แผนการ สอน คณิตศาสตร์ ป.5 หลักสูตร 2562

แผนการสอนคณิตศาสตร์ ป.1 – ม.5 คลิกที่นี่…

      สวัสดีครับวันนี้เว็บไซครูอัพเดตดอทคอมขอนำสิ่งดีดีมาฝากคุณครูเช่นเคย โดยในวันนี้ครูอัพเดตดอทคอม ขอนำเสนอแผนการสอนจากอจท. แจกฟรี เป็น แผนการสอน คณิตศาสตร์ ป.1 – ม.5 ซึ่งเว็บไซต์ครูอัพเดตดอทคอม
ต้องขอขอบคุณทาง สำนักพิมพ์ อจท.  ที่เปิดโอกาสให้ทุกท่านได้ดาวน์โหลด แผนการสอนคณิตศาสตร์ ป.1 – ม.5
ซึ่งคุณครูทุกท่านคงปฏิเสธไม่ได้ว่า  แผนการสอนก็คืออาวุธของคุณครูในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ให้มีประสิทธิภาพนั่นเองครับ…

ค้นหาแผนการสอนรายวิชาอื่น คลิกที่นี่

แผนการ สอน คณิตศาสตร์ ป.5 หลักสูตร 2562
แผนการสอน คณิตศาสตร์ ป.1 – ม.5

ดาวน์โหลดแผนการ สอนคณิตศาสตร์ ป.1-ม.5 ได้ที่นี่…

ชั้นประถมศึกษา

แผนการสอนคณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐาน ชั้นป.1 เล่ม 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐาน ชั้นป.1 เล่ม 2

แผนการสอนคณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐาน ชั้นป.2

แผนการ สอน คณิตศาสตร์ ป.5 หลักสูตร 2562

แผนการสอนคณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐาน ชั้นป.3

แผนการสอนคณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐาน ชั้นป.4  เล่ม 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐาน ชั้นป.4  เล่ม 2

แผนการสอนคณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐาน ชั้นป.5

แผนการสอนคณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐาน ชั้นป.6

ชั้นมัธยมศึกษา

แผนการสอนคณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐาน ชั้นม.1เล่ม 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐาน ชั้นม.1เล่ม 2

แผนการสอนคณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐาน ชั้นม.2 เล่ม 1

แผนการสอนคณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐาน ชั้นม.3 เล่ม 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐาน ชั้นม.3 เล่ม 2

แผนการสอนคณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐาน ชั้นม.4

แผนการสอนคณิตศาสตร์ รายวิชาพื้นฐาน ชั้นม.5

วิธีการดาวน์โหลด คลิกที่นี่ 

ดาวน์โหลดที่ลิ้งก์นี้  http://www.aksorn.com/download/

ขอบคุณที่มา  สำนักพิมพ์ อจท.

แผนการ สอน คณิตศาสตร์ ป.5 หลักสูตร 2562

บันทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรยี นวดั พืชนมิ ิต (คำสวัสดร์ิ าษฎรบ์ ำรุง) ที…่ …………………วันที่ ………… เดือน …………………….. พ.ศ.๒๕๖๓ เร่ือง ขออนุญาตใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ เรียน ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นวดั พืชนิมติ (คำสวสั ด์ิราษฎร์บำรงุ ) ด้วยข้าพเจ้า นางสาวแพรวรุ่ง ศรีประภา ตำแหน่ง ครู โรงเรียนวัดพืชนิมิต (คำสวัสดิ์ราษฎร์ บำรุง) ได้รบั มอบหมายใหป้ ฏิบตั ิหน้าที่การสอน รายวชิ าคณติ ศาสตร์ รหัสวชิ า ค๑๕๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๕ ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ บัดนี้ ข้าพเจ้าได้จัดเตรียมการสอน และจัดทำแผนการสอนโดยใช้กระบวนการการจัดการเรียนรู้ ตามหลกั การพฒั นาสมอง (Brain-Based learning: BBL) ข้าพเจ้าจึงขออนุญาตดำเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่จัดเตรียมไว้ ซึ่งแนบเอกสาร หน่วยการเรียนที่ ๑๐ ชื่อหน่วย ปริมาตรและความจุของทรงสี่เหลี่ยม เวลาเรียน ๑๗ ชั่วโมง มาพร้อมกับ เอกสารนี้ จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ ลงชอ่ื (นางสาวแพรวรงุ่ ศรีประภา) ตำแหน่ง ครู ลงชื่อ (นางสาวแพรวร่งุ ศรปี ระภา) หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ความเห็นผอู้ ำนวยการโรงเรยี น อนุญาต ไมอ่ นุญาต เพราะ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................................................... .... ลงชอ่ื ( นางสาวกนั ยาภัทร ภทั รโสตถิ ) ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นวัดพืชนมิ ิต (คำสวสั ดิ์ราษฎรบ์ ำรงุ ) ............./................../.............

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑๐ เรอ่ื ง ปรมิ าตรและความจขุ องทรงสเี่ หลย่ี ม ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๕ รายวชิ าคณติ ศาสตร์ รหสั ค๑๕๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ครผู สู้ อน นางสาวแพรวรุ่ง ศรีประภา โรงเรยี นวดั พชื นิมิต (คำสวสั ด์ิราษฎร์บำรงุ ) สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต ๑ สำนักานคณะกรรมการการศึกษาขึ้นพ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ค๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง ศึกษาฝึกทักษะการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การบวก การลบ การคูณ และการหารของ โจทย์ปัญหาจำนวนนับและ 0 เปรียบเทียบเศษส่วนและจำนวนคละ การบวก การลบ การคูณ การหาร การ บวก ลบ คูณ หารระคน และการแก้โจทย์ปัญหาของเศษส่วนและจำนวนคละ ความสัมพันธ์ระหว่างเศษส่วน และทศนิยม คา่ ประมาณของทศนยิ มไม่เกิน 3 ตำแหนง่ ทเี่ ป็นจำนวนเต็ม ทศนยิ ม 1 ตำแหนง่ และ 2 ตำแหน่ง การใช้เครื่องหมาย ≈ การบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม การประมาณผลลัพธ์ การแก้โจทย์ปัญหา เกี่ยวกับทศนิยม ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาว เซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตร กับเมตร โดยใช้ความรู้เรื่องทศนิยม ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยน้ำหนัก กิโลกรัมกับกรัมโดยใช้ความรู้เรื่อง ทศนิยม การแก้โจทย์ปัญหาเกยี่ วกบั ความยาวและนำ้ หนักโดยใช้ความรู้เรื่องการเปล่ยี นหนว่ ยและทศนยิ ม การ แก้โจทยป์ ญั หาโดยใชบ้ ญั ญัติไตรยางศ์ การอา่ นและการเขียนรอ้ ยละหรือเปอร์เซน็ ต์ การแกโ้ จทยป์ ญั หาร้อยละ การหาปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ความสัมพันธ์ระหว่าง มลิ ลิลติ ร ลติ ร ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร และลกู บาศกเ์ มตร การแกโ้ จทย์ปญั หาเกยี่ วกบั ปรมิ าตรของทรงสี่เหล่ียมมุม ฉากและความจุของภาชนะทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก เส้นตั้งฉากและสัญลักษณ์แสดงการตั้งฉาก เส้นขนานและ สัญลักษณ์แสดงการขนาน การสร้างเส้นขนาน มุมแย้ง มุมภายในและมุมภายนอกที่อยู่บนข้างเดียวกันของ เส้นตัดขวาง (Transversal) ชนิดและสมบัติของรูปสี่เหลี่ยม การสร้างรูปสี่เหลี่ยม ความยาวรอบรูปของรูป สี่เหลี่ยม พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน และการแก้โจทย์ปัญหา ลักษณะและ ส่วนตา่ ง ๆ ของปรซิ มึ การอ่านและการเขียนแผนภูมิแทง่ การอ่านกราฟเสน้ โดยใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่าง เหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่าง ถูกต้องและเหมาะสม เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์ กับศาสตร์อื่นๆ มี ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ เพ่อื ใหค้ ุณคา่ และมีเจตคติทดี่ ีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานอยา่ งเป็นระบบ มีระเบยี บ รอบคอบ มี ความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ เชื่อมั่นในตนเอง รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยูอ่ ยา่ งพอเพียง ม่งุ มัน่ ในการทำงาน รักความเป็นไทย และ มจี ติ สาธารณะ รหัสตวั ช้วี ดั ค ๑.๑ ป.๕/๑ ป.๕/2 ป.๕/3 ป.๕/4 ป.๕/5 ป.๕/6 ป.๕/7 ป.๕/8 ป.๕/9 ค 2.1 ป.๕/๑ ป.๕/2 ป.๕/3 ป.๕/4 ค 2.2 ป.๕/๑ ป.๕/2 ป.๕/3 ป.๕/4 ค 3.1 ป.๕/๑ ป.๕/2 รวมทงั้ หมด ๑๙ ตัวชว้ี ดั

