ทงนี้ดวยมความประสงคทจะสําแดงพระราชสถานะอนสูงสุดของ

ู



พระมหากษัตริยใหประจักษ คติการปกครองประชาธปไตยพระมหากษัตริยทรงอยเหนือความ

ี่

รับผิดชอบทางการเมือง จนเปนเหตุใหเกิดหลักกฎหมายรัฐธรรมนูญทวา “พระมหากษัตริยไมทรง
กระทําผิด” (The King can do no wrong) ซึ่งหมายถึงผูใดจะฟองรองหรือกลาวหาพระมหากษัตริย 
ในทางใด ๆ ไมได ไมวาจะเปนในทางคดีแพงหรือคดีอาญาก็ตาม
2) พระราชสถานะและพระราชอํานาจของพระมหากษัตริยตามประเพณีการปกครอง
ตามหลักทั่วไป พระมหากษัตริยมีพระราชอํานาจนอกเหนือจากที่กลาวขางตน คือ แตเดิมพระมหากษัตริย 
ื่
มีอํานาจสิทธิขาดในทุก ๆ เรื่อง และทุก ๆ กรณีแตผูเดียว ตอมาเมอมรัฐธรรมนูญเปนลายลักษณ




อกษรจํากดพระราชอานาจของพระมหากษัตริย ถากรณใดไมมบทบญญัติไวในรัฐธรรมนูญหรือ







ื่
กฎหมายกําหนดขอบเขตหรือเงอนไขของการใชพระราชอานาจของพระมหากษัตริยไว


พระมหากษัตริยก็จะยังคงมีพระราชอํานาจเชนนั้นอยูโดยผลของธรรมเนียมปฏิบติ (Convention)


ซึ่งมคาบงคับเปนรัฐธรรมนูญเชนเดียวกัน เชน พระราชอานาจในภาวะวกฤต กลาวคือ เมอเกด




ื่

วิกฤตรายแรงทางการเมืองถึงการเผชิญหนาระหวางฝายตาง ๆ ไมวาจะเปนเหตุการณ 14 ตุลาคม
2516 หรือ 17 - 20 พฤษภาคม 2535 ก็ดี จะเห็นวาพระมหากษัตริยทรงเขามาระงับเหตุรอนใหสงบ



เยนลงไดอยางอศจรรย เปนตน หรือกรณีพระราชอํานาจในการยบยงรางกฎหมาย กรณีของ


ั้



รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 โดยหลักแลว รางกฎหมายไมวาจะราง

ื่
รัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติม รางพระราชบญญัติหรือรางพระราชบัญญติประกอบรัฐธรรมนูญ เมอ







ไดรับความเหนชอบจากรัฐสภาแลว นายกรัฐมนตรีตองนําทลเกลาทูลกระหมอม ภายใน 20 วน
เพื่อพระมหากษัตริยทรงลงพระปรมาภิไธย และเมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวบังคับใชเปน




ี่

กฎหมายได และในกรณีทพระมหากษัตริยไมทรงเหนชอบดวยและพระราชทานคืนมายงรัฐสภา
หรือเมื่อพน 90 วันแลวมิไดพระราชทานคืนมา รัฐสภาจะตองปรึกษารางรัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติม
ถารัฐสภามีมติยืนยันตามเดิมดวยคะแนนเสียงไมนอยกวา 2 ใน 3 ของจํานวนสมาชิกทงหมดเทาท ี่
ั้
มีอยูของทั้งสองสภาแลว นายกรัฐมนตรีตองนํารางกฎหมายนั้นขึ้นทลเกลาถวายอกครั้งหนึ่ง เมอ


ื่
พระมหากษัตริยมิไดทรงลงพระปรมาภิไธยพระราชทานคืนมาภายใน 30 วัน นายกรัฐมนตรีตองนํา



รัฐธรรมนูญแกไขเพิ่มเติม หรือพระราชบญญัติ หรือพระราชบญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้น
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาใชบังคับเปนกฎหมายได เสมือนหนึ่งวาพระมหากษัตริยไดทรงลงพระ
ปรมาภิไธยแลว (มาตรา 94) เปนตน

19

สถาบันพระมหากษัตริยกอใหเกิดคุณประโยชนอยางมากมายมหาศาลตอประเทศชาติ


ู



ั้
ี่
มาตั้งแตโบราณจวบจนปจจุบนนี้ ทงในฐานะทกอใหเกดการสรางชาติ การกเอกราชของชาติ
การรักษาและพัฒนาชาติ มีสาระสําคัญที่ควรแกการนํามาศึกษา คือ

1) พระมหากษัตริยทรงเปนศูนยรวมจิตใจของประชาชน พระมหากษัตริยทรง














ทาใหเกดความสํานึกเปนอนหนึ่งอนเดียวกน แมวาสถาบนการเมองการปกครองจะแยกสถาบน



นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ แตตองใหอํานาจของตนภายใตพระปรมาภิไธย ทาใหทกสถาบนมีจุด




รวมกัน อํานาจที่ไดมาจากแหลงเดียวกัน คือ พระมหากษัตริย นอกจากนี้พระมหากษัตริยยังทาให 
เกดความสํานึกเปนอนหนึ่งอนเดียวกน ระหวางหมูชนภายในชาติ โดยที่ตางเคารพสักการะและ








จงรักภักดีตอพระมหากษัตริยรวมกน แมจะมีความแตกตางกนในดานเชื้อชาติ เผาพันธ ศาสนา

ุ



ก็มีความสมานสามัคคีกลมเกลียวกันในปวงชนทั้งหลาย ทําใหเกิดความเปนปกแผนและเปนพลังท ี่


สําคัญยิ่งของชาติ กลาวไดวา พระมหากษัตริยเปนศูนยรวมของชาติเปนศูนยรวมจิตใจ กอใหเกด









ั้
ความสมานสามคคี และเปนอันหนึ่งอนเดียวกนของคนในชาติ เกดเอกภาพทงในทางการเมอง



การปกครองในหมูประชาชนอยางดียง พระมหากษัตริยทรงรักใครหวงใยประชาชนอยางยิ่ง
ิ่


ทรงโปรดประชาชนและทรงใหเขาเฝาฯ อยางใกลชิด ทําใหเกิดความจงรักภักดีแนนแฟนมากขึ้นไม 
เสื่อมคลายพระองคเสด็จพระราชดําเนินไปทุกแหงไมวาจะเปนถิ่นทุรกันดารหรือมีอันตรายเพียงไร
เพื่อทรงทราบถึงทุกขสุขของประชาชน และพระราชทานพระบรมราชานุเคราะหอยางกวางขวาง










โดยไมจํากด ฐานะ เพศ วัย ประชาชนกมความผูกพันกบพระมหากษัตริยอยางลึกซึ้งกวางขวาง

แนนแฟนมั่นคง จนยากที่จะมีอํานาจใดมาทําใหสั่นคลอนได
2) พระมหากษัตริยทรงเปนสญลกษณแหงความตอเนื่องของชาติ สถาบัน




พระมหากษัตริยเปนสถาบันประมุขของชาติสืบตอกันมาโดยไมขาดสายขาดตอนตลอดเวลา ไมวา
ี่

รัฐบาลจะเปลี่ยนแปลงไปกชุดกสมยกตาม แตสถาบันพระมหากษัตริยยงคงอยูเปนความตอเนื่อง
ี่





ี่
ของประเทศชาติ ชวยใหการปกครองไมมชองวางแตมความตอเนื่องตลอดเวลา เพราะสาเหตุทม ี



พระมหากษัตริยเปนประมุขอยูมิไดเปลี่ยนแปลงไปตามรัฐบาลดวย
3) พระมหากษัตริยไทยทรงเปนพุทธมามกะและอัครศาสนูปถัมภก ทําใหเกิด

ความสัมพันธแนนแฟนระหวางคนในชาติแมจะมีศาสนาตางกัน เพราะพระมหากษัตริยทรงอปถัมภ
ทุกศาสนาแมวาพระองคจะทรงเปนพุทธมามกะ จึงกอใหเกิดพลังความสามัคคีในชาติ ไมบาดหมาง
กันดวยการมีศาสนาตางกัน
4) พระมหากษัตริยทรงเปนพลังในการสรางขวัญและกําลังใจของประชาชน

พระมหากษัตริยทรงเปนที่มาแหงเกียรติยศทั้งปวง กอใหเกิดความภาคภูม ปติยินดี และเกิดกําลังใจ

ในหมูประชาชนทั่วไปที่จะรักษาคุณงามความดี มานะพยายามกระทาความดี โดยเฉพาะอยางยิ่ง




เมอพระองคทรงไวซึ่งความดีงามตลอดเวลา ทาใหประชาชนผูปฏิบติดีปฏิบติชอบมีกาลังใจที่จะ

ื่

20



ั่

ุ
ทํางานเสียสละตอไป จึงเสมอนแรงดลใจผลักดันใหผูมเจตนาดี ประกอบคุณงามความดีมงมนใน
การปฏิบัติอยางเขมแข็ง ทั้งในสวนประชาชน สวนราชการหรือรัฐบาล
5) พระมหากษัตริยทรงมีสวนสําคัญในการรักษาผลประโยชนของประชาชนและ
ทําใหการบริหารงานประเทศเปนไปดวยดี พระมหากษัตริยทรงขึ้นครองราชยดวยความเหนชอบ


ยอมรับของประชาชน โดยมีรัฐสภาทําหนาที่แทนพระองคจึงไดรับการเทิดทูนยกยองเสมอนผูแทน
อันอยูในฐานะเปนที่เคารพสักการะของประชาชนดวย การที่พระมหากษัตริยทรงมีพระราชอํานาจ


ที่จะยับยั้งพระราชบญญัติ หรือพระราชทานคําแนะนําตักเตือน คําปรึกษา และการสนับสนุนใน

กิจการตาง ๆ ทั้งของรัฐบาล รัฐสภา และศาล ตามรัฐธรรมนูญจัดไดวาพระองคทรงมสวนรวมอน

สําคัญในการรักษาผลประโยชนของประชาชนและกอใหเกิดผลดีในการบริหารการปกครองประเทศ
อยางนอยก็ชวยใหฝายปฏิบัติหนาที่ทั้งหลายเกิดความสํานึก เกิดความระมัดระวัง รอบคอบมิใหเกิด


