งานวิจัย การสอนแบบ ลงมือปฏิบัติ

Download ปร ญญาโท ศ ลปศาสตร มหาบ ณฑ ต สาขาบร หารการพ ฒนา...

วิจัยเรื่อง

การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้เทคนิควิธีการสอนโดยการลงมือปฏิบัติ

ผู้วิจัย

นางสาวนัทธ์หทัย ปัญเจริญ

ตำแหน่ง

ครูผู้สอน

วุฒิกำรศึกษำ

ปริญญาโท ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาบริหารการพัฒนา

สถำนที่ติดต่อ วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่ โทร. 089-6320066 ปีที่ทำวิจัย

ปีการศึกษา 2554 (สิงหาคม ถึง กันยายน 2554 )

ลักษณะผลงำน วิจัยการเรียนการสอน ควำมสำคัญและควำมเป็นมำของปัญหำ การเรียนการสอนในปัจจุบัน มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการเรียน การสอน มากขึ้น มีการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียนเพิ่มขึ้นจากเดิม อีกทั้งยังบู รณาการ วิชาต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับท้องถิ่น /ชุมชนที่ผู้เรียนได้อาศัยอยู่ ทาให้การเรียนรู้ของผู้เรียนมีความน่าสนใจ มากยิ่งขึ้น สามารถนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้ แต่การเรี ยนการสอน ส่วนใหญ่ก็ยังมีการดาเนิน กิจกรรมในรูปแบบภาคทฤษฏีในห้องเรียนอยู่ การปฏิบัติจริงในห้องเรียน หรือตามสถานที่จริงยังมีอยู่น้อย ทาให้ผู้เรียนส่วนใหญ่ขาดทักษะในการปฏิบัติงาน การเรียนการสอนวิชาการวิจัยการตลาด (รหัส 3202-2002) สาขาวิชาการตลาด ระดับชั้น ปวส.2 ที่ ผ่านมา เนื้อหาวิชาวิจัยการตลาดเป็นเนื้อหาที่จะต้องปฏิบัติจริง และดาเนินการเป็นขั้นตอนต่อเนื่องกัน จากการเรียนการสอนปีที่ผ่านมาพบว่า ผู้เรียนส่วนใหญ่มีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติต่ากว่าเกณฑ์ เนื่องมาจากไม่ สามารถประยุกต์ความรู้ในภาคทฤษฎี มาใช้ในการลงมือปฏิบัติจริงได้ ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาเรื่อง การพัฒนากระบวนการการจัดการเรียนรู้เทคนิค วิธีการสอนโดยการลง มือปฏิบัติ (Practice) เพื่อการพัฒนากระบวนการการจัดการเรียนรู้เทคนิค วิธีการสอนโดยการลงมือปฏิบัติ (Practice) ระดับชั้น ปวส.2/2, 2/7 สาขาวิชาการตลาด ตลอดจนปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน และเมื่อทราบผลการวิจัยในครั้งนี้จะส่งผลให้งานฝ่ายวิชาการ เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ที่เป็นประโยชน์ ต่อผู้เรียนในโอกาสต่อไป

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้เทคนิควิธีการสอนโดยการลงมื อปฏิบัติ(Practice) ของ นักศึกษาในรายวิชาการวิจัยการตลาด ระดับชั้น ปวส.2/2, 2/7 สาขาวิชาการตลาด กรอบแนวคิดในกำรวิจัย \