หน่วยท่ี มฐ ตัวช้วี ดั ตารางวเิ คราะห์หลักสูตร/ออ รหัส ค๑๕๑๐๑ วชิ าคณิตศาสตร์ ชัน้ ประถ ครูผูส้ อน นางสาวแพร จดุ ประสงค์การเรียนรู้ สา หนว่ ยที่ ๑๐ ค ป.5/4 บอกลักษณะของปริซึม ๑.บอกลกั ษณะของรูป ๑.ชน ปรมิ าตรและ ๒.๒ ส่เี หล่ียมมุมฉากได้ (K) เรขา ความจขุ องทรง สเ่ี หลี่ยม ๒.เปรียบเทยี บปริมาตรได้ และก วา่ มากกวา่ หรือน้อยกวา่ (P) รปู ส ๑.บอกลักษณะและส่วน ๑.รูป ตา่ ง ๆ ของปริซึมได้ (K) ๒.เขียนสว่ นประกอบตา่ ง ๆ ของปรซิ ึมได้ (P) ๑.บอกลักษณะและสว่ น ๑.รูป ตา่ ง ๆ ของทรงสเ่ี หลยี่ มมุม มติ ิ แ ฉากได้ (K) สามม ๒.เขียนรูปทรงสเ่ี หล่ียมมุม ฉากได้ (P) ๑.บอกวิธกี ารเขยี นหนว่ ย ๑.หน การหาปรมิ าตรและความจุ ความ ได้ (K) มมุ ฉ ๒.เขยี นหน่วยการหา ปรมิ าตรและความจุและใช้ อักษรย่อ ได้ (P)

อกแบบหน่วยการเรียนรู้ ถมศึกษาปีท่ี ๕ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ รวรุ่ง ศรปี ระภา าระการเรยี นรู้ กระบวนการ ชน้ิ งาน สื่อการสอน วดั ผล/ เวลา /ภาระงาน ประเมิน เรียน นดิ ของรูป อธบิ าย - ๑.แบบจำลอง ๑.ทดสอบ ๒ าคณติ สองมิติ ๒.หลอดดูด ก่อนเรียน การหาพื้นที่ของ ๓.ลวดกำมะหยี่ ๒.ตรวจ สี่เหลีย่ มมุมฉาก ๔.แผนภาพ แบบฝกึ หดั เศษสว่ น ปปรซิ มึ - ๑.แบบจำลองรปู ๑.ตรวจ ๒ เรขาคณติ สามมิติ แบบฝึกหัด ชนิดตา่ ง ๆ ปเรขาคณติ สอง - ๑.กระดาษจุดไอโซ ๑.ตรวจ ๒ และรปู เรขาคณิต เมตรกิ แบบฝกึ หดั มติ ิ ปริซมึ ๒.กระดาษจุด นว่ ยปรมิ าตรและ - ๑.ลูกบาศกห์ นว่ ย ๑.ตรวจ ๒ มจุทรงสี่เหลย่ี ม ฉากและลูกบาศก์ ๒.ลกู บาศก์ แบบฝกึ หัด เซนตเิ มตร ๓.ลกู บาศก์เมตร

หนว่ ยท่ี มฐ ตวั ช้วี ดั จุดประสงค์การเรยี นรู้ สา ค ป.5/3 แสดงวธิ ีหาคำตอบของ ๑.บอกวธิ กี ารหาปริมาตร ๑.หา ๒.๑ โจทยป์ ัญหาเก่ยี วกบั ปรมิ าตร ทรงส่ีเหล่ียมมุมฉากได้ (K) ความ ๒.เขยี นแสดงการหา มุมฉ ของทรงสเ่ี หลีย่ ม มุมฉากและ ปรมิ าตรทรงส่ีเหล่ียมมุม ความจขุ อง ภาชนะทรง ฉากโดยการนบั ลูกบาศก์ได้ สเ่ี หลย่ี มมมุ ฉาก (P) ๑.บอกหนว่ ยของปริมาตร ๑.คว และความจุได้ (K) หน่ว ๒.เขียนแสดงการหาหนว่ ย และค ของปริมาตรและความจุ ได้ (P) ๑.บอกวิธีการแกโ้ จทย์ ๑.โจ ปญั หาเกีย่ วกับปริมาตรของ ปริม ทรงส่เี หล่ียมมุมฉากและ ทรงส ความจขุ องภาชนะทรง และล สเ่ี หลี่ยมมมุ ฉากได้ (K) ๒.เขยี นแสดงการแก้โจทย์ ปัญหาเกย่ี วกับปริมาตรของ ทรงสเี่ หลีย่ มมุมฉากและ ความจขุ องภาชนะทรง สเ่ี หลีย่ มมมุ ฉากได้ (P) ๓.ออกแบบบรรจุภัณฑ์ สินค้า (P)

าระการเรียนรู้ กระบวนการ ช้นิ งาน สอื่ การสอน วัดผล/ เวลา /ภาระงาน ประเมนิ เรียน าปรมิ าตรและ อธิบาย - ๑.ลูกบาศก์หน่วย ๑.ตรวจ ๓ มจทุ รงส่เี หล่ียม ฉากและลกู บาศก์ ๒.ลูกบาศก์ แบบฝกึ หัด เซนตเิ มตร ๓.ลูกบาศก์เมตร ๔.กล่องกระดาษ วามสัมพันธข์ อง - - ๑.ตรวจ ๑ วยของปรมิ าตร แบบฝึกหดั ความจุ จทยป์ ัญหา - ๑.แถบโจทย์ปัญหา ๑.ทดสอบ ๕ มาตรและความจุ ส่เี หลี่ยมมมุ ฉาก ๒.ภาพทรงสี่เหล่ียม กอ่ นเรยี น ลูกบาศก์ ๒.ตรวจ มมุ ฉาก แบบฝึกหดั

โรงเรียนวัดพชื นิมติ (คำสวัสดิ์ราษฎร์บำรงุ ) โครงการสอนปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ รายวิชา คณติ ศาสตร์ รหัส ค๑๕๑๐๑ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ เวลาเรยี น ๔ ชัว่ โมง/สัปดาห์ ครผู ูส้ อน นางสาวแพรวรุ่ง ศรีประภา สปั ดาห์ คาบท่ี หน่วยการเรยี นรู้/เรือ่ ง มฐ/ตัวชีว้ ัด ๑-๕ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๑ เศษส่วน ค ๑.๑ ป.๕/๓ ๖-๙ ๑-๒ การเปรียบเทียบเศษสว่ นและจำนวนคละ ป.๕/๔ ๙-๑๔ ๓-๔ การเรียงลำดบั เศษส่วนและจำนวนคละ ค ๑.๑ ป. ๕/๕ ๕-๖ การบวก เศษสว่ นและจำนวนคละ ป. ๔/๙ ๗-๘ การลบ เศษส่วนและจำนวนคละ ค ๑.๑ ป.๕/๑ ๙-๑๐ การคูณจำนวนนบั กับเศษสว่ น ป.๕/๖ ๑๑- การคูณเศษสว่ นกับเศษสว่ น ป.๕/๗ ๑๑๓๒- การคูณจำนวนคละ ป. ๔/๑๒ ๑๖๕ สว่ นกลับของเศษส่วน ๑๗ การหารจำนวนนับกบั เศษส่วน ค ๒.ป๑.๕ป/.๑๕/๑ ๑๘- การหารเศษสว่ นกับเศษส่วน ป.๕/ป๒ป.๕.๕//๒๒ ๒๑๐๙- การหารจำนวนคละ หน๒ว่ ๑ยการเรียนรู้ท่ี ๒ โจทยป์ ัญหาเศษสว่ น ๑-๒ โจทยป์ ัญหาการบวกเศษส่วน ๓-๔ โจทย์ปญั หาการลบเศษส่วน ๕-๖ โจทย์ปัญหาการคูณเศษสว่ น ๗-๘ โจทย์ปัญหาการหารเศษสว่ น ๙-๑๐ การบวก ลบ คูณ หารระคน ๑๑- โจทย์ปญั หาการบวก ลบ คณู หารระคน หน๑ว่ ๓ยการเรยี นรูท้ ี่ ๓ ทศนยิ ม ๑-๓ การเขยี นเศษส่วนที่มีตวั สว่ นเป็นตวั ประกอบ ๑๐ ๑๐๐ หรอื ๑,๐๐๐ ๔-๗ การหาคา่ ประมาณ ๘-๙ การคณู โดยใชค้ วามสัมพันธ์ระหว่างทศนิยม ๑๐- การคณู แนวตั้ง ๑๑๔๓- การคณู สมบตั ิการสลบั ที่ ๑๑๖๕- การหารโดยการเขยี นในรปู ทศนิยม ๑๗