ความเสียหายตอสวนรวมมากพอสมควร พระมหากษัตริยทรงเปนประมุขและทรงเปนกลางทาง


การเมืองการกําหนดหลักการสืบสันตติวงศไวอยางชัดเจนโดยกฎมณเฑียรบาลและรัฐธรรมนูญเปน

เครื่องประกนวาจะทรงเปนกลางทางการเมืองไดอยางแทจริง และทาใหสามารถยบยง ทวงติง



ั้




ใหการปกครองประเทศเปนไปโดยสุจริตยุติธรรมเพื่อประชาชนโดยสวนรวม ซึ่งตางจากประมุขของ
ประเทศที่มาจากการเลือกตั้งที่จะตองยึดนโยบายของกลุมหรือพรรคการเมืองเปนหลัก
6) พระมหากษัตริยทรงแกไขวิกฤตการณ สถาบันพระมหากษัตริยเปนกลไกสําคัญ

ในการยับยั้งแกไขวิกฤตการณที่รายแรงในประเทศได ไมทาใหเกิดความแตกแยกภายในชาติอยาง






รุนแรงจนถึงตองตอสูกนเปนสงครามกลางเมอง หรือแบงแยกกันเปนประเทศเล็กประเทศนอย

ขจัดปดเปามิใหเหตุการณลุกลามและทําใหประเทศเขาสูภาวะปกติได เพราะพระมหากษัตริยเปนท ี่
ยอมรับของทุกฝายไมวาจะเปนดานประชาชน รัฐบาล หนวยราชการ กองทพ นิสิต - นักศึกษา




ปญญาชนทงหลาย หรือกลุมตาง ๆ แมกระทงชนกลุมนอยในประเทศ อันไดแก ชาวไทยภูเขา


ั้

ั่
ชาวไทยมุสลิม เปนตน

7) พระมหากษัตริยทรงสงเสริมความมั่นคงของประเทศ โดยการยดเหนี่ยวจิตใจ

ของประชาชนและกองทัพ พระมหากษัตริยทรงดํารงตําแหนงจอมทัพไทยจึงทรงใสพระทยในการ
พัฒนากองทัพทั้งทางวัตถุและจิตใจ ทรงเยี่ยมเยียนปลอบขวัญทหาร พระราชทานของใชทจําเปน
ี่

ทรงชวยเหลืออนุเคราะห ผูเสียสละเพื่อชาติ ทําใหเกิดขวัญและกําลังใจแกทหาร ขาราชการอยางดี

ยิ่งพรอมที่จะรักษาความมั่นคงและเอกราชของชาติอยางแนนแฟน
8) พระมหากษัตริยทรงมีสวนเสริมสรางสัมพันธไมตรีระหวางประเทศ พระมหากษัตริย 
ในอดีตไดทรงดําเนินวิเทโศบายไดอยางดีจนสามารถรักษาเอกราชไวได โดยเฉพาะสมัยการลาเมืองขึ้น
ี่
ี่
ในรัชกาลท 4 และรัชกาลท 5 แหงกรุงรัตนโกสินทร สําหรับพระบาทสมเด็จพระเจาอยหวรัชกาล
ู

ปจจุบนก็ทรงดําเนินการใหเกดความเขาใจอนดี ความสัมพันธอันดีระหวางประเทศตาง ๆ กบ






21

ประเทศไทย โดยเสด็จพระราชดําเนินเปนทูตสันถวไมตรีกับประเทศตาง ๆ ไมนอยกวา 31 ประเทศ

ทําใหนโยบายตางประเทศดําเนินไปอยางสะดวกและราบรื่น นอกจากนั้นยงทรงเปนผูแทนประเทศไทย


ตอนรับประมุขประเทศ ผูนําประเทศ เอกอัครราชทูต และทูตสันถวไมตรีจากตางประเทศอีกดวย
9) พระมหากษัตริยทรงเปนผูนําในการพัฒนาและปฏิรูปเพื่อประโยชนของ



ประเทศชาติ การพัฒนาและการปฏิรูปที่สําคัญ ๆ ของชาติสวนใหญพระมหากษัตริยทรงเปนผูนํา
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงปูพื้นฐานประชาธิปไตย โดยการจัดตั้งกระทรวงตาง ๆ


ทรงสงเสริมการศึกษาและเลิกทาส ปจจุบนพระมหากษัตริยทรงเกอหนุนวิทยาการสาขาตาง ๆ

ื้



ทรงสนับสนุนการศึกษาและศิลปวฒนาธรรม ทรงริเริ่มกจการอนเปนการแกปญหาหลักทาง



เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยจะเห็นวาโครงการตามพระราชดําริสวนใหญมุงแกปญหาหลัก

ทางเกษตรกรรมเพื่อชาวนา ชาวไร และประชาชนผูยากไรและดอยโอกาสอนเปนชนสวนใหญของ

ประเทศ เชน โครงการฝนหลวง ชลประทาน พัฒนาที่ดิน พัฒนาชาวเขา เปนตน
10) พระมหากษัตริยทรงมีสวนเกื้อหนุนระบอบประชาธิปไตย บทบาทของ






ี่
ั่



พระมหากษัตริยมสวนชวยเปนอยางมากททาใหประชาชนบงเกดความเชื่อมนในระบอบ


ประชาธปไตย เพราะการทประชาชนเกดความจงรักภักดีและเชื่อมนในสถาบันพระมหากษัตริย
ั่

ี่



จึงมผลสงใหประชาชนเกดความศรัทธาในระบอบประชาธิปไตยอันมพระมหากษัตริยเปน






ประมุขดวย เนื่องจากเหนวาเปนระบอบทเชิดชูสถาบนพระมหากษัตริยอนเปนทเคารพสักการะ
ี่



ี่
ของประชาชนนั่นเอง

กิจกรรมทายเรื่องที่ 1 สถาบันหลักของชาติ


(ใหผูเรียนไปทํากิจกรรมทายเรื่องที่ 1 ที่สมดบันทึกกิจกรรมการเรียนรูประกอบชดวิชา)

22


เรื่องที่ 2 บทสรุปสถาบันพระมหากษัตริยเปนศูนยรวมใจของคนในชาติ
สถาบันพระมหากษัตริยมีความสําคัญและผูกพันกับสังคมไทย และคนไทยมาตลอด


ประวัติศาสตรของประเทศ ในฐานะที่เปนปจจัยแหงความมั่นคงที่ทรงนําพาประเทศชาติใหอยรอด
ู
ปลอดภัยตลอดมา เปนศูนยรวมความรัก ความสามัคคีของคนในชาติมาจนถึงปจจุบัน โดยประเทศไทย


ู

มสถาบันพระมหากษัตริยเปนสัญลักษณของการดํารงอยของชาติไทยมาตอเนื่อง สังคมไทย






ใหความสําคัญกับสถาบนพระมหากษัตริย ตั้งแตสมัยสุโขทยจนถึงสมยรัตนโกสินทร เปนสถาบน
ทางสังคม ที่เขมแข็งยืนยง ทําใหประเทศไทยสามารถรักษาความเปนไทยภายใตพระบรมโพธิสมภาร
มาจนถึงปจจุบัน สถาบันพระมหากษัตริยเปนเสาหลักที่สําคัญของสังคมไทย ในทุก ๆ ดาน เปนสมบัติ
ี่

ล้ําคาทชาวไทยทุกคนจะตองรวมกนปกปองใหสถาบันพระมหากษัตริยคงอยตลอดไป
ู


พระมหากษัตริยไทยทรงครองราชยปองเมือง ทํานุบํารุงบานเมือง ทํานุบํารุงสุข ศาสนา และสังคม




มาจนถึงทกวันนี้ แมวาประเทศไทยจะมรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย แตสถาบน

พระมหากษัตริยกลับเปนทเคารพสักการะจากประชาชนมากเชนเดิม ไมมเปลี่ยนแปลงจนถึง

ี่


ปจจุบัน จนถึงสมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลท 10 ก็ยงคงม ี

ี่




ความเปนหวงราษฎรในทกเรื่อง โดยเฉพาะดานการศึกษา ทรงมพระราชกระแสรับสั่ง ในดาน
การศึกษาโดยเนนใหการศึกษา ตองมงสรางพื้นฐานใหแกผูเรียน การสรางทัศนคติทถูกตอง

ี่
ุ

(อุปนิสัย) ที่มั่นคงเขมแข็ง การสอนใหมีอาชีพ มีงานทํา รวมถึงการทําใหเยาวชนมีความสนใจ และ
เขาใจในเรื่องของสถาบันพระมหากษัตริยและประวัติศาสตรชาติไทยไดอยางถูกตอง

ี่


สถาบนพระมหากษัตริยในประเทศไทยเปนศูนยรวมใจชาวไทยทสืบทอดมา

ยาวนานหลายศตวรรษ เปนวฒนธรรมการปกครองที่มความสําคัญ บงบอกถึงแนวคิด ความเชื่อ







ี่

และความหมายของสัญลักษณตาง ๆ ทหลอมรวมจิตใจชาวไทยใหเปนอนหนึ่งอนเดียวกนและ


สรางสรรคใหเกิดความผาสุกของสังคมโดยรวมได วัฒนธรรมการปกครองระบบกษัตริยของประเทศ
ไทยจึงมีความผูกพันอยางแนบแนนตอสังคมไทยมาแตอดีตจนปจจุบัน แนวคิดที่วาพระมหากษัตริย 


ทรงเปนผูปกครองทมคุณลักษณะพิเศษนั้นสืบเนื่องมาจากวฒนธรรมความเชื่อทางศาสนา ซึ่ง
ี่

พัฒนาและผสมผสานมาจากแนวคิดหลักตาง ๆ 3 ประการ คือ ประการแรก เปนแนวคิดพราหมณ

ฮินดูซึ่งถือวาผูที่ดํารงตําแหนงกษัตริยคือองคอวตารของพระผูเปนเจาในศาสนาพราหมณฮนดูซึ่งม ี
หนาที่หลักในการธํารงไวซึ่งความผาสุกของโลกมนุษย เปนแนวคิดเบื้องตนเมื่อชาวไทยรับคติความ
เชื่อพราหมณฮินดูเขามา ประการที่สอง เปนแนวคิดของพระพุทธศาสนา ซึ่งนอกจากความเชื่อเรื่อง





บญกรรมทสงใหเปนผูมบารมแลว ยงมีความเชื่อวาองคพระมหากษัตริยทรงมีสถานะเปน


ี่


พระพุทธเจาและเปนเทพ แนวคิดเรื่องเทพทางพระพุทธศาสนานี้แตกตางจากศาสนาพราหมณฮินดู



ในคัมภีรจักรวาฬทีปนีซึ่ง เขียนขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2063 อธบายวา “พระราชา พระเทว พระกมาร ชื่อ