ผู้สอน

เทคนิควิธีการสอน โดยการลงมือปฏิบัติ

ผู้เรียน

ผลสัมฤทธิ์ แนวคิด ทฤษฎี และกำรวิจัยที่เกี่ยวข้อง ความหมายของการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สุวิทย์ มูลคา (2545) กล่าวว่า การจัดกิจกรรมโดยวิธีต่าง ๆ อย่างหลากหลายที่มุ่งให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้อย่างแท้จริง เกิดการพัฒนาตน และ สั่งสมคุณลักษณะที่จาเป็นสาหรับการเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ของประเทศชาติต่อไป การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนจึงต้องใช้เทคนิควิ ธีการ รูปแบบ การสอน หรือ กระบวนการเรียนการสอนหลากหลายวิธี แนวคิดการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ สุ วิ ท ย์ มู ล ค า (2545) วิ ธี ก ารสอนโดยการลงมื อ ปฏิ บั ติ (Practice) หมายถึ ง วิ ธี ส อนที่ ใ ห้ ประสบการณ์ตรงกับผู้เรียน โดยการให้ลงมือปฏิบัติจริง เป็นการสอนที่มุ่งให้เกิดการผสมผสานระหว่าง ทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติ ลักษณะสาคัญ การลงมือปฏิบัติมักดาเนินการภายหลังการสาธิต การทดลองหรือ การบรรยาย เป็น การฝึกฝนความรู้ความเข้าใจจากทฤษฎีที่เรียนมาโดยเน้นการฝึกทักษะ ประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอน คือ 1. ขั้นเตรีย ม ผู้สอนกาหนดจุดมุ่ ง หมายของการฝึก ปฏิบัติ รายละเอียดของขั้นตอน การทางาน เตรียมสื่อต่าง ๆ เช่น วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือใบงานหรือคู่มือการปฏิบัติงาน 2. ขั้นดาเนินการ ผู้สอนให้ความรู้และทักษะที่เป็นพื้นฐานในการปฏิบัติ มอบหมาย งานที่ปฏิบัติ เป็นกลุ่มหรือรายบุคคล กาหนดหัวข้อการรายงาน หรือการบันทึกผลการปฏิบัติงานของ ผู้เรียน

3. ขั้นสรุป ผู้สอนและผู้เรียน ช่วยกันสรุปกิจกรรมการปฏิบัติงาน 4. ขั้นประเมินผล สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน เช่น ความสนใจ ความร่วมมือ ความเป็นระเบียบ การประหยัด การใช้และการเก็บรักษาเครื่องมือ และการตรวจผลงาน เช่น คุณภาพของงาน ความริเริ่ม ความ ประณีตสวยงาม ระเบียบวิธีวิจัย ประชำกร ที่ใช้ในการวิจัยเป็น นักศึกษาในรายวิชาการวิจัยการตลาด ระดับชั้น ปวส.2/2, 2/7 สาขาวิชาการตลาด จานวน 19 คน ตัวแปร ตัวแปรอิสระ เทคนิควิธีการสอนโดยการลงมือปฏิบัติ (Practice) ตัวแปรตำม ผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติกิจกรรมรายวิชาการวิจัยการตลาด ระดับชั้น ปวส.2/2, 2/7 สาขาวิชาการตลาด จานวน 19 คน เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย ได้แก่ - แผนการสอนการใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้เทคนิควิธีการสอนโดยการลงมือปฏิบัติ - แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน - ใบงาน กำรรวบรวมกำรวิจัย ดาเนินการโดยใช้แผนการสอนดาเนินการจัดการเรียนรู้ตามขั้นตอน ใช้เวลาในการวิจัยทดลอง 10 ชั่วโมง ตั้งแต่วันที่ 8 สิงหาคม ถึง 16 กันยายน 2554 กำรรวบรวมและกำรวิเครำะห์ข้อมูล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน หาค่าเฉลี่ยทางสถิติ มีการประเมินเกี่ยวกับ 1. การเตรียมความพร้อม 2. การนาเสนอโครงร่างวิจัย 3. การแจกแบบสอบถาม 4. การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า 5. การรายงานผลการวิจัย โดยใช้มำตรำส่วนประเมินค่ำ 5 ระดับ ประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน ได้แก่ ระดับคะแนน 5 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมดีมากที่สุด