สัปดาห์ คาบที่ หน่วยการเรยี นรู้/เร่ือง มฐ/ตัวช้วี ัด (ต่อ) ๑๕-๑๗ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๓ ทศนยิ ม ค ๑.๑ ป.๕/๘ ๑๙-๒๐ ค ๓.๑ ป.๕/๑ ๑๘ การหารโดยต้ังหาร ๒๑-๒๒ ๑๙ การหารทศนยิ มกบั จำนวนนบั ป.๕/๒ ๒๒-๒๕ ๒๐- การหารดว้ ย ๑๐, ๑๐๐, ๑,๐๐๐ ๒๑๒ ทศนิยมกับการวัด ค ๑.๑ ป.๕/๑ ๒๖-๒๙ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๔ โจทย์ปัญหาทศนิยม ค ๑.๑ ป.๕/๙ ๑-๔ โจทยป์ ัญหาการคูณ ทศนยิ ม ๓๐-๓๕ ๕-๘ โจทย์ปญั หาการหาร ทศนิยม ค ๒.๒ ป.๕/๑ ๙-๑๒ โจทยป์ ัญหาการคูณ และหารทศนยิ ม หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๕ การนำเสนอขอ้ มลู ค ๒.๑ ป.๕/๔ ๑-๓ การอ่านแผนภูมแิ ท่งทม่ี กี ารย่นระยะ ค ๒.๒ ป.๕/๒ ๔-๕ การอ่านแผนภูมิแทง่ เปรียบเทียบ ๖ การเขียนแผนภมู แิ ทง่ ท่ีมีการย่นระยะ ป.๕/๓ ๗ การเขยี นแผนภูมแิ ทง่ เปรียบเทียบ ๘-๙ การอ่าน และเขยี นกราฟเสน้ ๑๐- โจทย์ปญั หาการนำเสนอขอ้ มูล หน๑่ว๒ยการเรียนรูท้ ี่ ๖ บัญญัตไิ ตรยางศ์ ๑-๙ การแก้โจทยป์ ัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางค์ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๗ ร้อยละ ๑-๓ การอา่ นและเขยี นร้อยละหรือเปอร์เซน็ ต์ ๔-๖ ร้อยละของจำนวนนบั ๗-๙ โจทย์ปญั หารอ้ ยละ ๑๐- โจทย์ปญั หาการลดราคา ๑๑๔๓- โจทยป์ ัญหากำไร ขาดทนุ หน๑ว่ ๗ยการเรียนรูท้ ี่ ๘ เส้นขนาน ๑-๓ เสน้ ต้ังฉากและเสน้ ขนาน ๔-๕ มมุ ทเ่ี กิดจากเส้นตัดขวางตดั เสน้ ตรงคูห่ นงึ่ ๖-๙ สมบัตขิ องเสน้ ขนาน ๑๐- การสร้างเสน้ ขนาน หน๑่ว๓ยการเรยี นรู้ท่ี ๙ รปู สีเ่ หลี่ยม ๑-๓ ชนดิ และสมบตั ิของรปู สเ่ี หล่ยี ม ๔-๕ สมบัตขิ องรปู สี่เหล่ยี มเกีย่ วกับเสน้ ทแยงมุม ๖-๘ การสรา้ งรูปส่ีเหลี่ยมเมื่อกำหนดความยาวของดา้ นและ ขนาดของมุม ๙-๑๐ การสรา้ งรปู สเี่ หลี่ยมเมื่อกำหนดความยาวของเส้นทแยง มมุ

สัปดาห์ คาบที่ หนว่ ยการเรียนรู้/เร่อื ง มฐ/ตัวชีว้ ัด ๓๖-๔๐ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๙ รปู สีเ่ หล่ยี ม ค ๒.๑ ป.๕/๓ ค ๒.๒ ป.๕/๔ ๑๑- พืน้ ที่ของรูปสีเ่ หลย่ี มด้านขนาน ไม๑๑๑่เก๓๔๕๒นิ- ๑๐พพ๐้ืืน้น,๐ทท๐ีขีข่่ ๐อองงรรปูปู สหเี่ลหาลย่ียเหมลขีย่นมมเปียกปนู ๑๖- ความยาวรอบรูปของรปู ส่ีเหล่ียม ๑๑๘๗- โจทยป์ ญั หาเก่ียวกับพ้ืนทขี่ องรูปสเี่ หลี่ยมดา้ นขนาน ๒๒๑๐- โจทย์ปัญหาเกยี่ วกบั พน้ื ทีข่ องรูปสีเ่ หล่ยี มดา้ นขนมเปียก ๒๔ ปูน หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑๐ ปริมาตรและความจุของทรงสีเ่ หลีย่ ม ๑-๒ รปู เรขาคณติ สองมิติและสามมติ ิ ๓-๔ ปรซิ มึ ๕-๖ ทรงสเี่ หลยี่ มมมุ ฉาก ๗-๘ หน่วยของปริมาตรและการหาปรมิ าตร ๙-๑๑ การหาปริมาตรและความจุทรงสเี่ หลย่ี มมุมฉาก ๑๒- ความสัมพันธข์ องหนว่ ยปริมาตร ๑๑๕๔- โจทยป์ ัญหาปริมาตรและความจุ สอ๑บ๗ปลายภาค ๑-๒ ทบทวนบทเรยี น ๓ ทบทวนบทเรียน ๔ สอบปลายภาค ๕ สอบปลายภาค เทคนคิ /กระบวนการ/ วธิ ีการสอน การจัดการเรยี นรู้ตามหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based learning: BBL) ขั้นตอนที่ ๑ : เตรียมความพร้อม เพื่อเป็นการกระตุน้ สมอง ตามหลักการทำงานของสมอง เมื่อมีการเคลือ่ นไหว ร่างกายอย่างมีความสุข สมองจะหลั่งสารเคมีที่ชื่อว่า เซโรโทนิน (Serotonin) ซึ่งสารนี้มีความสำคัญมาก ช่วยให้มีจิตใจท่ี สงบและเกิดสมาธิ ซึ่งจะแตกต่างจาก เอนดอร์ฟิน (Endorphin) และ โดพามีน (Dopamine) ที่จะช่วยให้มีความสุขและ สนุกสนาน ซึ่งขั้นตอนนี้นับว่าเป็นขั้นตอนที่สำคัญ โดยทางโรงเรียนได้กำหนดไว้ว่า ทุกชั่วโมงที่ครูเข้าสอน ครูจะต้อง Warm Up กอ่ นเสมอ โดยใช้เวลาไม่เกนิ ๕ นาที ขั้นตอนที่ ๒ : เรียนรู้ ในข้นั ตอนนจี้ ะคำนึงถึงหลักการทำงานของสมองทีว่ ่า “เรียนร้จู ากง่ายไปหายาก เรยี นรู้จาก ของจริง และจากการสัมผัส” จากการศึกษาทางประสาทวิทยาศาสตร์พบว่า “มือ” เป็นอวัยวะที่มีประสาทสัมผัสที่ส่งผล ต่อการเรียนรู้ได้ดีที่สุด รองลงมาคือ “ปาก” นั่นก็หมายถึง ต้องให้เด็กพูด หรือสื่อสาร การสื่อสารจะช่วยให้เด็กสามารถ เชื่อมโยงเรื่องได้ ดังนั้น การออกแบบรูปแบบการสอน สื่อการสอน คุณครูต้องคำนึงถึงหลักการทำงานของสมองอยา่ งมาก