วาสมมติเทพ, เทพที่อยู ณ ภาคพื้นดินและที่สูงกวานั้น ชื่อวาอุปบัติเทพ, พระพุทธเจา พระปจเจก

23


พุทธเจาและพระขีณาสพชื่อวา “พระวิสุทธิเทพ” พระมหากษัตริยในสังคมไทยทรงมีลักษณะของ


เทพ 3 ประเภทนี้ คือ สมมติเทพ อุปบติเทพ และวสุทธิเทพอยในองคเดียว ทงนี้ไดรวมเอาเทพ
ั้
ู




ี่
ชั้นสูงในศาสนาพราหมณฮนดูเขาไวดวย ดังทสะทอนใหเหนจากแนวคิดเรื่องสมมติเทพหรือ
สมมติเทวดา และในบริบทแวดลอมอื่น ๆ นอกจากนั้น พระมหากษัตริยไทยยังทรงเปนมหาสมมติราช
ขัตติยะ และราชา ดังปรากฏคําอธบายในหนังสือไตรภูมพระรวงของพระเจาลิไทซึ่งแตงขึ้นใน


ั้




สมัยสุโขทัยวา “อนเรียกชื่อมหา สมมติราชนั้นไซร เพราะวาคนทงหลายยอมตั้งทานเปนใหญแล

อนเรียกชื่อขัตติยะนั้นไซร เพราะวาคนทงหลายใหแบงปนไรนาเขาน้ําแกคนทงหลายแล


ั้
ั้

อนเรียกชื่อวาราชานั้น เพราะทานนั้นถูกเนื้อ พึงใจคนทงหลายแล” สวนในโลกทปสารแตงโดย



ั้
พระสังฆราชเมธังกร ซึ่งเปนครูของพระเจาลิไทยกลาววา “นามราชา เพราะปกครองบคคลอน ๆ
ื่


โดยธรรม โดยเที่ยงธรรม” ประการที่สาม แนวคิดความสัมพันธระหวางบิดา - บุตร อันเปนแนวคิด
พื้นเมืองดั้งเดิมที่เนนความสัมพันธใกลชิดระหวางผูปกครองกับผูใตปกครอง ซึ่งตางไปจากสังคมที่ม ี


วรรณะ นับไดวาเปนความเขมแข็งของวฒนธรรมการปกครองในระบบกษัตริยของไทยที่สามารถ

ดํารงสืบตอมาไดจนปจจุบน แนวคิดทง 3 ประการนี้แสดงคติความเชื่อเรื่องสถานะขององค
ั้


พระมหากษัตริยที่ผสมผสานกัน พระมหากษัตริยไทยนับแตอดีตมไดทรงดํารงพระองคเปนเฉพาะ
องคอวตารแหงพระผูเปนเจาของศาสนาพราหมณฮินดูหรือเปนผูบาเพ็ญบญบารมเฉพาะพระองค




แตยงทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ เชนเดียวกบบดาผูดูแลบตรดวย พระราชภาระหลักของ






พระมหากษัตริยอนเปนพื้นฐานตามคติพราหมณฮนดูม 4 ประการ คือ 1) พระราชทานความ




ยุติธรรมอันเปนระเบยบสากลของผูปกครองหรือผูนําทจะตองสรางหรือออกกฎหมายเพื่อใหเกด



ี่

ความยติธรรม 2) ทรงรักษาความยุติธรรมนั้น ๆ อยางเครงครัด 3) ทรงรักษาพระศาสนาและ


ประชาชน 4) ทรงสรางความผาสุกแกประชาชน นอกจากนั้นพระมหากษัตริยยงทรงดํารงหลัก

ราชธรรมในพระพุทธศาสนา ไดแก ทศพิธราชธรรม 10 ประการ สังคหวตถุ 4 ประการ และ


จักรวรรดิวัตร 12 ประการ เมอประสานกับลักษณะวัฒนธรรมการปกครองแบบบิดา - บตรแลว
ื่
จึงเปนเหตุใหพระมหากษัตริยในประเทศไทยมีพระราชสถานะอันสูงสงควรแกการยกยองสรรเสริญ




ยิ่ง ในสมัยกรุงสุโขทย ความสัมพันธระหวางพระมหากษัตริยกบประชาชนมความใกลชิดกนมาก
พระมหากษัตริยทรงดูแลทุกขสุขของประชาชนดังบิดาดูแลบุตร ดังปรากฏบันทึกในศิลาจารึกหลัก

ี่

ี่
ท 1 ของพอขุนรามคําแหงมหาราช ทสําคัญมากกคือวฒนธรรมการปกครองในระบบกษัตริยนั้น

เปนการปกครองโดยมีมนุษยธรรม จารึกสุโขทัยหลักที่ 38 วัดพระมหาธาตุ - วัดสระศรีพุทธศักราช
1940 วา พระมหากษัตริยแหงกรุงสุโขทัย “จักใครขัดพระราชสีมานี้ดังมนุษยธรรม (อยาง) พระยา

รามราช” คือ กษัตริยในกรุงสุโขทยไดปกครองประชาชนอยางมมนุษยธรรมเชนเดียวกบพอขุน




รามคําแหง กษัตริยแหงกรุงสุโขทัยเอาพระราชหฤทยใสไพรฟาขาแผนดินของพระองคดังปรากฏ


หลักมนุษยธรรมในไตรภูม พระรวงวา “รูจักผิดแลชอบ แลรูจักที่อนเปนบาปแลบุญ แลรูจัก

24

ประโยชนในชั่วนี้ชั่วหนา แลรูจักกลัว แกบาปแลละอายแกบาป รูจักวายากวางาย แลรูรักพี่รักนอง

แลรูเอ็นดูกรุณาตอผูเข็ญใจ แลรูยําเกรง พอแม ผูเถาผูแก สมณพราหมณาจารยอันอยูในสิกขาบท

ของพระพุทธเจาทุกเมื่อ และรูจักคุณแกว 3 ประการ” อันแสดงใหเห็นความผูกพันระหวางกษัตริย 

ในฐานะของบิดา - บุตร ในการสอนใหทําความดี ใหรูจักบาปบุญและหลักธรรมตาง ๆ ในสมยอยธยา

ื่


พระราชสถานะของพระมหากษัตริยเปลี่ยนแปลงไปบาง เมอมคติความคิดเกี่ยวกบสมมติเทวราช




มาผสมผสาน พระมหากษัตริยทรงเปนเสมอนเทพเจา ดังปรากฏพระนามของ พระมหากษัตริย 



สมยอยุธยา เชน สมเด็จพระรามาธบดี สมเด็จพระรามราชา สมเด็จพระอนทรราชา สมเด็จ
ั้


พระเอกาทศรถ สมเด็จพระนารายณมหาราช เปนตน ซึ่งลวนแตเปนทงพระนามของเทพเจาของ
พราหมณฮินดูและเทพเจาในความเชื่อพื้นถิ่นทงสิ้น นอกจากนั้นพระราชกรณยกจทงปวงของ

ั้


ั้
พระเจาแผนดินดังที่ปรากฏในพระราชพิธ 12 เดือน หรือที่ตราไวในกฎมณเฑียรบาลก็ดีลวนเปนไป

เพื่อประโยชนสุขของประชาชน อาจกลาวไดวาวัฒนธรรมการปกครองในระบบกษัตริยของอยธยานั้น

ยังคงสืบทอดมาจากแบบฉบับของกรุงสุโขทัยที่เนนความสัมพันธระหวางบิดา - บุตร แมบันทึกของ
ชาวตางชาติ เชน ลาลูแบรหรือแชรแวสก็ยังระบุวา การลงโทษขุนนางในราชสํานักนั้น “เสมอดวย


ี้

ี่
บดากระทาแกบตร และมิไดทรงลงอาญาอยางตระลาการทใจเหยมหรือเจาขุนมูลนายที่เอาแต


โทสจริตไดกระทําแกทาส” ตอมาในสมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทรวัฒนธรรมการปกครองใน




ระบบเดิมยังสืบทอด และธํารงไวไดเปนอยางดีในการสรางความเปนปกแผนของบานเมองและ

การสรางขวัญกําลังใจใหเกดขึ้นในหมประชาชน ดังแนวพระราชดําริในพระบาทสมเด็จพระพุทธ
ู
ยอดฟาจุฬาโลกมหาราชวา “ตั้งใจจะอุปถัมภก ยอยกวรพุทธศาสนา ปองกันขอบขัณฑเสมา รักษา


ประชาชนแลมนตรี” หรือคติ “พระมหาสมมติราช” ซึ่งรวมความเปนพระราชามหากษัตริยกได

ปรากฏชัดเจนในประกาศพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก
มหาราชใน พ.ศ. 2328 วา “พรรณพฤกษาชลธ แลสิ่งของในแผนดินทวเขตพระนคร ซึ่งหาผูหวง
ั่


แหนมิไดนั้น ตามแตสมณชีพราหมณาจารยราษฎร ปรารถนาเถิด” แนวคิดดังกลาวยงไดสืบตอมา



จนถึงรัชสมยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว สวนทไดปรับเปลี่ยนเปนสากลกคือ
ี่
พระมหากษัตริยทรงสังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ทรงเรียนรู ศิลปวทยาตางๆ และ

ทรงเขาถึงประชาชนมากขึ้น อนึ่ง ตั้งแตในรัชกาลที่ 4 เริ่มมีแนวคิดในการเปลี่ยนแปลงและยอมรับ

ู
ฐานะแหง “มหาชนนิกรสโมสรสมมติ”มากขึ้น และพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยหวทรง


เห็นวาความสัมพันธระหวางประชาชนกับพระมหากษัตริยเปนสิ่งจําเปน ดังเชน ความตอนหนึ่งใน
ประกาศเรื่องดาวหางประกาตรีศกวา “พระเจาแผนดินคนทั้งปวงยกยองไวเปนที่พึ่ง ใครมีทุกขรอน


ื่

ถอยความประการใดกยอมมารองใหชวย ดังหนึ่งทารกเมอมีเหตุแลว ก็มารองหาบดามารดา





เพราะฉะนั้นพระเจาแผนดินชื่อวาคนทั้งปวงยกยองใหเปนบดามารดาของตัว แลวกมความกรุณา
แกคนทั้งปวง ดังหนึ่งบิดามารดากรุณาแกบุตรจริง ๆ โดยสุจริต”