ระดับคะแนน 4 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมดีมาก ระดับคะแนน 3 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมดีปานกลาง ระดับคะแนน 2 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมดีน้อย ระดับคะแนน 1 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมดีน้อยที่สุด 2 ใบงาน หาค่าเฉลี่ยทางสถิติ เป็นการประเมินเกี่ยวกับ 1. ปฏิบัติการเขียนรายงานผลการวิจัยตลาด 2. รายงานผลการวิจัยตลาดมีรายละเอียดที่ชัดเจน 3. ทางานถูกต้องและส่งงานตรงตามเวลาที่กาหนด เกณฑ์กำรให้คะแนนในแต่ละรำยกำรมี ดังนี้ ดีมาก ได้ 5 ดี ได้ 4 ปานกลาง ได้ 3 น้อย ได้ 2 ควรปรับปรุง ได้ 1 สถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ 1. แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน หาค่าเฉลี่ยทางสถิติ 2. ใบงาน หาค่าเฉลี่ยทางสถิติ ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล 1. ผลการวิเคราะห์ข้ อมู ล พฤติก รรมการปฏิบัติงานของนักศึก ษาในรายวิชาการวิจัย การตลาด ระดับชั้น ปวส.2/2, 2/7 สาขาวิชาการตลาด ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนา พณิชยการ เชียงใหม่ ตำรำงที่ 1

1. 2. 3. 4. 5.

แสดงค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักศึกษาในรายวิ ชาการวิจัยการตลาด ระดับชั้น ปวส.2/2, 2/7 สาขาวิชาการตลาด

รำยกำรประเมิน การเตรียมความพร้อม การนาเสนอโครงร่างวิจัย การแจกแบบสอบถาม การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า การรายงานผลการวิจัย

ค่ำเฉลี่ย 3.10 3.78 4.73 3.31 4.47

ระดับพฤติกรรม ปานกลาง มาก มากที่สุด ปานกลาง มาก

จากตารางที่ 1 พบว่า นักศึกษา มีพฤติกรรมการปฏิบัติงาน ในรายวิชาการวิจัยการตลาด ระดับดี มากที่สุด เรื่องการแจกแบบสอบถาม ที่ค่าเฉลี่ย 4.73 ระดับมาก เรื่อง การรายงานผลการวิจัย ค่าเฉลี่ย 4.47 และการนาเสนอโครงร่างวิจัย ค่าเฉลี่ย 3.78 ระดับปานกลาง เรื่อง การแก้ไข ปัญหาเฉพาะหน้า ค่าเฉลี่ย 3.31 และการเตรียมความพร้อม ค่าเฉลี่ย 3.10 2. ผลการวิเคราะห์การทาใบงานของนักศึกษาในรายวิชาการวิจัยการตลาด ระดับชั้น ปวส.2/2, 2/7 สาขาวิชาการตลาด ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่ ตำรำงที่ 2

แสดงค่าเฉลี่ยการทาใบงานของนักศึกษาในรายวิชาการวิจัยการตลาด ระดับชั้น ปวส.2/2, 2/7 สาขาวิชาการตลาด รำยกำร ใบงำน