การเรียนการสอนจึงจะประสบความสำเร็จ ในขั้นตอนที่ ๒ นี้ มีขั้นตอนย่อยที่สำคัญหนึ่งคือ “การสรุปในแต่ละชั่วโมง” ทางโรงเรยี นได้สนบั สนนุ ให้มีการฝึกอบรม Graphic Organizer ใหแ้ กค่ ุณครูทกุ กลุ่มสาระ ตลอดจนหนงั สอื ทีเ่ ก่ียวข้องจาก ต่างประเทศ เพ่ือใหค้ ุณครใู ช้เป็นเคร่ืองมือในการสรุปทีช่ ่วยใหเ้ ด็กเกดิ ความสนกุ เกดิ การเรียนรู้ และจดจำได้ง่ายขึ้น ขัน้ ตอนท่ี ๓ : ขน้ั การฝึก ขัน้ นจ้ี ะสอดคลอ้ งกับหลักการทำงานของสมองท่วี า่ “สมองจะจดจำได้ดีนำไปสู่ความจำ ระยะยาว (Long-term Memory) ตอ้ งผา่ นกระบวนการฝึกซ้ำๆ” คำวา่ “ซำ้ ๆ” ในทน่ี ี้ไมไ่ ด้หมายถึง การทำโจทย์เดิมซ้ำๆ แต่หมายถึงการใช้หลักการ เช่น หลักการบวก ก็นำไปใช้กับการบวกที่แตกต่างกันออกไปในโจทย์ คุณครูจึงจำเป็นต้อง ออกแบบใบงานท่ีแตกตา่ งออกไป เพือ่ ให้นักเรียนไดฝ้ กึ ฝนเรือ่ ย ๆ ขั้นตอนที่ ๔ : ขั้นการสรุป ขั้นนี้เป็นการสรุปเมื่อจบบทเรียนหรือหน่วย ซึ่งแตกต่างจากขั้นตอนที่ ๒ ซึ่งเป็นการ สรุปในแต่ละชั่วโมง ในขั้นตอนนี้เป็นการเชื่อมโยงความรู้ทั้งหน่วย โดยใช้ Graphic Organizer ฝึกให้นักเรียนเชื่อมโยง ความรภู้ ายในบทเรยี น สอดคล้องกับหลักการทำงานของสมองท่วี า่ “สมองเรียนรู้เป็นองคร์ วม” ซ่งึ ข้ันตอนน้ีมีความสำคัญ ตอ่ เด็กมาก และเปน็ ขัน้ ตอนที่คอ่ นขา้ งยาก ครเู องกจ็ ำเป็นตอ้ งฝกึ ฝนบ่อยๆ เชน่ กนั ขั้นตอนที่ ๕ : ขั้นการประยุกต์ใช้ทันทีทันใด การที่เด็กเรียนแล้วสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้นั้น ทำให้เกิดการ เรียนรูไ้ ดถ้ ึงร้อยละ ๙๐ ดังนนั้ เม่อื จบบทเรยี น คณุ ครตู ้องคดิ ตอ้ งออกแบบ เชือ่ มโยงความรูท้ ั้งหน่วย นำข้อสอบมาให้เด็ก ทดลองทำ การวดั และประเมินผล วธิ กี ารเกบ็ คะแนน คะแนนระหวา่ งภาค : ปลายภาค = ๗๐ : ๓๐ โดยแบ่งดงั น้ี เร่ืองที่เก็บคะแนน คะแนน ประเภทเครอ่ื งมือ ๑.คะแนนเกบ็ กอ่ นกลางปี ๒๕ ๑.๑ ผลงานนกั เรียน ๑๕ สมุด แบบฝึกหัดคณติ ศาสตร์ สสวท. ชนิ้ งาน ๑.๒ ทดสอบหลงั เรียน ๑๐ แบบทดสอบหลังเรียน ๒. สอบกลางปี ๒๐ แบบทดสอบ ๓.คะแนนหลงั กลางปี ๒๕ ๓.๑ ผลงานนกั เรียน ๑๕ สมดุ แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ สสวท. ชน้ิ งาน ๓.๒ ทดสอบหลังเรียน ๑๐ แบบทดสอบหลังเรียน ๔.สอบปลายปี ๓๐ ๑๐๐ รวม สื่อ/แหล่งเรยี นรู้ -สือ่ ประจำหน่วยการจดั การเรียนรู้ -หนงั สอื เรียนคณิตศาสตร์ และแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ สสวท

แผนผงั มโนทศั น์เปา้ หมายการเรียนร/ู้ หลกั ฐานการเรียนรู้ ความรู้ (Knowledge : K) ทกั ษะ/กระบวนการ(Process: P) คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. มวี นิ ยั ๑.บอกลกั ษณะและสว่ นตา่ ง ๆ ของ ๑.เขยี นส่วนประกอบต่าง ๆ ๒. ใฝเ่ รยี นรู้ ๓. มุ่งมน่ั ในการทำงาน ปรซิ มึ ได้ (K) ของปรซิ ึมได้ (P) ๒.บอกลักษณะและสว่ นตา่ ง ๆ ของ ๒.เขียนรปู ทรงสเ่ี หลี่ยมมุม ฉากได้ (P) ทรงสเ่ี หลยี่ มมุมฉากได้ (K) ๓.เขียนหนว่ ยการหา ๓.บอกวิธีการเขียนหน่วยการหา ปริมาตรและความจุและใช้ อักษรย่อ ได้ (P) ปริมาตรและความจุได้ (K) ๔.เขียนแสดงการหา ๔.บอกวธิ กี ารหาปริมาตรทรงสีเ่ หล่ียม ปริมาตรทรงสเ่ี หลีย่ มมุม ฉากโดยการนบั ลูกบาศก์ได้ มมุ ฉากได้ (K) (P) ๕.บอกวิธกี ารหาความจุทรงส่เี หลี่ยม ๕.เขยี นแสดงการหาความจุ ทรงสเ่ี หลี่ยมมมุ ฉากโดยใช้ มุมฉากได้ (K) สูตรได้ (P) ๖.บอกวิธกี ารแกโ้ จทย์ปญั หาเก่ยี วกับ ๖.เขยี นแสดงการแก้โจทย์ปญั หา เก่ยี วกบั ปริมาตรของทรงส่ีเหลีย่ มมุม ปริมาตรของทรงสี่เหลยี่ มมมุ ฉาก ฉากและความจขุ องภาชนะทรง และความจุของภาชนะทรง สเี่ หล่ียมมุมฉากได้ (P) ส่ีเหลย่ี มมุมฉากได้ (K) ๗. ออกแบบบรรจุภณั ฑ์สินคา้ (P) เป้าหมายการเรียน เรือ่ ง ปรมิ าตรและความจขุ องทรงสเ่ี หลย่ี ม หลกั ฐานการเรยี นรู้ -ออกแบบบรรจภุ ัณฑ์สนิ คา้

แผนผังมโนทัศน์ข้ันตอนการทำกิจกรรมประกอบการจดั การเรียนรู้ด้วย การสอนตามหลกั การพฒั นาสมอง (Brain-Based learning: BBL) ศึกษามาตรฐานการรเรียนรู้ / ตวั ชี้วดั และจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ทำแบบทดสอบก่อนเรยี น ทำกิจกรรมโดยใช้กระบวนการจดั การเรยี นรตู้ ามหลักการพฒั นาสมอง (Brain-Based learning: BBL) ขั้นท่ี ๑ เตรียมความพร้อม ข้ันที่ ๒ เรยี นรู้ ข้นั ที่ ๓ ขัน้ การฝึก ขน้ั ที่ ๔ ข้นั การสรปุ ขั้นท่ี ๕ ขน้ั การประยุกตใ์ ช้ทันทีทันใด ทดสอบหลังเรียน (ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ ๖๐)