25

นอกจากนั้นการทพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยหวทรงพระผนวช ไดเสด็จ
ี่
ู



ธุดงคตามหัวเมืองตาง ๆ ก็ยิ่งเปนการสรางความผูกพันระหวางพระมหากษัตริยกับประชาชนอกดวย
เพราะไดทรงรูจักวิถีชีวิตของราษฎรอยางแทจริง ในรัชกาลตอมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา
ี่
เจาอยูหัว ก็ทรงไดรับการยอมรับจากขุนนางทั้งปวงอยาง “อเนกนิกรสโมสรสมมติ” ททงพระสงฆ
ั้

พระราชวงศ และขุนนางเห็นพองกันใหพระองคเสด็จขึ้นครองราชย ตลอดเวลาที่ผานมานับแตสมย




สุโขทัยแมจะมการเปลี่ยนแผนดินหรือมการเปลี่ยนราชวงศแตแนวคิดระบบการปกครองแบบ
กษัตริยที่เคยมีมานั้นหาไดเปลี่ยนไปดวยไม ในระบอบประชาธิปไตยพระมหากษัตริยทรงใชพระราช


อํานาจผานกระบวนการ 3 องคกร คือ อานาจนิติบญญัติ บริหาร และตุลาการ เสมอนผูแบงเบา




พระราชภาระของพระองค แตพระมหากษัตริยก็ยงทรงมพระมหากรุณา พระราชทานพระบรม
ี่
ี่

ั้

ราโชวาทสั่งสอน ชี้นําแนวทางการดําเนินชีวิตทถูกทควร มศีลธรรมกํากบ ทงทรงปฏิบัติพระองค
เปนแบบอยาง ดวยพระมหากรุณาธิคุณนี้คนไทยจึงยังคงมีความผูกพันกับองคพระมหากษัตริยมาก



ู


ี่

เชนเดิม คนไทยมคําเอยพระนามพระมหากษัตริยอยหลายคําทบงบอกความรูสึก ยกยองเทิดทน
และผูกพันตอพระองคเชนคําวาพระเจาแผนดิน พระเจาอยูหัว เจาชีวิต ทั้ง 3 คํานี้มนัยสําคัญดังนี้

ี่

ี่

พระเจาแผนดิน ตามรูปศัพท หมายถึง ผูปกครองทเปนเจาของแผนดิน คือ ผูนําทมสิทธิ์ขาดใน


ี่
กจการของแผนดิน และสามารถพระราชทานทดินใหแกผูใดผูหนึ่งไดแตในสังคมไทย พระเจา





แผนดินทรงเปนเจาของแผนดินผูทรงบํารุงรักษาแผนดินใหมความอุดมสมบรณ เพื่อใหประชาชน



สามารถใชที่ดินในพระราชอาณาเขตของพระองคใหเกดประโยชน เชน ทาการเพาะปลูกใหไดผล




ตลอดจนเอาพระราชหฤทัยใสในการบํารุงแผนดินใหมีความอุดมสมบรณอยูเปนนิจ ดังทปรากฏเปน
ี่

โครงการพระราชดําริตาง ๆ ในปจจุบนนี้ และเปนทประจักษในสากลวาพระเจาแผนดินไทยทรง

ี่


ู
ี่

งานหนักทสุดในโลก และทรงรักประชาชนของพระองคอยางแทจริง พระเจาอยหวเปนคําเรียก
พระเจาแผนดินที่แสดงความเคารพเทิดทูนอยางสูงสุดและเปนยอดของมงคลทั้งปวง พระเจาอยูหัว
ู


หรือพระพุทธเจาอยหว หมายถึง การยอมรับพระราชสถานะของพระเจาแผนดินวาทรงเปนองค

ี่
พระพุทธเจา ดังนั้น จึงทรงเปนทรวมของความเปนมงคล สิ่งของตาง ๆ ทพระราชทาน
ี่



เครื่องราชอสริยาภรณ พิธกรรมตาง ๆ ทจัดขึ้นโดยพระบรมราชโองการ และการไดเขา
ี่


เฝาทลละอองธุลีพระบาท หรือไดเห็นพระเจาอยหว จึงลวนแตเปนมงคลทงสิ้น เจาชีวต เปนคํา
ู



ั้

ั้
เรียกพระเจาแผนดินที่แสดงพระราชอํานาจเหนือชีวิตคนทงปวงที่อยูในพระราชอาณาเขต คําคํานี้

ั้

อาจหมายถึงพระเจาแผนดินที่ทรงสิทธิ์ในการปกปองคุมครองชีวิตประชาชนใหพนภัย วบัติทงปวง

หรือลงทัณฑผูกระทําผิดตอพระราชกําหนดกฎหมาย ตลอดจนทรงชุบชีวิตขาแผนดิน ใหมีความสุข
ลวงความทุกข ทงนี้สุดแตพระเมตตาพระกรุณาธคุณอนเปนลนพนของพระองค แตในสังคมไทย
ั้



ปจจุบันนั้น คําวา เจาชีวต หมายถึงพระเจาแผนดินผูพระราชทานกาเนิดแนวคิดโครงการตาง ๆ



แกประชาชน โดยมไดทรงใชพระราชอานาจลวงไปเกนขอบเขตแหงราชนีติธรรม แตทรงดํารง



26

ธรรมะ เปนองคประกอบในการตัดสินวินิจฉัยเรื่องทั้งหลายทั้งปวงดวย นอกจากนั้นยังปรากฏในคํา

ี่

ทประชาชนเรียกแทนตนเองวาขาพระพุทธเจา ซึ่งมีความหมายลึกซึ้งวาพระมหากษัตริย หรือ

ู

พระเจาแผนดิน หรือพระเจาอยหัว หรือเจาชีวิตนั้น เปนเสมอนหนึ่งพระพุทธเจาผูทรงพระคุณ


ู

ู

อนประเสริฐ ประชาชนทกคนตางไดพึ่งพระบารมีอยเปนนิจเหมอนอยใตพระบรมโพธสมภาร




กลาวไดวาวฒนธรรมการปกครองของสังคมไทยแมจะมความเปลี่ยนแปลงผานยคสมยตาง ๆ

ก็ยังคงรักษาแนวคิดเดิมคือความสัมพันธอนใกลชิดเปนหนึ่งเดียวกันระหวางพระมหากษัตริยกบ








ประชาชน และศาสนาไวไดเปนอยางดี เพราะไมวาเวลาจะผานไปนานเทาใด “พระราชากยงเปนกาลัง

ของคนทุกขยาก” ซึ่งไดทรงสงเคราะหโดยทั่วทุกชนชั้นวรรณะใหเกิดความผาสุกอยูเปนนิจ ตรงตาม
หลักมนุษยธรรมในไตรภูมพระรวงดังไดกลาวมาแลวขางตนอยางไมเสื่อมคลาย และทรงเปน



ศูนยรวมความจงรักภักดีของคนไทยตลอดไป (มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราช
กุมารี, 2554 : พระราชนิพนธคํานํา)


กิจกรรมทายเรื่องที่ 2 บทสรุปสถาบันพระมหากษัตริยเปนศูนยรวมใจของคนในชาติ

(ใหผูเรียนไปทํากิจกรรมทายเรื่องที่ 2 ที่สมดบันทึกกิจกรรมการเรียนรูประกอบชดวิชา)

27

เรื่องที่ 3 บุญคุณของพระมหากษัตริยไทยตั้งแตสมยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสนทร


3.1 สมัยสุโขทัย
อาณาจักรสุโขทัย เปนสมัยทเจริญรุงเรืองสูงสุด ในรัชสมัยของพอขุนรามคําแหงมหาราช
ี่
ั่


อานาจของอาณาจักรสุโขทยในชวงรัชสมยของพระองคมนคงมาก ไดทรงแผอาณาเขตออกไป


ี่

โดยรอบ วฒนธรรมไทยไดเจริญขึ้นทกสาขา ดังปรากฏในศิลาจารึกหลักท 1 ซึ่งเจริญทงดาน
ั้
ประวัติศาสตร การสงคราม ภูมิศาสตร กฎหมาย ประเพณี การปกครอง เศรษฐกจ สังคม ปรัชญา

พระพุทธศาสนา การประดิษฐอักษรไทย และอื่น ๆ
สมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช
ดานการเมืองการปกครอง
พระองคทรงใชรูปแบบการปกครองแบบพอปกครองลูก คือ พระองคทรงดูแล

เอาใจใสในทุกขสุขของราษฎรเหมือนพระองคเปนพอ สวนราษฎรหรือไพรฟา คือ ลูก เมื่อราษฎร
ี่




มเรื่องเดือดรอนกทรงใหสั่นกระดิ่งทหนาประตูวง แลวพระองคกจะเสด็จออกมารับฟงเรื่องราว

และทรงตัดสินปญหาดวยพระองคเอง นอกจากนี้ พระองคทรงทาสงครามขยายอาณาเขตออกไป
อยางกวางขวางมากกวาพระมหากษัตริยพระองคใดในสมัยสุโขทัย
ดานเศรษฐกิจ

พระองคทรงโปรดใหสรางทํานบกักเกบน้ําทเรียกวา ทานบพระรวง หรือ สรีดภงส
ี่





เพื่อใชกกเกบน้ําไวใชในฤดูแลง และพระองคทรงใหเสรีภาพแกประชาชนในการคาขายไดอยาง



มีอิสระเสรี ไมมีการเก็บภาษีผานดานจากราษฎร ที่เรียกวา จังกอบ ทาใหการคาขายขยายออกไป
อยางกวางขวาง และทรงโปรดใหสรางเตาเผาเครื่องสังคโลกเปนจํานวนมาก เพื่อผลิตสินคาออกไปขาย
ยังดินแดนใกลเคียง
ดานศิลปวัฒนธรรม

พระองคทรงประดิษฐตัวอักษรไทยที่เรียกวา ลายสือไทย และไดมีการพัฒนามาเปน

ลําดับจนถึงอักษรไทยในปจจุบน ทาใหคนไทยมอกษรไทยใชมาจนถึงปจจุบน โดยโปรดใหจารึก








เรื่องราวเหตุการณตาง ๆ ในสมัยสุโขทัยลงบนศิลา เมื่อ พ.ศ. 1826 เรียกวา ศิลาจารึกหลักที่ 1
สมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไท)