ประชำกร 19

คะแนนเต็ม 20

คะแนนเฉลี่ย 17.63

จากตารางที่ 2 พบว่าคะแนนจากการทาใบงาน มีคะแนนเฉลี่ย 17.63

สรุปอภิปรำยผลกำรวิจัยและข้อเสนอแนะ สรุปผลกำรวิจัย การวิ จั ย เรื่ อ ง การพั ฒ นากระบวนการจั ด การเรี ย นรู้ เ ทคนิ ควิ ธี ก ารสอนโดยการลงมื อ ปฏิ บั ติ (Practice) ของนักศึกษาในรายวิชาการวิจัยการตลาด ระดับชั้น ปวส.2/2, 2/7 สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัย เทคโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 1/2554 จานวน 19 คน ได้ใช้เครื่องมือประกอบการวิจัย คือ แผนการสอน แบบสัง เกตพฤติก รรมการปฏิบัติงานและใบงาน ซึ่งได้ผลการวิจัย คือ นักศึก ษา มี พฤติกรรมการปฏิบัติงาน ระดับดีมากที่สุด เรื่องการแจกแบบสอบถาม ค่าเฉลี่ ย 4.73 ระดับมาก เรื่อง การ รายงานผลการวิจัย ค่าเฉลี่ย 4.47 และการนาเสนอโครงร่างวิจัย ค่าเฉลี่ย 3.78 ระดับปานกลาง เรื่อง การ แก้ไข ปัญหาเฉพาะหน้า ค่าเฉลี่ย 3.31 และการเตรียมความพร้อม ค่าเฉลี่ย 3.10 และมีคะแนนจากการทาใบ งาน เฉลี่ย 17.63

อภิปรำยผล จากการนาการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้เทคนิควิธีการสอนโดยการลงมือปฏิบัติ มาทดลอง ใช้กับนักศึกษาในรายวิชาการวิจัยการตลาด ระดับชั้น ปวส.2/2, 2/7 สาขาวิชาการตลาด ตามขั้นตอน คือ ขั้น เตรียม ขั้นดาเนินการ ขั้นสรุป และขั้นประเมินผล นักศึกษามีปัญหาเรื่องการเตรีย มความพร้อมในการ ทางาน และการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า เนื่องจากขาดทักษะการทางาน, ขาดความกระตือรือร้นในการทางาน, การขาดเรียนและขาดทักษะการทางานร่วมกัน ประกอบกับเนื้อหาวิชาเป็นการทางานที่ต่อเนื่องเป็นลาดับ ขั้นตอน ซึ่งขั้นตอนที่ยากที่สุด คือ การให้นักศึกษา หาหัว ข้อวิจัยที่จะศึกษาให้ได้ก่อน ดังนั้นเมื่อนักศึกษา ยังไม่มีหัวข้อวิจัยจึงเป็นเรื่องยากที่จะดาเนินการ ในขั้นต่อไปได้ ผู้สอนจึงต้องกระตุ้นให้นักศึกษาผ่าน ขั้นตอนแรกนี้ไปพร้อม ๆ กันเพื่อไม่ให้เกิดการท้อที่จะดาเนินการขั้นตอนต่อไป และเมื่อนักศึกษามีหัวข้อ วิจัยและขั้นตอนการทางานของแค่ละคู่ดาเนินไปได้อย่างดี จะมีอยู่บ้างบางคู่ที่ไม่เข้าใจการทาวิจัยในบาง หัวข้ อผู้สอนจึง ต้องแนะนาเพิ่ ม เติม โดยรวมแล้วผลการปฏิบัติงานออกมาอยู่ ในเกณฑ์ดี สอดคล้องกั บ สุจิตรา ขุนคา (41 : 2553) ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์หาเรียนเป็นไปในทิศทางบวก และมีทักษะการปฏิบัติงาน ธุรกิจได้ดีขึ้น ข้อเสนอแนะ การจัดการเรียนรู้เทคนิควิธีการสอนโดยการลงมือปฏิบัติ ในครั้งต่อไป ควรจับคู่นักศึกษาโดยควร คัดนักศึกษาออกเป็นกลุ่มเรียนดี กับกลุ่มเรียนอ่อน แล้วคละกันเพื่อไม่ให้มีปัญหาในการปฏิบัติกิจกรรม

เอกสำรอ้ำงอิง สุจิตรา ขุนคา. กำรจัดกำรเรียนรู้เพื่อพัฒนำทักษะกำรปฏิบัติงำน รำยวิชำกำรงำนอำชีพและเทคโนโลยีงำน ธุรกิจ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 โรงเรียนแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ : การค้นคว้าอิสระ ศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2553 สุวิทย์ มูลคา และ อรทัย มูลคา. 21 วิธี กำรจัดกำรเรียนรู้ : เพื่อพัฒนำกระบวนกำรคิด. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์ภาพพิมพ์ 2545.