ผังมโนทศั น์ หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 10 ป หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 10 ปริมาตร จำนวน 1 แผนที่ 1 แผน รปู เรขาคณติ สองมิติ และรูปเรขาคณติ สามมิติ รูปปร แผนท่ี 4 หน่วยของปริมาตรและความจุของทรง แผนท่ี 5 การหาปรมิ าตร สีเ่ หลีย่ มมมุ ฉากและลกู บาศก์ มมุ ฉากและ แผนที่ 7 โจทย์ปญั หาป สี่เหลย่ี มมุมฉาก ภาษาไทย การเรียนรแู้ บ 1.ฟังแสดงความคดิ เห็น 2.พดู แสดงความคดิ เห็น และตอบคำถามอ่านและสะกดคำ 3.การเขียนส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร์

ปริมาตรและความจุของทรงส่ีเหลีย่ ม รและความจุของทรงสเ่ี หลีย่ ม 17 ชั่วโมง นท่ี 2 แผนที่ 3 รซิ ึม ทรงสีเ่ หลี่ยมมุมฉาก รและความจทุ รงส่ีเหลีย่ ม แผนที่ 6 ความสัมพนั ธ์ระหว่างหน่วยปรมิ าตร หรอื ะลกู บาศก์ หน่วยความจุ ปริมาตรและความจุทรง กและลกู บาศก์ บบบูรณาการ ศลิ ปะ : ทศั นศลิ ป์ 1.การออกแบบบรรจภุ ัณฑ์สินค้า

แผนบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ครู ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกนั ในตัวท่ดี ี 1. ออกแบบการจดั กจิ กรรม ตรงตาม 1. ออกแบบการเรียนรสู้ ง่ เสริมกระบวนการคิด 1. ศกึ ษาแนวทางการจดั การเรียนรู้ล่วงหนา้ ตัวช้ีวัด 2. ใช้เทคนิคการจดั การเรยี นรู้ทห่ี ลากหลาย 2. จดั เตรยี มการวดั ผลประเมินผล และแบบ 2. เลอื กสื่อ แหล่งเรียนรเู้ หมาะสม สังเกตพฤตกิ รมนักเรยี น 3. วดั ผลประเมินผลตรงตามเนอื้ หา เง่ือนไขความรู้ เงือ่ นไขคุณธรรม 1. รู้จักเทคนคิ การสอนทส่ี ่งเสรมิ กระบวนการคดิ และนักเรยี น 1. มีความขยัน เสยี สละ และม่งุ มนั่ ในการจัดหาสอื่ มาพฒั นานกั เรยี น สามารถเรยี นรู้ไดอ้ ย่างมีความสขุ ใหบ้ รรลตุ ามจดุ ประสงค์ 2. มคี วามอดทนเพอื่ พฒั นานกั เรยี นโดยใช้เทคนิคการสอนท่ี หลากหลาย นักเรียน ความพอประมาณ ความมเี หตุผล การมีภมู ิคุ้มกนั ในตัวท่ีดี 1. การใชเ้ วลาในการทำกิจกรรม/ภาระงาน 1. ฝกึ กระบวนการทำงานเป็นกลมุ่ 1. วางแผนการศกึ ษาคน้ คว้าอิสระ ได้อยา่ งเหมาะสม ทันเวลา 2. ฝกึ กระบวนการแสดงขน้ั ตอนการหาผลลพั ธ์ 2. นำความรู้เรอื่ งเศษสว่ น ไปใช้ใน 2. เลือกสมาชกิ กลมุ่ ได้เหมาะสมกบั เนอื้ หาท่ี ชวี ติ ประจำวันได้ เรยี นและศกั ยภาพของตน เง่ือนไขความรู้ เงอื่ นไขคุณธรรม 1. มีความรเู้ รือ่ งเศษสว่ น ตลอดจนสามารถสรา้ งจดั ทำชนิ้ งาน ได้ตาม 1. มีความรับผดิ ชอบ และปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลงของกลมุ่ วตั ถปุ ระสงค์ 2. มสี ติ มสี มาธิชว่ ยเหลือกันในการทำงานร่วมกัน สง่ ผลตอ่ การพัฒนา 4 มติ ิใหย้ ่ังยืนยอมรับตอ่ การเปลยี่ นแปลงในยุคโลกาภวิ ัฒน์ วัตถุ สงั คม สงิ่ แวดล้อม วฒั นธรรม ความรู้ (K) มีความรคู้ วามเขา้ ใจ เรื่องเศษสว่ น มคี วามรูแ้ ละเข้าใจ มคี วามรู้และเขา้ ใจ มีความรู้และเข้าใจการ กระบวนการทำงาน เกย่ี วกบั ส่งิ แวดลอ้ ม ชว่ ยเหลอื แบง่ ปัน กลุ่ม และส่ิงตา่ ง ๆรอบตัว ทักษะ (P) สร้างชน้ิ งานพิซซา่ แสดงเศษสว่ น ทำงานไดส้ ำเร็จตาม ใชแ้ หลง่ เรยี นรโู้ ดยไม่ ชว่ ยเหลอื แบ่งปันซง่ึ เปา้ หมาย ดว้ ย ทำลายส่งิ แวดล้อม กัน และกัน กระบวนการกลมุ่ ค่านยิ ม (A) เห็นประโยชนข์ องเรยี นรู้ เกยี่ วกบั เห็นคุณคา่ และ เห็นคุณคา่ ของการใช้ ปลูกฝงั นิสยั การ เรื่องเศษส่วน ภาคภมู ิใจในการ แหล่งเรยี นร้โู ดยไม่ ชว่ ยเหลือแบ่งปนั ทำงานร่วมกันได้ ทำลายส่งิ แวดลอ้ ม สำเรจ็