ี่
ในสมยพระมหาธรรมราชาท 1 (พระยาลิไท) ทรงรวบรวมราชอาณาจักรสุโขทย
เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน และขยายพระราชอํานาจออกไประหวางแควจําปาสักกับแมน้ําปงจนจรด

แมน้ํานานทางทิศเหนือมาไวในราชอาณาจักรสุโขทัย

28

ดานศาสนา
ทรงมีบทบาทสําคัญในการทํานุบํารุงและเผยแผพระพุทธศาสนา คือ ไดสงพระสงฆ

ออกไปเผยแผ พระพุทธศาสนายังที่ตาง ๆ เชน เมืองเชียงใหม พิษณุโลก อยุธยา และหลวงพระบาง


ทรงโปรดเกลาฯ ใหซอมพระเจดียเมองนครชุม (กาแพงเพชร) ทรงประดิษฐานรอยพระพุทธบาท


ี่




ทเขาสุมนกฏ ซึ่งอยูนอกเมองสุโขทย โปรดใหสรางวัดปามะมวง (สุโขทย) ทรงโปรดใหหลอ






พระพุทธรูปปางมารวชัย มขนาดเทากับองคพระพุทธเจา ถวายพระนามวา พระศรีศากยมนี
ประดิษฐานที่พระวิหารวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สุโขทัย
ดานภาษาและวรรณคดี



ทรงมความเชี่ยวชาญในดานภาษาและวรรณคดีเปนพิเศษ ดังมหลักฐานปรากฏ
ื่

ในหนังสือไตรภูมิพระรวง วา พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไท) ทรงนิพนธขึ้นเมอครั้งยงดํารง

ี่
พระยศพระมหาอุปราช ครองเมืองศรีสัชนาลัย หนังสือไตรภูมิพระรวงเปนวรรณคดีทเกยวของกบ
ี่


พระพุทธศาสนา

3.2 สมัยอยุธยา
สมเด็จพระรามาธบดีที่ 1 (พระเจาอูทอง) ทรงเปนปฐมกษัตริยของกรุงศรีอยธยา




ู
ทรงตั้งกรุงศรีอยุธยา ณ ชัยภูมิที่เอื้ออํานวยทั้งในดานความปลอดภัยจากขาศึกและความอยดีกนดี
ของชาวอยุธยา พื้นที่เหมาะแกการทําเกษตรกรรม

บุญคุณของพระมหากษัตริยสมัยอยุธยาที่มตอประเทศในสมัยอยุธยา ดังนี้

1. ทรงปฏิรูปการปกครอง โดยทรงรวมอํานาจการปกครองเขาสูศูนยกลาง คือ ราชธานี



และแยกฝายทหารกับฝายพลเรือนออกจากกน การแตงตั้งตําแหนงขาราชการใหมบรรดาศักดิ์
ตามลําดับจากต่ําสุดไปสูงสุด คือ ทนาย พัน หมื่น ขุน หลวง พระ พระยา และเจาพระยา มีกําหนด
ศักดินาเพื่อเปนคาตอบแทนการรับราชการ ทรงตั้งกฎมณเฑียรบาลขึ้นเปนกฎหมายสําหรับการปกครอง
2. ทรงประกาศใชกฎหมายลักษณะสําคัญ คือ กฎหมายศักดินา เปนการกาหนด


สิทธิหนาที่มูลนายและไพร
3. โปรดเกลาฯ ใหประชุมนักปราชญราชบณฑิตแตงหนังสือมหาชาติคําหลวง นับวา

เปนวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาเรื่องแรกของกรุงศรีอยุธยา และเปนวรรณคดีที่ใชเปนแนวทาง
ในการศึกษาภาษาและวรรณคดีของไทย พรอมทั้งสรางวัดจุฬามณี
4. ทรงรวมอาณาจักรสุโขทัยเปนสวนหนึ่งของอยุธยาโดยสมบูรณ

29

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

ู
ตลอดรัชสมัยของพระองคทรงกอบกกรุงศรีอยุธยาจากพมา และไดทาสงครามกบ

อริราชศัตรูทั้งพมาและเขมร จนราชอาณาจักรไทยเปนปกแผนมั่นคง ขยายดินแดนไดอยางกวางขวาง
บุญคุณของพระองคที่มีตอประเทศชาติในดานตาง ๆ ดังนี้

ดานการเมืองการปกครอง
พระองคโปรดใหปรับปรุงการปกครองหัวเมืองใหญเปนการรวมอํานาจเขาสูศูนยกลาง




ยกเลิกระบบเมองพระยามหานคร ยกเลิกใหเจานายไปปกครองเมองเหลานี้ แลวใหขุนนางไป
ปกครองแทน จัดหัวเมืองตามความสําคัญและขนาดเปน เอก โท ตรี จัตวา
ดานการคาขาย
ทรงสงทูตไปประเทศจีน เพื่อรับรองฐานะกษัตริยของพระองคและติดตอคาขายกบ

ประเทศจีน ขยายการคาไปประเทศสเปน
สมเด็จพระนารายณมหาราช

พระองคทรงเปนพระมหากษัตริยที่ทรงพระปรีชาสามารถมาก ทาใหกรุงศรีอยธยา



ในรัชสมัยของพระองค มีความเจริญรุงเรืองกาวหนาในทุกดาน ทั้งในดานเศรษฐกจ การตางประเทศ
การศึกษา ศิลปวัฒนธรรม และวรรณคดีที่สําคัญหลายเรื่องเกิดขึ้นในรัชสมัยของพระองค จนไดชื่อวา
เปนยุคทองของวรรณคดีในสมัยกรุงศรีอยุธยา
ในรัชสมัยของพระองค ไดมีชาวตะวันตกเดินทางเขามาติดตอคาขาย เผยแผศาสนา

ตลอดจนเขารับราชการ ทําใหชาวตะวันตกยอมรับนับถือกรุงศรีอยุธยาเปนอยางมาก

ิ่
ื่
ในดานการคาขาย ไดมีการติดตอคาขายกับตางประเทศมากยงกวาในรัชสมยอน ๆ

ทงฮอลันดา ฝรั่งเศส และอังกฤษ ทรงโปรดเกลาฯ ใหตอเรือกาปนหลวง เพื่อทาการคาขาย

ั้







กับตางประเทศ จึงทําใหอยุธยาเปนศูนยกลางการคากับตางประเทศ มเศรษฐกจรุงเรือง มีรายได
จากการจัดเก็บภาษีอากรเปนจํานวนมาก

3.3 สมัยธนบุรี
ี่

สมเด็จพระเจาตากสินมหาราช พระองคมีพระราชกรณยกจทสําคัญ คือ การรวบรวม








กาลังไวตอสูกบพมา สรางความเปนปกแผนของพระราชอาณาจักรบญคุณของพระองคที่มตอ

ประเทศชาติในดานตาง ๆ
ดานเศรษฐกิจ

เมอเศรษฐกจของบานเมองอยในภาวะตกต่ํา ทรงแกไขปญหาเฉพาะหนาไดเปน

ู


ื่

อยางดี โดยสละพระราชทรัพยซื้อขาวสารจากพอคาตางเมือง

30

ดานวรรณกรรม
ทรงสนพระทยดานวรรณกรรม ทรงนิพนธบทละครเรื่องรามเกยรติ์ ทํานุบารุง



พระพุทธศาสนาใหรุงเรืองดังแตกอน

นอกจากนี้พระองคยังทรงเปนนักรบและนักปกครองชั้นดีเยี่ยม มคุณลักษณะผูนํา

อยูเต็มตัว ทั้งในยามคับขันและยามปกติ

3.4 สมัยรัตนโกสินทร
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) โปรดใหยายราชธานี

จากกรุงธนบุรีไปยังทแหงใหมซึ่งอยคนละฝงของแมน้ําเจาพระยา เมอ พ.ศ. 2325 ตอมาได

ู

ี่

ื่
พระราชทานนามวา กรุงรัตนโกสินทร หรือกรุงเทพฯ ในปจจุบัน
การสรางพระบรมมหาราชวัง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช
พระองคโปรดใหสรางวัดขึ้นในพระบรมมหาราชวัง คือ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือวัดพระแกว

แลวอัญเชิญพระแกวมรกตมาประดิษฐาน
ู
ในสมัยรัชกาลท 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยหัวทรงเปลี่ยนนโยบาย
ี่


ตางประเทศ มาเปนการคากบชาวตะวนตก เพื่อความอยูรอดของชาติ เนื่องจากทรงตระหนักถึง

ภัยจากลัทธิจักรวรรดินิยม ซึ่งกําลังคุกคามประเทศตาง ๆ อยูในขณะนั้น
จุดเริ่มของการเปลี่ยนแปลงนโยบายตางประเทศ คือ การทําสนธิสัญญาเบาวริง กบ




อังกฤษ ใน พ.ศ. 2398 โดยพระนางเจาวิกตอเรียไดแตงตั้งให เซอร จอหน เบาวริง เปนราชทตเขามา

เจรจา
สาระสําคัญของสนธิสัญญาเบาวริง มีดังนี้
1. อังกฤษขอตั้งสถานกงสุลในประเทศไทย

2. คนอังกฤษมีสิทธิเชาที่ดินในประเทศไทยได
3. คนอังกฤษสามารถสรางโบสถ และสามารถเผยแพรศาสนาคริสตได

4. เก็บภาษีขาเขาไดไมเกินรอยละ 3
5. พอคาอังกฤษและพอคาไทยมีสิทธิคาขายกันไดโดยเสรี

6. สินคาตองหาม ไดแก ขาว ปลา เกลือ
ื่

7. ถาไทยทําสนธิสัญญากบประเทศอน ๆ ทมีผลประโยชนเหนือประเทศองกฤษ
ี่

จะตองทําใหอังกฤษดวย
8. สนธิสัญญานี้จะแกไขเปลี่ยนแปลงได จนกวาจะใชแลว 10 ป และในการแกไข




ตองยินยอมดวยกันทั้งสองฝายและตองบอกลวงหนา 1 ป 

31

ผลจากการทําสนธิสัญญาเบาวริงในสมัยรัชกาลที่ 4 ทําใหสภาพสังคมไทยเปลี่ยนแปลง
ในดานตาง ๆ มีดังนี้

1. ดานการปกครอง
รัชกาลที่ 4 ทรงแกไขเปลี่ยนแปลงประเพณี คือ เปดโอกาสใหราษฎรเขาเฝาได


