ตำแหน่ง เลขาธิการ ภาษาอังกฤษ

ตำแหน่งทางการทูต

ตำแหน่งทางการทูต

วันที่นำเข้าข้อมูล 30 มี.ค. 2561

วันที่ปรับปรุงข้อมูล 7 พ.ย. 2565

| 45,349 view

ตำแหน่งทางการทูต

Diplomatic Ranks

เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary
อัครราชทูต Minister
อัครราชทูตที่ปรึกษา Minister Counsellor
ที่ปรึกษา Counsellor
เลขานุการเอก First Secretary
เลขานุการโท Second Secretary
เลขานุการตรี Third Secretary
ผู้ช่วยเลขานุการ Attaché
กงสุลใหญ่ Consul General
กงสุล Consul
รองกงสุล Vice Consul
กงสุลกิตติมศักดิ์ Honorary Consul
สถานกงสุล Consulate
สถานกงสุลใหญ่ Consulate General
สถานเอกอัครราชทูต Embassy
สถานเอกอัครราชทูตไทย Royal Thai Embassy
สถานกงสุลใหญ่ไทย Royal Thai Consulate-General

เอกสารประกอบ


ตำแหน่ง เลขาธิการ ภาษาอังกฤษ

  • Home

ตำแหน่ง เลขาธิการ ภาษาอังกฤษ

MS. PATCHARA PETTAWEE

รองเลขาธิการ | Deputy Secretary General

ตำแหน่ง เลขาธิการ ภาษาอังกฤษ

MS. SULUKKANA THAMMANUSATI

รองเลขาธิการ | Deputy Secretary General

ตำแหน่ง เลขาธิการ ภาษาอังกฤษ

MRS. CHUTIMA HANPACHERN

รองเลขาธิการ | Deputy Secretary General

ตำแหน่ง เลขาธิการ ภาษาอังกฤษ

นายสุวัฒน์ เอื้อเฟื้อ

รองเลขาธิการ | Deputy Secretary General

ตำแหน่ง เลขาธิการ ภาษาอังกฤษ

ร้อยตำรวจโทหญิงสุทธิมา พิพัฒน์พิบูลย์

รองเลขาธิการ | Deputy Secretary General

ตำแหน่ง เลขาธิการ ภาษาอังกฤษ

นางสาวสุลักขณา ธรรมานุสติ

รองเลขาธิการ | Deputy Secretary General

ตำแหน่ง เลขาธิการ ภาษาอังกฤษ

นางชุติมา หาญเผชิญ

รองเลขาธิการ | Deputy Secretary General

ความหมายของเลขานุการ
                   เลขานุการ หมายถึง ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับหนังสือตามที่ผู้ใหญ่สั่ง
                   เลขาธิการ หมายถึง เสมียนสำคัญสำหรับสมาคม องค์การหรือสำหรับผู้มีเกียรติชั้นสูง มีหน้าที่ทำงานเกี่ยวกับหนังสือและกิจกรรมบางอย่างได้อย่างสิทธิ์ขาด
                   เลขานุการบริหาร หมายถึง เป็นผู้ช่วยบริหารในการประสานงานกับแผนกต่าง ๆ มีส่วนร่วมในการพิจารณางานทางด้านการวางแผน งานนโยบาย ตลอดจนเป็นตัวแทนขององค์กร
 

ความหมายของเลขานุการ
                   คำว่า � เลขานุการ � เป็นคำสุทธิ มาจากคำว่า เลข สนธิกับ อนุการ
                   ดังนั้น เลข + อนุการ รวมกันเป็นคำ � เลขานุการ �
                   คำว่า เลขา แปลว่า ลาย ตัวอักษร การเขียน งานขีดเขียน
                   คำว่า อนุการ แปลว่า การทำตาม การเอาอย่าง
                   เลขานุการ  หมายถึง ผู้มีหน้าที่เกี่ยวกับหนังสือตามที่ผู้ใหญ่สั่ง

                   คำว่า � เลขาธิการ � เป็นคำสุทธิ มาจากคำว่า เลขา สนธิกับ อธิการ
                   อธิการ แปลว่า อำนาจ การปกครอง ความบังคับบัญชา ตำแหน่ง หน้าที่ กิจการ ภาระ สิทธิและความชอบธรรม
                   เลขาธิการ ( Secretary general) หมายถึง ผู้เป็นหัวหน้าทำงานเกี่ยวกับหนังสือได้สิทธิ์ขาด และมีอำนาจหน้าที่และขอบข่ายในการปฏิบัติงาน ใหญ่กว่า เลขานุการ ตำแหน่งเลขาธิการจะเป็นตำแหน่งทางราชการ มักจะไม่ปรากฎในวงการธุรกิจ

                   ( ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน )
                   อักษรเลข เป็นตำแหน่งงานในทางราชการ ซึ่งมีนานานแล้ว ทำหน้าที่เป็นเลขานุการของผู้ว่าราชการจังหวัด ไม่เรียกตำแหน่งเลขานุการ แต่เรียกว่า อักษรเลข

                    คำว่า เลขานุการ ตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า SECRETARY และมาจากภาษาลาตินว่า SECRETUM แปลว่า ความลับ หรือ คำว่า SECRET
ดังนั้น คำว่า SECRETARY แปลว่า ผู้รู้ความลับ
                    ดังนั้น ผู้ที่ทำงานในตำแหน่งเลขานุการ ต้องเป็นผู้ที่ได้รับความไว้วางใจให้เก็บความลับของหน่วยงานหรือเจ้านาย หรือผู้บริหารขององค์การนั้น ๆ