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 10 กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 5 เวลา 17 ช่ัวโมง เร่ือง ปรมิ าตรและความจขุ องทรงสเี่ หล่ียมมมุ ฉาก 1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวช้ีวดั มาตรฐานการเรียนรู้ ค 2.1 เขา้ ใจพนื้ ฐานเกยี่ วกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของส่งิ ท่ีต้องการวดั และนำไปใช้ ตวั ชี้วัด ป.5/3 แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ญั หาเก่ยี วกับปรมิ าตรของทรงสเ่ี หลยี่ มมมุ ฉากและความจุ ของภาชนะทรงสเี่ หล่ียมมมุ ฉาก มาตรฐานการเรียนรู้ ค 2.2 เข้าใจและวเิ คราะหร์ ปู เรขาคณิตสมบัติของรปู เรขาคณิตความสมั พันธ์ ระหว่างรูปเรขาคณติ และ ทฤษฎบี ททางเรขาคณิตและนำไปใช้ ตัวช้วี ัด ป.5/4 บอกลักษณะของปริซึม 2. สาระสำคญั รูปทรงสเ่ี หล่ยี มมมุ ฉาก คือรปู เรขาคณิตสามมิติชนดิ หนงึ่ ท่ีมีมมุ ทกุ มมุ เป็นมุมฉาก การหาพ้นื ที่ รูปส่ีเหลี่ยมมุมฉาก คอื ความกว้าง × ความยาว ปรซิ ึมเป็นรปู เรขาคณติ สามมติ ิ ทรงตนั มีหน้าตดั หรอื ฐาน 2 หนา้ อยบู่ นระนาบที่ขนานกนั และหนา้ ตัดหรอื ฐานเป็นรูปหลายเหลี่ยม ทเ่ี ท่ากนั ทกุ ประการ หนา้ ขา้ งเปน็ รูปส่ีเหล่ยี ม ดา้ นขนาน ปริซมึ เป็นรูปเรขาคณติ สามมิติ ทรงตนั มหี นา้ ตัดหรือฐาน 2 หน้า อยบู่ นระนาบทขี่ นานกนั และหนา้ ตดั หรอื ฐานเปน็ รูปหลายเหลยี่ มท่ีเทา่ กันทุกประการ หน้าข้างเปน็ รปู สเี่ หลี่ยมดา้ นขนาน ชนิดของปรซิ ึมจำแนก ตามรูปหลายเหลย่ี มที่เปน็ หน้าตัดหรอื ฐาน ปริซึมส่ีเหล่ยี มที่มีหนา้ ทกุ หน้าเป็นรูปสเี่ หลี่ยมมุมฉาก เรียกวา่ ทรง สเี่ หลี่ยมมมุ ฉาก ปริซมึ สีเ่ หล่ยี มหรือทรงสเี่ หลย่ี มมมุ ฉากทม่ี ีหน้าทกุ หนา้ เปน็ รปู สเ่ี หล่ยี มจัตุรสั เรียกวา่ ลูกบาศก์ ลกู บาศก์ทีเ่ ปน็ ทรงตนั ทม่ี คี วามกว้าง ความยาว และความสูง ด้านละ 1 หนว่ ย มปี รมิ าตร 1 ลกู บาศก์ หน่วย ลูกบาศก์ทเี่ ปน็ ทรงตนั ทมี่ คี วามกวา้ ง ความยาว และความสงู ดา้ นละ 1 เซนติเมตร มปี รมิ าตร 1 ลูกบาศก์ เซนติเมตร ลกู บาศก์ที่เป็นทรงตัน ท่ีมคี วามกวา้ ง ความยาว และความสงู ดา้ นละ 1 เมตร มปี ริมาตร 1 ลกู บาศก์ เมตร ปริมาตรของทรงส่ีเหล่ยี มมมุ ฉาก = ความกวา้ ง × ความยาว × ความสูง หรอื ปรมิ าตรของทรงสเี่ หลี่ยมมุม ฉาก = พ้ืนทฐี่ าน × ความสงู การหาความจุของภาชนะทรงสเ่ี หลย่ี มมมุ ฉากเปน็ การหาปริมาตรภายในของภาชนะ นน้ั ความจุของทรงส่เี หลย่ี มมุมฉาก = ความกวา้ ง × ความยาว × ความสงู หรอื ความจุของทรงส่ีเหลยี่ มมุมฉาก = พืน้ ที่ฐาน × ความสงู 1 ลิตร เท่ากบั 1,000 มิลลิลติ ร 1 ลิตร เท่ากบั 1,000 ลกู บาศก์เซนตเิ มตร 1 ลกู บาศก์ เซนตเิ มตร เท่ากับ 1 มลิ ลิลิตร 1 ลกู บาศก์เมตร เทา่ กับ 1,000 ลติ ร และการแก้โจทยป์ ัญหาเกี่ยวกับปรมิ าตรของ ทรงส่ีเหลี่ยมมมุ ฉากและความจุของ ภาชนะทรงสเี่ หล่ียมมุมฉาก เรมิ่ จาก ทำความเข้าใจปัญหาวางแผนแก้ปญั หา ดำเนินการตามแผน และตรวจสอบ ปรมิ าตรของทรงส่เี หล่ียมมุมฉาก = ความกวา้ ง × ความยาว × ความสงู หรือ พ้นื ท่ีฐาน × ความสูง

3. สาระการเรียนรู้ - ชนดิ ของรูปเรขาคณิตสองมิติ และการหาพ้ืนท่ีของรปู ส่เี หล่ยี มมุมฉาก - รูปปริซมึ - รปู เรขาคณิตสองมติ ิ และรูปเรขาคณิตสามมิติ ปรซิ มึ - หน่วยปรมิ าตรและความจุทรงสี่เหล่ียมมุมฉากและลูกบาศก์ - ปรมิ าตรและความจุทรงสเ่ี หล่ยี มมมุ ฉากและลูกบาศก์ - ความสมั พันธ์ของหนว่ ยของปริมาตรและความจุ - โจทย์ปญั หาปรมิ าตรและความจุทรงส่ีเหลีย่ มมุมฉากและลูกบาศก์ 4. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. ม่งุ ม่ันในการทำงาน 6. ช้ินงาน/ภาระงาน 1. ออกแบบบรรจภุ ัณฑ์สนิ ค้า 7. การวดั และประเมินผล วิธีการ เครือ่ งมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบกอ่ น-หลงั เรียน หน่วยการเรยี นรู้ที่ 10 แบบทดสอบก่อน-หลังเรยี น ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 60 ตรวจแบบฝึกหดั หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 10 ตรวจชิน้ งานหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 10 แบบฝึกหดั หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 10 ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม สังเกตความมวี ินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุง่ มน่ั ใน ช้นิ งานหน่วยการเรียนรู้ที่ 10 ระดบั คุณภาพ 2 การทำงาน ผา่ นเกณฑ์ แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์

8. กจิ กรรมการเรียนรู้ กิจกรรมที่ 1 รปู เรขาคณิตสองมิติ และรปู เรขาคณิตสามมิติ ชวั่ โมงท่ี 1 1. ครูให้นกั เรยี นท่องสูตรคณู โดยใช้ไม้กลองประดิษฐแ์ ละตาราง 9 ชอ่ งประกอบการท่องสตู รคณู หลังจาก นนั้ ให้นกั เรยี นคิดเลขเร็วจำนวน 3 ขอ้ และทดสอบก่อนเรียน 2. ครใู ชส้ ถานการณ์หน้าเปิดบทนำสนทนาเกยี่ วกบั ลักษณะและขนาดของตปู้ ลาของต้นกลา้ และขนุ ว่ามี ลกั ษณะ และขนาดเป็นอย่างไร 3. ครถู ามนกั เรียนเกีย่ วกับปรมิ าตรนำ้ ในตูป้ ลาของตน้ กลา้ และขนุ ว่าตูป้ ลาของใครมีนำ้ มากกวา่ กนั กระตุ้นให้นักเรยี นเกิดความสงสยั ในการหาคำตอบ 4. ให้นกั เรียนคน้ หาคำตอบดว้ ยตนเองหลงั จากเรียนเร่ืองปรมิ าตร และความจขุ องทรงสี่เหล่ียมมมุ ฉากแลว้ 5. เตรยี มความพรอ้ มเปน็ การตรวจสอบความรู้พ้นื ฐานท่จี ำเป็นสำหรบั การเรียนบทนี้ ไดแ้ ก่ ชนิดของรปู เรขาคณิตสองมิติ และการหาพื้นท่ีของรูปสี่เหลย่ี มมุมฉาก ถา้ พบว่านักเรยี นยังมีความร้พู ื้นฐานไมเ่ พียงพอ ควร ทบทวนก่อน 6.สรปุ ได้ว่าปรซิ มึ จะมรี ูปเรขาคณติ สองมติ ิ 2 รูป อย่ตู รงข้ามกัน มีรูปรา่ ง เหมือนกันและขนาดเทา่ กัน มี ดา้ นขา้ งเปน็ รูปสเ่ี หล่ยี ม ดา้ นขนาน 7. ครใู หน้ ักเรียนทำแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ สสวท. 8.1 เป็นรายบุคคล ช่วั โมงที่ 2 1. ครูให้นกั เรียนทอ่ งสตู รคูณโดยใช้ไมก้ ลองประดิษฐแ์ ละตาราง 9 ชอ่ งประกอบการทอ่ งสูตรคูณ หลังจาก นั้นใหน้ ักเรยี นคดิ เลขเรว็ จำนวน 3 ข้อ 2. ครนู ำภาพของรูปเรขาคณติ สองมติ ิและรูปเรขาคณิตสามมิติ ใหน้ ักเรยี นพจิ ารณาและรว่ มกนั แสดง ความคดิ เห็นเก่ียวกบั ความแตกตา่ งระหว่างรูปเรขาคณิตสองมติ ิกับรูปเรขาคณติ - สามมิติ 3. ครูแนะนำวา่ ความสูงของรูปเรขาคณติ สามมติ ิ ในบางกรณีอาจเรยี กว่า ความลึก หรือ ความหนา เชน่ กระจกหนา 5 มลิ ลิเมตร บ่อนำ้ บาดาลลกึ 12 เมตร 4. จากนั้นรว่ มกันทำกจิ กรรมในหนงั สอื เรยี นหน้า 136 และให้ทำแบบฝกึ หดั 8.2 เป็นรายบุคคล 5. ครใู ชแ้ บบจำลองของรปู เรขาคณิตสามมติ ปิ ระกอบการอธบิ าย และเปดิ โอกาสให้นักเรยี นได้สัมผสั กับ แบบจำลองเหลา่ นน้ั 6. ครูแนะนำรปู เรขาคณิตสามมิตทิ ี่เปน็ ทรงตนั พร้อมยกตัวอยา่ งส่งิ ทอี่ ยู่รอบตวั ทม่ี ีลักษณะเปน็ ทรงตัน เชน่ ยางลบ ลูกเหลก็ ชอลค์ 7. จากนั้นครูควรใชค้ ำถามเพื่อให้นักเรยี นบอกลกั ษณะสำคัญของรูปเรขาคณติ สามมิตแิ ต่ละชนิด 8. ครูนำแบบจำลองของปริซึมหรอื สงิ่ ที่มลี กั ษณะคลา้ ย ปริซึมชนิดตา่ ง ๆ เชน่ กลอ่ งบรรจุภณั ฑ์ ให้ นักเรียนสังเกต ลกั ษณะท่เี หมือนกันและต่างกนั 9. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรา้ งความคิดรวบยอดเกี่ยวกับลักษณะของปริซึม ซึ่งควรจะได้ว่าปรซิ ึมจะมรี ูป เรขาคณิตสองมิติ 2 รปู อย่ตู รงข้ามกัน มรี ปู รา่ ง เหมือนกนั และขนาดเท่ากนั มีด้านขา้ งเป็นรูปสเ่ี หลยี่ ม ดา้ นขนาน 10. ครูให้นกั เรียนทำกิจกรรมสร้างโครงสรา้ งของริซมึ ชนดิ ตา่ ง ๆ โดยใชห้ ลอดดดู และลวดกำมะหย่ี เพื่อให้ นักเรียนไดเ้ ข้าใจลักษณะของปริซึมมากข้ึน