โดยสะดวกใหราษฎรเขาเฝาถวายฎีการองทุกขไดในขณะที่ทรงเสด็จพระราชดําเนิน
รัชกาลท 5 ทรงเปลี่ยนแปลงสถานะของไพรใหเปนพลเมองปลดปลอยทาส



ี่
ซึ่งนําไปสูการเลิกทาส และปฏิรูปการศึกษาโดยการจัดตั้งโรงเรียนขึ้นในวัดสําหรับราษฎร
รัชกาลที่ 6 ทรงประกาศใชพระราชบัญญัติ โปรดใหใชพุทธศักราช (พ.ศ.) เปนศักราช


ทางราชการ แทนรัตนโกสินทรศก (ร.ศ.) เปลี่ยนแปลงการนับเวลาทางราชการ ใหสอดคลองกบ

สากลนิยม โปรดใหกาหนดคํานําหนาชื่อเด็กหญิง เด็กชาย นางสาว และ นาง เปลี่ยนแปลง



ธงประจําชาติ จากธงรูปชางเผือก มาเปนธงไตรรงคตรากฎมณเฑียรบาลวาดวยการสืบสันตติวงศ
ตามแบบประเทศยุโรป
2. การปฏิรูปกฎหมายและการศาล

รัชกาลที่ 4 ทรงตรากฎหมายขึ้นหลายฉบับ เพื่อใหทันสมัยและเหมาะสมกบสภาพ

บานเมือง เชน กฎหมายเกี่ยวกับมรดก สินสมรส ฯลฯ

รัชกาลที่ 5 การปฏิรูปกฎหมายและการศาลครั้งสําคัญ โดยมกรมหลวงราชบรี

ดิเรกฤทธิ์ (พระบิดาแหงกฎหมาย) เปนกําลังสําคัญ ผลการปฏิรูปกฎหมายและการศาล มีดังนี้
1. โรงเรียนสอนวิชากฎหมาย
2. ตรากฎหมายฉบับใหมและทันสมัยที่สุด คือ กฎหมายลักษณะอาญา

3. จัดตั้งกระทรวงยุติธรรมขึ้น
รัชกาลที่ 6 โปรดใหปฏิรูป กรมรางกฎหมายเพิ่มเติม เปนตน

3. ดานเศรษฐกิจ




ภายหลังการทาสนธสัญญาเบาวริงแลว การคาของไทยเจริญกาวหนาขึ้นมาก
ทําใหมีการปรับปรุงดานเศรษฐกิจ ดังนี้
รัชกาลที่ 4 ทรงเปลี่ยนการใชเงินพดดวงมาเปนเงินเหรียญ และขุดคลอง ตัดถนน
เพิ่มขึ้นหลายสาย
รัชกาลที่ 5 โปรดเกลาฯ ใหเปลี่ยนมาตราเงินไทยมาใชระบบทศนิยมกําหนดให

1 บาท มี 100 สตางค สรางเหรียญสตางคทําดวยทองขาว และเหรียญทองแดง และไดโปรดเกลาฯ
ไดพิมพธนบัตรขึ้นใช โดยตราพระราชบัญญัติธนบัตร ร.ศ. 121 (พ.ศ. 2445) และตั้งกรมธนบัตรขึ้น

สังกัดกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ นอกจากนี้ยังประกาศใชพระราชบัญญัติมาตราทองคํา ร.ศ. 127
(พ.ศ. 2451) โดยใชทองคําเปนมาตรฐานเงินตราแทนเงิน และไดประกาศยกเลิกการใชเงินพดดวง

32

เหรียญ เฟอง เบี้ยทองแดงตาง ๆ เบี้ยสตางคทองขาว โดยใหใชเหรียญบาท สลึง และเหรียญสตางค
อยางใหมแทน และขุดคลอง ตัดถนนเพิ่มขึ้นหลายสาย

รัชกาลที่ 6 โปรดตั้งคลังออมสินขึ้น (ปจจุบัน คือ ธนาคารออมสิน)
4. ดานการศึกษา

รัชกาลที่ 4 ตั้งโรงเรียนชายขึ้นที่ตําบลสําเหร และโรงเรียนกุลสตรีวังหลัง
รัชกาลที่ 5 ไดมีการปฏิรูปการศึกษาขึ้น คือ โรงเรียนนายทหารมหาดเล็ก โรงเรียน

พระตําหนักสวนกุหลาบและโรงเรียนวัดมหรรณพาราม (แหงแรก) ไดโปรดใหจัดตั้งกระทรวงธรรมการขึ้น
เพื่อรับผิดชอบในดานการศึกษา และยังไดพระราชทานทุนเลาเรียนหลวงอีกดวย

รัชกาลที่ 6 มีดังนี้
1. ตราพระราชบัญญัติประถมศึกษาขึ้นใชในป พ.ศ. 2464

2. ใหเรียกเก็บเงิน “ศึกษาพลี” จากราษฎรเพื่อบํารุงการศึกษาทองถิ่น

3. ตั้งมหาวทยาลัยขึ้นเปนแหงแรก คือ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
5. ดานศาสนา


รัชกาลที่ 4 ทรงประกาศใชพระราชบัญญัติ ลักษณะการปกครองสงฆเปนฉบบแรก


โดยมีสมเด็จพระสังฆราช เปนผูปกครองสูงสุด มีมหาเถรสมาคมใหคําปรึกษา และโปรดใหสรางวด
ขึ้นหลายแหง เชน วัดโสมนัสวิหาร วัดราชประดิษฐ วัดปทุมวนาราม
รัชกาลที่ 5 ทรงมีพระราชกรณียกิจที่สําคัญ คือ โปรดใหจัดตั้งสถานศึกษาสําหรับ




พระสงฆขึ้น 2 แหง ซึ่งตอมาเปนมหาวิทยาลัยของสงฆ หรือมหาวทยาลัยพระพุทธศาสนา
มีการศึกษาถึงระดับปริญญาเอก คือ
1. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อยูที่วัดมหาธาตุฯ เปนสถานศึกษาของพระสงฆ
ฝายมหานิกาย (ปจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย การใหบริการดานการศึกษา

เชนเดียวมหาวิทยาลัยมหามงกุฎราชวิทยาลัย)
2. มหามงกุฎราชวิทยาลัย อยูที่วัดบวรนิเวศวิหาร เปนสถานศึกษาของพระสงฆ






ฝายธรรมยตินิกาย (ปจจุบน คือ มหาวิทยาลัยมหามงกฎราชวทยาลัย การใหบริการดานการศึกษา


เชนเดียวกับ มหาวทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย)
6. ดานขนบธรรมเนียมประเพณี

รัชกาลท 4 ทรงประกาศใหขาราชการสวมเสื้อเวลาเขาเฝา ทรงใหเสรีภาพ
ี่

ประชาชน ในการนับถือศาสนา การประกอบอาชีพ โปรดใหสตรีไดยกฐานะใหสูงขึ้น

ี่
รัชกาลท 5 โปรดเกลาฯ ใหขาราชการสวมเสื้อราชปะแตน และสวมหมวก
อยางยุโรป ใหขาราชการทหารแตงเครื่องแบบตามแบบตะวันตก โปรดใหผูชายในราชสํานัก ไวผม

33

ทรงมหาดไทย เปลี่ยนมาไวผมตัดยาวทั้งศีรษะแบบฝรั่ง โปรดใหผูหญิงเลิกไวผมปก ใหไวผมตัดยาว
ที่เรียกวา “ทรงดอกกระทุม”

7. ดานศิลปกรรม

รัชกาลที่ 4 เริ่มมีการกอสรางแบบตะวันตก เชน พระราชวังสราญรมย พระนครคีรี
ที่เพชรบุรี ดานจิตรกรรม ไดแก ภาพเขียนฝาผนังในพระอโบสถ และวิหารวัดบวรนิเวศวิหาร จิตรกรเอก

ในสมัยนี้ ไดแก ขรัวอินโขง ซึ่งเริ่มเขียนภาพแบบสามมิติ ตามแบบตะวันตก เปนบุคคลแรก

รัชกาลที่ 5 สถาปตยกรรมไดรับอิทธิพลแบบตะวันตกมากขึ้น ประติมากรรม ไดแก 

พระพุทธชินราชจําลอง พระบรมรูปหลอพระมหากษัตริย 4 รัชกาล พระราชนิพนธที่สําคัญของ

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไดแก พระราชพิธีสิบสองเดือน พระราชนิพนธไกลบาน
รัชกาลที่ 6 มีการกอสรางตามแบบไทย ไดแก หอประชุมโรงเรียนวชิราวธวทยาลัย


การกอสรางแบบตะวันตก เชน พระราชวังสนามจันทร

ดานจตรกรรม ไดแก ภาพเขียนทฝาผนังวหารทศ ทจังหวดนครปฐม การกอสราง

ี่


ี่


พระพุทธรูป เชน พระแกวมรกตนอย
ดานดนตรี และการแสดงละคร มความรุงเรืองมาก มการแสดงละครเพิ่มขึ้น


หลายประเภท เชน ละครรอง ละครพูด

ดานวรรณคดี ไดมีพระราชนิพนธหลายเรื่อง เชน เวนิสวาณิช ฯลฯ ไดมการกอตั้ง

วรรณคดีสโมสรขึ้นดวย
ี่
นอกจากนี้ยงมการเปลี่ยนแปลงการปกครองครั้งสําคัญทสุดของไทย คือ



การเปลี่ยนแปลงการปกครอง จากระบอบสมบรณาญาสิทธราชยมาเปนระบอบประชาธปไตย





โดยมีพระมหากษัตริยทรงเปนพระประมขในป พ.ศ. 2475 ซึ่งตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จ


พระปกเกลาเจาอยูหว รัชกาลท 7 ซึ่งถือวาเปนบญคุณอนใหญหลวงทพระมหากษัตริยไดทาเพื่อ



ี่

ี่
ประชาชนของพระองค

ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9)
พระองคมพระราชกรณียกิจดานการพัฒนาที่สําคัญ คือ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ



ี่

สิ่งแวดลอม เปนสิ่งททรงสนพระราชหฤทัยอยางยง ทรงตระหนักวาปญหาเกษตรกรมาจาก
ิ่

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทเสื่อมโทรม ถูกทาลายจํานวนมาก ทรงคิดคน ดัดแปลง
ี่