คำว่า SECRETARY เป็นคำศัพท์ที่มีตัวอักษรรวมกัน 9 ตัวด้วยกัน คือ
                    
1. S = SENSE หรือ SENSITIVITY คือ ความสีสามัญสำนึก เลขานุการต้องมีสามัญสำนึกในการทำงาน ว่าสิ่งใจควรทำหรือไม่ควรทำ มีการวางตนให้เหมาะสมกับเวลา สถานที่ และโอกาส ตลอดจนมีความประพฤติตนที่เหมาะสม มีไหวพริบ เข้าใจสิ่งต่าง ๆ ได้เร็วและเป็นไปในทางที่สร้างสรรค์
                     2. E = EFFICIENCY ความมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน เลขานุการจะต้องใช้ปัจจัยที่มีอยู่ ได้อย่างประหยัดและปลอดภัย เพื่อให้ผลงานที่ออกมาอย่างมีประสิทธิภาพ
                     3. C = COURAGE มีความกล้าในการตัดสินใจในการปฏิบัติงาน เพื่อให้งานที่ออกมามีประสิทธิภาพ หรือใช้คำว่า CONFIDENCE คือ มีความเชื่อมั่นในตนเอง และไว้วางใจได้ เลขานุการต้องไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน กล้าทำในทางที่ถูกที่ควร
                     4. R = RESPONSIBILITY คือ มีความรับผิดชอบในการทำงาน เลขานุการต้องมีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบมอบหมาย และทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                     5. E = ENERGY มีกำลังใจ มีสุขภาพดี และมีสมรรถนะที่ดีในการทำงาน เลขานุการต้องรู้จักการทำงานให้ถูกต้อง รู้จักการจัดสรรเวลาในการทำงาน และรู้จักเลือกการทำงานให้มีประสิทธิภาพ
                     6. T = TECHNIC หรือ TECHNIGUE การมีเทคนิค มีศิลปะ และความสามารถในการทำงาน เลขานุการที่ดี ต้ดงรู้จักนำทฤษฎีที่เรียนมา นำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติให้เหมาะสม วิธีการทำงานบางครั้งใช้วิธีสอนให้ชัดเจนไม่ได้ เพียงแต่มีหลักเกณฑ์เป็นบรรทัดฐาน ผู้ปฏิบัติจะต้องใช้เทคนิค ศิปละและประสบการณ์ในการทำงานมาประยุกต์ใช้ และปรับปรุงแก้ไขงานให้ดีขึ้น
                      7. A = ACTIVE มีความคล่องตัว กระฉับกระเฉง เลขานุการจะต้องมีความตื่นตัว ว่องไว ไม่เฉื่อยชา มีความกระตือรืนร้นในการปฏิบัติงาน
                      8. R = RELIABILITY ความน่าเชื่อถือ ความไว้วางใจได้ เลขานุการต้องเป็นผู้ที่ไว้วางใจได้ทุกเรื่อง เก็บความลับได้ ไม่นำความลับของงาน หน่วยงาน และของผู้อื่นไปเผยแพร่
                      9. Y = YOUTH อยู่ในวัยหนุ่มสาว ตำแหน่งเลขานุการ เป็นตำแหน่งี่เหมาะแก่วัยหนุ่มสาวเพราะเป็นวัยที่เหมาะแก่การทำงานและมีความคล่องตัว แต่ถ้าคนที่มีอายุมากแต่ยังกระฉับกระเฉง อาจทำงานได้ดีกว่า เพราะมีประสบการณ์มากกว่าและมีเหตุมีผลมากกว่า
                       สำหรับเลขานุการงานที่ทำ งานวางแผน งานจัดสำนักงาน งานสั่งการ การสั่งงานควรสั่งโดยใช้การจูงใจ มอบหมายงาน ติดตามงาน ชมเชย ขอบคุณ รายงานผล และชี้แจง การทำงานให้เสร็จตาม ารที่ปฏิบัติงานแล้วมีความก้าวหน้าเลื่อนตำแหน่งสู่เลขานุการบริหาร

ประเภทของเลขานุการ
เลขานุการแบ่งตามหลักวิชาการและตามหน้าที่ความรับผิดชอบ

เลขานุการแบ่งตามหลักวิชาการ
1. เลขานุการประจำตำแหน่ง ( Organization )
2. เลขานุการส่วนตัว ( Private )
3. เลขานุการกิตติมศักดิ์ ( Honorable )
4. เลขานุการพิเศษ ( Special )

เลขานุการแบ่งตามหน้าที่ความรับผิดชอบ
1. เลขานุการขั้นต้น ( Junior )
2. เลขานุการขั้นสูง ( Senior ) ร่างจดหมาย ทำเอกสาร
3. เลขานุการขั้นบริหาร ( Administrative or Executive Secretary )

                   เลขานุการบริหาร (EXECUTIVE SECRETARY) หมายถึง ผู้ช่วยผู้บริหารในการประสานงานกับแผนกต่าง ๆ มีส่วนร่วมในการพิจารณางานทางด้านการวางแผน งานนโยบาย ตลอดจนเป็นตัวแทนขององค์กร ในการประสานงานกับหน่วยงานอื่น