กจิ กรรมที่ 2 ปริซึม ชัว่ โมงท่ี 1 1. ครใู ห้นักเรียนท่องสูตรคูณโดยใช้ไม้กลองประดิษฐ์และตาราง 9 ช่องประกอบการทอ่ งสูตรคณู หลงั จาก นั้นใหน้ ักเรียนคิดเลขเร็วจำนวน 3 ขอ้ 2. ครูแนะนำลกั ษณะของปรซิ มึ สามเหล่ยี มและปริซมึ สเี่ หลย่ี มในหนงั สอื เรยี นหนา้ 139 พร้อมใช้ แบบจำลองประกอบการอธิบายว่า ❖ ปรซิ มึ ท่ีมีหนา้ ตัดหรือฐานเป็นรปู สามเหล่ียม และมีหนา้ ข้างเปน็ รปู สี่เหล่ยี มดา้ นขนาน เรียกว่า ปริซมึ สามเหล่ยี ม ❖ ปรซิ มึ ทมี่ ีหนา้ ตัดหรอื ฐานเปน็ รูปสเ่ี หล่ยี ม และมีหน้าขา้ งเป็นรปู สเี่ หลยี่ มดา้ นขนาน เรียกวา่ ปรซิ ึม สเ่ี หลี่ยม ❖ ปรซิ ึมเปน็ รูปเรขาคณติ สามมิติ ทรงตัน มหี นา้ ตัดหรือฐาน 2 หนา้ อยบู่ นระนาบทข่ี นานกนั และหนา้ ตดั หรือฐาน เป็นรปู หลายเหล่ียมท่เี ท่ากนั ทุกประการ หน้าข้าง เป็นรปู ส่ีเหลี่ยมด้านขนาน ❖ ชนิดของปริซึม จำแนกตามรูปหลายเหลีย่ ม ทเี่ ปน็ หน้าตดั หรือฐาน ชวั่ โมงท่ี 2 3. จากนนั้ ให้ร่วมกันตอบคำถามในหนังสอื เรยี นหนา้ 139 แลว้ รว่ มกนั ทำกจิ กรรมในหนงั สอื เรียนหน้า 140 และให้ทำแบบฝึกหัด 8.3 เปน็ รายบคุ คล 4. ครจู ัดกจิ กรรม โดยให้นักเรียนพิจารณาในหนงั สือหน้า 141 แล้วใช้แบบจำลองทรงสเ่ี หลย่ี มมมุ ฉาก รว่ มกบั การถาม-ตอบประกอบการอธิบายหน้าตัดหรือฐาน และหน้าขา้ งของปริซมึ สเ่ี หลี่ยม 5. จากนั้นอธบิ ายเชื่อมโยงไปส่ทู รงสเี่ หลี่ยมมุมฉากและ ลกู บาศก์ซ่งึ จะไดว้ ่า ปริซึมสี่เหล่ยี ม ท่มี ีหนา้ ทุก หน้าเปน็ รปู สี่เหล่ยี มมุมฉาก อาจเรียกวา่ ทรงส่ีเหลยี่ มมมุ ฉาก ปริซมึ สีเ่ หล่ยี มหรอื ทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉาก ทม่ี หี นา้ ทกุ หน้า เปน็ รปู ส่เี หลย่ี มจัตุรัส เรียกว่า ลูกบาศก์ 6. ครใู หน้ กั เรยี นทำแบบฝึกหัดคณติ ศาสตร์ สสวท. กจิ กรรมที่ 3 ทรงสเ่ี หลีย่ มมุมฉาก ช่ัวโมงท่ี 1 1. ครใู หน้ ักเรยี นทอ่ งสูตรคณู โดยใช้ไมก้ ลองประดิษฐ์และตาราง 9 ชอ่ งประกอบการท่องสูตรคณู หลงั จาก น้นั ใหน้ ักเรียนคดิ เลขเร็วจำนวน 3 ข้อ 2. การเขยี นรปู ของทรงส่ีเหล่ียมมุมฉากบนกระดาษจุดไอโซเมตริกในหนงั สือเรียนหน้า 142-143 3. ครูควรเตรยี มกระดาษจดุ ไอโซเมตรกิ ให้เพยี งพอกับจำนวนนกั เรยี น โดยสามารถดาวน์โหลดได้จากQR code ในหนังสอื เรยี นหน้า 143 4. ให้นกั เรียนสังเกตลกั ษณะการเรียงจดุ บนกระดาษ แล้วทดลองเขยี น สว่ นของเส้นตรงเช่อื มจุด 2 จุด ท่ี อยู่ใกล้กัน 3 ทศิ ทาง ดังภาพแรกหน้า 142 แล้วตรวจสอบความยาวของส่วนของเส้นตรงแต่ละเสน้ ซ่ึงจะพบว่ามี ความยาวเทา่ กัน 5. ใหพ้ จิ ารณาการเขียนส่วนของเส้นตรงให้มคี วามยาว 3 หนว่ ย และ 5 หนว่ ย จากภาพถัดมาในหน้า 142