ี่

ปรับปรุง และแกไขดวยการพัฒนาทดําเนินการไดงาย ไมยุงยากซับซอน สอดคลองกบสภาพ


ความเปนจริงของความเปนอย และระบบนิเวศในแตละภูมภาค พระราชกรณียกจททรงปฏิบติ



ี่
ู

มาตลอดรัชสมัยเปนที่ยอมรับ ทรงสรางรูปแบบที่เปนตัวอยางของการพัฒนาแบบยั่งยืน ผสมผสาน
ความตองการของราษฎรใหเขากับการประกอบอาชีพ โดยทรงนําพระราชดําริมาปฏิบติจริง และ

34


ั่
ี่
สามารถพัฒนาใหเปนทฤษฎีใหม ซึ่งเปนระบบการจัดการที่ดินและแหลงน้ําเพื่อการเกษตรทยงยน
ทําใหเกษตรกรสามารถดําเนินชีวิตไดอยางมีความสุขตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง



ี่
พระบาทสมเด็จพระปรมนทรมหาภูมพลอดุลยเดช (รัชกาลท 9) ทรงปฏิบติ

พระราชกรณียกจเพื่อการพัฒนาประเทศ โดยทรงเนนคนเปนศูนยกลางตลอดมา พระองคเปน



ตนแบบการบริหารจัดการทดีในทกพระราชภารกจ ในฐานะพระมหากษัตริยภายใตรัฐธรรมนูญ

ี่


ทรงเกื้อหนุนการบริหารราชการทุกรัฐบาล แนวพระราชดําริจํานวนมากทพระราชทานใหรัฐบาล
ี่
นําไปปฏิบัติลวนมีจุดมุงหมายใหประชาชนชาวไทยมีความสุข ไดรับบริการจากรัฐอยางทั่วถึง เขาถึง
ทรัพยากรของชาติอยางเทาเทียมกัน
แนวพระราชดําริดานการเกษตรที่สําคัญ คือ “ทฤษฎีใหม” เปนการใชประโยชน


จากพื้นที่ที่มีอยูจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด
พ.ศ. 2540 ประเทศไทยประสบปญหาภาวะเศรษฐกจตกต่ํา พระบาทสมเด็จ

พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลท 9) พระราชทานหลักปรัชญาของเศรษฐกจพอเพียง
ี่

ทรงชี้แนะแนวทางการดําเนินชีวิตใหแกราษฎร เปนผลใหเกิดการพัฒนาสังคมและทรัพยากรบุคคล

ั่

อยางมนคง ยงยน และสงบสุข ซึ่งโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริในรัชสมยของพระองค
ั่


มทงสิ้นมากกวา 4,000 โครงการ อยในความรับผิดชอบของสํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อ
ู
ั้

ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ (สํานักงาน กปร.)

นอกจากนี้พระองคยังทรงมพระปรีชาสามารถในศาสตรสาขาตาง ๆ ซึ่งสงผลตอ



การพัฒนาทั้งสิ้น ทั้งในดานการประดิษฐ ไดแก การประดิษฐ “กงหนชัยพัฒนา” ซึ่งเปนเครื่องกล
เติมอากาศแบบทุนลอย

ดานวรรณศิลป พระองคทรงเชี่ยวชาญในภาษาหลายภาษา ทรงพระราชนิพนธ 
บทความ แปลหนังสือ เชน นายอินทรผูปดทองหลังพระ ติโต พระมหาชนก และพระมหาชนกฉบบ



การตูน เปนตน งานทางดานดนตรี พระองคทรงพระปรีชาสามารถเปนอยางมากและรอบรูในเรื่อง

การดนตรีเปนอยางดี พระองคทรงดนตรีไดหลายชนิด เชน แซ็กโซโฟน คลาริเน็ต ทรัมเปต กตาร


และเปยโน พระองคยังไดประพันธเพลงทมความหมายและไพเราะหลายเพลงดวยกน เชน เพลง
ี่


พระราชนิพนธแสงเทียน เปนเพลงแรก นอกจากนี้ยังมีเพลงสายฝน ยามเย็น ใกลรุง ลมหนาว ยิ้มสู
สายลม ค่ําแลว ไกลกังวล ความฝนอันสูงสุด เราสู และเพลงพรปใหม เปนตน
ในรัชสมัยสมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (รัชกาลที่ 10)
พระราชกรณียกิจของพระองคที่สําคัญ เชน พระองคทรงใสพระราชหฤทัยในการสงเสริมการศึกษา
ของเยาวชนไทย โดยทรงรับโรงเรียนหลายแหงไวในพระราชูปถัมภ เนื่องจากทรงตระหนักวา การศึกษา


จะสามารถพัฒนาเยาวชน ซึ่งเปนกาลังหลักในการพัฒนาประเทศชาติในอนาคต ทรงมีพระราชดําริ

35

ู


ดานการสงเสริมการศึกษา ไดแก “โครงการทนการศึกษาสมเด็จพระเจาอยหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร
เทพยวรางกูร” เพื่อสนับสนุนและสงเสริมการศึกษาแกเด็กและเยาวชน


นอกจากนี้ พระองคยงทรงหวงใยและทรงคํานึงถึงความอยดีมสุขของประชาชน

ู
ั่
เปนสําคัญ และพระองคมีพระราชปณิธานแนวแน ที่จะทําใหประเทศชาติมนคงและประชาชนมชีวิต

ความเปนอยูที่ดีขึ้น ดวยมีพระราชประสงคที่จะสืบสาน รักษา และตอยอดโครงการอันเนื่องมาจาก

พระราชดําริและแนวพระราชดําริตาง ๆ ในการบาบดทกขและบารุงสุขใหประชาชนและพัฒนา







ประเทศใหเจริญกาวหนาทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหหนวยราชการในพระองค รวมกบ

ี่


ู

หนวยราชการตาง ๆ และประชาชนทกหมเหลาที่มจิตอาสา บาเพ็ญสาธารณประโยชนในพื้นทตาง ๆ








เพื่อบรรเทาความเดือดรอน และแกไขปญหาใหแกประชาชน ไมวาจะเปนปญหาน้ําทวมในเขต

ื่
ชุมชน ปญหาการจราจร และอน ๆ เพื่อสืบสานพระราชปณิธานพระบาทสมเด็จพระปรมินทร



ี่

มหาภูมพลอดุลยเดช (รัชกาลท 9) ททรงหวงใยปญหาน้ําทวมและปญหาการจราจรในเขตพื้นท ี่
ี่
กรุงเทพมหานครและจังหวัดตาง ๆ ซึ่งพระองคทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหจัดโครงการจิตอาสา

“เราทําความดี ดวยหัวใจ” ระหวางวันที่ 28 กรกฎาคม - 3 สิงหาคม พ.ศ. 2560 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
เพื่อเปนแบบอยางในการพัฒนาสภาพแวดลอม และความเปนอยูในชุมชนใหมีสภาพที่ดีขึ้น

ดังนั้น โครงการจิตอาสา “เราทาความดี ดวยหวใจ” โครงการในพระราชดําริ



สมเด็จพระเจาอยหว ไดปลุกจิตสํานึกในการทาความดี ปลูกฝงใหคนทกเพศทุกวย ไดตื่นตัว



ู
ในการบําเพ็ญตนใหเปนประโยชนแกสังคม ชุมชน และประเทศชาติ

กิจกรรมทายเรื่องที่ 3 บุญคุณของพระมหากษัตริยไทยตั้งแตสมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี

และรัตนโกสนทร

(ใหผูเรียนไปทํากิจกรรมทายเรื่องที่ 3 ที่สมดบันทึกกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดวิชา)

149

บรรณานุกรม

กรมทางหลวงชนบท. พระราชกรณียกิจ รัชกาลที่ 10. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :
http://deac.drr.go.th/th/node/215. (วันที่คนขอมูล : 28 มีนาคม 2561).

กรมศิลปากร. พระมหากษัตริยของไทย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :
http://www.finearts.go.th/parameters/search/หนังสืออิเล็กทรอนิกส/

book/154.html. (วนที่คนขอมูล : 28 มีนาคม 2561).

กระทรวงวัฒนธรรม, กรมศิลปากร. พระมหากษัตริยของไทย. กรุงเทพฯ : อมรินทร

พริ้นติ้งแอนดพับลิซซิ่ง จํากด, 2560.
กอบแกว นาจพินิจ. อาหารไทย กรุงเทพฯ : โปรแกรมวิชาคหกรรมศาสตรทั่วไป
คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสถาบันราชภัฏสวนดุสิต, 2542.

กอบแกว นาคพินิจ. เรื่องประวัติอาหารไทย สืบคนวันที่ 23 พฤศจกายน 2556. [ออนไลน].

เขาถึงไดจาก : http://khaocookingschool.blogspot.com/2010/01/by-prof-

ี่
kobkaew-najpinij.html. (วันทคนขอมูล : 29 มีนาคม 2561).
ชัยสิทธิ์ ปะนันวงค. “สมัยสุโขทัย” ประวัติศาสตรชาติไทย. กรมศิลปกร, กระทรวงวัฒนธรรม;

พ.ศ. 2558. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://thainationhistory.blogspot.com/
ี่
p/18-1800-1.html. (วันทคนขอมูล : 27 มีนาคม 2561).


ดนัย ไชยโยธา. พัฒนาการของมนุษยกับอารยธรรมในราชอาณาจกรไทย เลม 1. กรุงเทพฯ :
โอเดียนสโตร, 2543.
ดนัย ไชยโยธา. ประวัติศาสตรไทย : ยุคกรุงธนบุรีถึงกรุงรัตนโกสินทร. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :

โอเดียนสโตร, 2550.

ดวงมน จิตจํานง. คุณคาและลกษณะเดนของวรรณคดีไทย สมัยรัตนโกสนทรตอนตน.

กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2540.
ดํารงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. ตํานานหนังสือพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา
ภาคตน, 2505.

ดํารงราชานุภาพ, สมเด็จกรมพระยา. ความทรงจา พระนคร. 2518.

ทรงสรรค นิลกําแหง. เอกสารบรรณรักษศาสตร. 2514.

ธีระ แกวประจันทร. “สมัยอยุธยา” ประวัติศาสตรชาติไทย ; กรมศิลปกร, กระทรวงวัฒนธรรม ;

พ.ศ. 2558 และพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบบพันจันทนุมาศ (เจิม) และ

ื่
เอกสารอน - นนทบรี : ศรีปญญา 2559) [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :

ี่
https://patlabua.wordpress.com/, (วันทคนขอมูล 27 มีนาคม 2561)

150

นามานุกรมพระมหากษัตริยไทย. มลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสดา. นามานุกรม


พระมหากษัตริยไทย. กรุงเทพฯ : นานมีบุคสพับลิเคชั่น, 2554.
นายประสาร ธาราพรรค. ผูเรียบเรียง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :
https://www.technicchan.ac.th/UserFiles/File/พลเรือเอก%20พระเจาบรมวงศ

เธอ.pdf. (วันที่คนขอมล 28 : มีนาคม 2561).

บัณฑิต ลิ่วชัยชาญ และสุริยา สุดสวาท. “แผนดิน ผูคน และพัฒนาการบานเมืองในดินแดน

ประเทศไทย” ประวัติศาสตรชาติไทย. ม.ป.ม. : กรมศิลปกร, กระทรวงวัฒนธรรม;
2558.


บุญสม ยอดมาลี. การสรางจตสานึกในการอนุรักษปรับปรนและเห็นคุณคามรดกทาง
วัฒนธรรม. (รายงานการวิจัย). มหาสารคาม : สถาบนวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอสาน


มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2544.
ปารวี ไพบูลยยิ่ง. ภูมิแผนดินไทย 6 อาหารไทย. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ไทยประกันชีวต

จํากด, 2545.

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. หนา 563.
พระอัจฉริยภาพดานภาษาและวรรณกรรมที่แฝงดวยปรัชญา จากในหลวง รัชกาลที่ 9.
ี่
[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.drivemate.asia/blog/. (วันทคนขอมูล :
29 มีนาคม 2561).

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธราช. เอกสารการสอนชดประวัติศาสตรสังคมและการเมืองไทย.


ม.ป.ม. : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธราช, 2547.
มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา. นามานุกรมพระมหากษัตริยไทย. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสมเด็จ

พระเทพรัตนราชสุดา, 2554.
รงรอง วงศโอบออม. ประวัติศาสตรไทย. กรุงเทพฯ : ทอรช, 2560.
รชพร จันทรสวาง. ความรูพื้นฐานของมัคคุเทศกและการทองเที่ยวอาเซียน. หนวยที่ 7

อาหาร ขนม และผลไมไทยกับการทองเที่ยว. นนทบุรี :

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธราช, 2557.

เรื่องมรดกไทย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://ich.culture.go.th/index.php/th/
ี่
ich/meaning. (วันทคนขอมูล : 28 มีนาคม 2561).
วรรณิภา ณ สงขลา. จิตรกรรมสมัยรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 1. กรุงเทพฯ :
ฝายอนุรักษจิตรกรรมฝาผนังและประติมากรรมติดที่ กองโบราณคดี

สํานักพิมพกรมศิลปากร, 2537

151

สถาบันพระปกเกลา. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :

http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title

สถาบันพระปกเกลา. ฐานขอมูลการเมืองการปกครอง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :
http://www.hindumeeting.com/forum/index.php?topic=2020.0.

https://www.thairath.co.th/content/799687 (วันที่คนขอมูล : 28 มีนาคม 2561).
สถาบันพระมหากษัตริยในระบบการเมืองการปกครองไทย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :

www.mwit.ac.th/~keng/lesson05/7.doc
สมพร เทพสิทธา. ดวงประทีปจากพระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว. กรุงเทพฯ:

พิมพสวย, 2549. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :
http://dharma.thaiware.com/mobile/

article_mobile_detail.php?article_id=270, (วันที่คนขอมูล : 26 มีนาคม 2561).
สันติ เล็กสุขุม. จิตรกรรมสมัยรัชกาลที่ 3 : ความคิดเปลี่ยนการแสดงออกก็เปลี่ยนตาม.
กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2548

สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน โดยพระราชประสงคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เลมที่ 24
เรื่องที่ 1 วรรณคดีมรดก สมัยรัตนโกสนทร (พ.ศ. 2325 - ปจจุบัน). [ออนไลน].

เขาถึงไดจาก : http://oknation.nationtv.tv/blog/pakthada/
ี่
2010/03/16/entry-6. (วันทคนขอมูล : 29 มีนาคม 2561).
สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :

http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=21&chap=2&p

age=t21-2-infodetail03.html. (วันที่คนขอมล : 28 มีนาคม 2561).
สํานักงาน กศน. ประวัติศาสตรชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริยไทย. [ออนไลน].
เขาถึงไดจาก : http://www.nfe.go.th/onie/attachments/article/283/11.pdf

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. 9 แผนดินของการปฏิรูประบบราชการ
(พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช). พิมพครั้งที่ 2. ม.ปม. :


วิชั่นพริ้นแอนด มีเดีย จํากด, 2550.

“ ”. 9 แผนดินของการปฏิรูประบบราชการ (พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย).
พิมพครั้งที่ 2. ม.ปม. : วิชั่นพริ้นแอนด มีเดีย จํากด, 2550.

“ ”. 9 แผนดินของการปฏิรูประบบราชการ (พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว).

พิมพครั้งที่ 2. ม.ปม. : วิชั่นพริ้นแอนด มีเดีย จํากด, 2550.

“ ”. 9 แผนดินของการปฏิรูประบบราชการ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว).
พิมพครั้งที่ 2. ม.ปม. : วิชั่นพริ้นแอนด มีเดีย จํากด, 2550.

152


“ ”. 9 แผนดินของการปฏิรูประบบราชการ (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว).
พิมพครั้งที่ 2. ม.ปม. : วิชั่นพริ้นแอนด มีเดีย จํากด, 2550.


“ ”. 9 แผนดินของการปฏิรูประบบราชการ (พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว).

พิมพครั้งที่ 2. ม.ปม. : วิชั่นพริ้นแอนด มีเดีย จํากด, 2550.
“ ”. 9 แผนดินของการปฏิรูประบบราชการ (พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันท
มหิดล). พิมพครั้งที่ 2. ม.ปม. : วิชั่นพริ้นแอนด มีเดีย จํากัด, 2550.

“ ”. 9 แผนดินของการปฏิรูประบบราชการ (พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลย
เดช). พิมพครั้งที่ 2. ม.ปม. : วิชั่นพริ้นแอนด มีเดีย จํากัด, 2550.
“ ”. 9 แผนดินของการปฏิรูประบบราชการ (พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา


เจาอยูหัว). พิมพครั้งที่ 2. ม.ปม. : วิชั่นพริ้นแอนด มีเดีย จํากด, 2550.
สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. พระประวัติสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงรา

ชานุภาพ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://jurarat21.blogspot.com/.
(วันที่คนขอมูล 28 : มีนาคม 2561).

สํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี. แนวทางการรักษาความมั่นคงสถาบัน

หลักของชาติภายใตการปกครองระบอบประชาธปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน
ประมุข. กรุงเทพฯ : คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, 2558.
สุจิตต วงษเทศ และคณะ ..หนังสือคูมือครูสงคมศึกษารายวิชา ส 021 หลักฐานประวัติศาสตร

ในประเทศไทย. ม.ป.ม. : ม.ป.ท., 2537.
เสถียร พันธรังสี. ศาสนาเปรียบเทียบ. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : สุขทางใจ, 2542.

เสาวภา ไพทยวัฒน. ประวัติศาสตรและวัฒนธรรมไทย. ม.ป.ม : หนวยศึกษานิเทศก, กรมการ

ฝกหัดครู, 2535.



เสาวภา ไพทยวัฒน. ประวัติศาสตรและวัฒนธรรมไทย. หนวยศึกษานิเทศก, กรมการฝกหดครู,
2535.
อัจฉรา สโรบล. ประวัติเครื่องแตงกาย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : www.human.cmu.ac.th/
ี่
home/hc/ebook/006216/006216-03.pdf. (วันทคนขอมูล : 30 มีนาคม 2561).

อํานาจ เจริญศิลป. โลกและการอนุรักษ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, 2528.
อารักษ สังหิตกุล. กรมศิลปากรกับการบริหารจัดการทรัพยสินทางศิลปวัฒนธรรม อดีต

ปจจุบัน และ อนาคต. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2545
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ส30109 ประวัติศาสตรไทย 2. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :
ี่
https://social.mwit.ac.th/files/55_1_doc_30109_3.pdf. (วันทคนขอมูล :
20 เมษายน 2561). 2561.

153

โอเดียนสโตร. 53. พระมหากษัตริยไทย : ธ ทรงครองใจไทยทั้งชาติ. กรุงเทพฯ :
โอ.เอส.พริ้นติ้ง, 2543.

[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://haab.catholic.or.th/bangkok1/bangkokl.html.
(วันที่คนขอมูล : 20 เมษายน 2561).

[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://hilight.kapook.com/view/47473. (วันที่คนขอมูล :
29 มีนาคม 2561

[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://hq.prd.go.th/พระราชประเพณีสิบสองเดือน :

หนึ่งในวรรณคดีเอกของสยาม. (วันที่คนขอมล : 28 มีนาคม 2561).
[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=

14&chap=3&page=t14-3-infodetail09.html (ประติมากรรมสมัยรัตนโกสินทร).
(วันที่คนขอมูล : 20 เมษายน 2561).

[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://medium.com/pasubox/5/ ผลงานทัศนศิลปสมัย

รัตนโกสินทร (วันที่คนขอมล : 28 มีนาคม 2561).
[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://poetthai.com/วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทรตอนตน.
(วันที่คนขอมูล : 28 เมษายน 2561).
[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://thammapedia.com/ceremonial/


buddhismorg_center.php. (วันที่คนขอมูล : 28 มนาคม 2561).
[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.brh.thaigov.net/webboard/

index.php?topic=55.0 (วันที่คนขอมูล : 20 เมษายน 2561).
[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.bu.ac.th/knowledgecenter/

executive_journal/oct_dec_12/pdf/aw019.pdf.
(วันที่คนขอมูล : 28 มีนาคม 2561).
[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.era.su.ac.th/Mural/rusrama1/index.html.

(วันที่คนขอมูล : 20 เมษายน 2561).
[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.finearts.go.th/performing/parameters/km/item/

โขนสมัยรัตนโกสินทร.html. (วันที่คนขอมูล : 27 มีนาคม 2561).
[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.ku.ac.th/e-magazine/may48/know/home.html.

(วันที่คนขอมูล : 28 มีนาคม 2561).
[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.moi.go.th/portal/page?_pageid=


235,804615,235_804637&_dad=portal&_schema=PORTAL. (วันที่คนขอมล
28 มีนาคม 2561).