ช่ัวโมงที่ 2 6. ครูควรใหน้ กั เรียนเขยี นส่วนของเส้นตรงที่มีความยาวอนื่ ๆ เพิ่มเติมบนกระดาษจุดไอโซเมตรกิ เช่น 4 หน่วย 6 หนว่ ย 7 หนว่ ย 8 หน่วย แล้วรว่ มกันตรวจสอบความถูกต้อง 7. ครูสาธติ ประกอบการอธิบายการเขียนรปู ของทรงสี่เหล่ียมมุมฉากบนกระดาษจุดไอโซเมตริกในหนงั สือ เรยี นหนา้ 143 และใหน้ ักเรียนปฏบิ ตั ิตามทีละข้ัน พร้อมแนะนำความกว้าง ความยาว และความสูงของรูป 8. ครแู นะนำวา่ การเขยี นรูปของทรงสเี่ หลย่ี มมุมฉากบนกระดาษจดุ เปน็ การเขียนรูปอยา่ งคร่าว ๆ ซึ่งควร คำนึงถงึ ความสมเหตสุ มผลของการเขียนส่วนของเส้นตรงแทน ความกวา้ ง ความยาว และความสูง 9. ครสู าธติ ประกอบการอธิบายการเขียนรูปของ ทรงสเ่ี หล่ียมมุมฉากบนกระดาษจุดในหนงั สือเรียนหนา้ 144 และให้นักเรยี นปฏบิ ตั ติ ามทลี ะข้นั พร้อมแนะนำความกวา้ ง ความยาว และความสูงของรูป 10. เพอื่ ตรวจสอบความเข้าใจและสรปุ ความรู้ที่ได้ ให้นักเรยี น ทำกิจกรรมหน้า 145 เปน็ รายบุคคล 11. ครูให้นกั เรียนทำแบบฝกึ หดั คณิตศาสตร์ สสวท. แบบฝกึ หดั 8.4 เป็นรายบคุ คล กิจกรรมท่ี 4 หนว่ ยของปริมาตรและการหาปรมิ าตร ช่วั โมงที่ 1 1. ครูใหน้ กั เรียนทอ่ งสูตรคณู โดยใชไ้ ม้กลองประดษิ ฐแ์ ละตาราง 9 ชอ่ งประกอบการทอ่ งสตู รคณู หลงั จาก น้ันใหน้ ักเรยี นคิดเลขเรว็ จำนวน 3 ขอ้ 2. ครแู นะนำใหร้ ู้จักหนว่ ยของปริมาตร โดยอาจจัดกจิ กรรมดงั นี้ แนะนำปริมาตร 1 ลกู บาศก์หนว่ ย โดยใช้ ส่ือประกอบการอธบิ ายในหนังสอื เรียนหน้า 146 3. ครเู รียงลกู บาศก์เพ่มิ เติม แลว้ ให้นกั เรยี นหาปริมาตร และตรวจสอบโดยการนบั 4. จากน้ันรว่ มกนั ทำกิจกรรมในหนังสือเรยี นหนา้ 147 5. ครูอธบิ ายเพม่ิ เติมวา่ ทรงสี่เหล่ยี มมุมฉาก ที่มีความยาวดา้ นละ 1 หน่วย มปี รมิ าตร 1 ลกู บาศกห์ นว่ ย แต่ทรงสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก ทมี่ ีปริมาตร 1 ลูกบาศกห์ น่วย ไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งมีความยาวดา้ นละ 1 หนว่ ย เช่น ทรง ส่เี หลย่ี มมมุ ฉาก ท่ีมคี วามกว้าง 1 หนว่ ย ความยาว 2 หน่วย และความสงู 0.5 หน่วย มีปรมิ าตร 1 × 2 × 0.5 = 1 ลกู บาศก์หน่วย ชวั่ โมงท่ี 2 6. ครูแนะนำปริมาตร 1 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร โดยใช้สือ่ ประกอบการอธบิ ายในหนังสือเรียนหนา้ 148 และ แนะนำการใชอ้ ักษรย่อ ของลูกบาศก์เซนตเิ มตร ซม.3 หรอื cm.3 อา่ นว่า เซนติเมตรยกกำลงั สาม และ cc อ่าน วา่ ซซี ี ย่อมาจาก Cubic Centimeter 7. ครูแนะนำปริมาตร 1 ลูกบาศกเ์ มตร โดยใชส้ ือ่ ประกอบการอธบิ ายในหนงั สือเรียนหนา้ 149 และแนะนำ การใช้ อักษรยอ่ ของลูกบาศกเ์ มตร เขียนแทนดว้ ย ม.3 หรือ m.3 อ่านวา่ เมตรยกกำลังสาม 8. จากน้นั รว่ มกนั ปฏิบัตกิ ิจกรรม เพื่อใหน้ ักเรียนเกดิ ความรสู้ ึกเชิงปริภูมิ (Spatial Sense) เกย่ี วกับ 1 ลกู บาศก์เซนติเมตรจากของจริง 9. ครูใหน้ ักเรียนทำแบบฝึกหดั คณติ ศาสตร์ สสวท.

กจิ กรรมที่ 5 การหาปริมาตรและความจทุ รงสี่เหล่ียมมุมฉาก ช่ัวโมงที่ 1 1. ครูใหน้ กั เรยี นทอ่ งสูตรคณู โดยใชไ้ มก้ ลองประดิษฐแ์ ละตาราง 9 ช่องประกอบการทอ่ งสูตรคูณ หลงั จาก นน้ั ใหน้ กั เรียนคิดเลขเร็วจำนวน 3 ข้อ 2. ครใู ชล้ กู บาศก์เรยี งใหเ้ ปน็ ทรงส่ีเหล่ียมมุมฉากตามในหนงั สือเรยี นหนา้ 151-152 3. ครูใชก้ ารถาม-ตอบประกอบการอธิบาย เกย่ี วกบั การหาปริมาตรของทรงสี่เหลีย่ มมุมฉาก โดยการนับ จำนวนลูกบาศก์อยา่ งเป็นระบบ 4. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันเชอ่ื มโยงไปสู่การหาปริมาตรของทรงส่เี หลี่ยมมมุ ฉากโดยการใชส้ ตู ร 5. ครจู ัดเรียงลกู บาศกใ์ ห้เปน็ ทรงสเ่ี หล่ยี มมมุ ฉากท่ีมขี นาดอ่นื เพ่ิมเติม หรอื อาจใช้สอ่ื ดจิ ิทัลจาก QR code ในหนงั สือเรียนหน้า 152 ใหน้ กั เรยี นหาปรมิ าตรโดยการนบั จำนวนลกู บาศก์ 6. ให้นักเรยี นสังเกตความสมั พันธ์ระหวา่ ง ความกวา้ ง ความยาว และความสงู กับปริมาตรที่ได้ในแต่ละข้อ 7. จากนน้ั ครแู ละนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่อื นำไปส่ขู ้อสรปุ เกี่ยวกบั สูตรการหาปรมิ าตรของทรง ส่ีเหล่ียมมมุ ฉากในหนงั สือเรียนหนา้ 153 8. ครใู ห้นักเรยี นทำแบบฝกึ หัดคณติ ศาสตร์ สสวท. ชว่ั โมงท่ี 2 1. ครูใหน้ กั เรยี นท่องสูตรคูณโดยใช้ไม้กลองประดิษฐแ์ ละตาราง 9 ช่องประกอบการท่องสตู รคณู หลงั จาก นั้นใหน้ กั เรียนคิดเลขเรว็ จำนวน 3 ข้อ 2. ให้นกั เรียนทบทวนความรู้เร่ือง ลกู บาศก์ โดยครูนำลกู บาศก์ 16 ลกู มาวางเรยี งกนั หลาย ๆ แบบ แลว้ ใหผ้ ู้แทนนกั เรียนออกมาหาปริมาตรโดยการนบั 3. ครูใช้การถาม-ตอบประกอบการอธบิ ายตัวอย่างในหนงั สือเรยี นหน้า 153-154 แล้วรว่ มกันทำ กจิ กรรมหนา้ 154 และ ให้ทำแบบฝึกหดั 8.6 เป็นรายบุคคล 4. ครูใหน้ ักเรียนพจิ ารณาการหาปริมาตรของทรงสี่เหลยี่ มมุมฉากในหนงั สอื เรียนหนา้ 155 แล้วใช้การ ถาม-ตอบ เพื่อเชอื่ มโยงไปยังสูตรการหาปรมิ าตรของทรงส่ีเหลย่ี มมุมฉาก ว่าสามารถหาไดจ้ าก ความกวา้ ง × ความยาว × ความสงู หรือ พ้ืนท่ีฐาน × ความสูง 5. จากน้ันใชก้ ารถาม-ตอบ ประกอบการอธิบายตวั อยา่ งในหนงั สอื เรียนหน้า 155 6. รว่ มกนั ทำกจิ กรรม หนา้ 156 7. ครูและนกั เรียนร่วมกันสรปุ สตู รการหาปรมิ าตรของทรงสเี่ หลีย่ มมมุ ฉาก = ความกวา้ ง × ความยาว × ความสงู หรือ ปรมิ าตรของทรงสเ่ี หลย่ี มมุมฉาก = พน้ื ทีฐ่ าน × ความสูง 8. ครูให้นักเรยี นทำแบบฝกึ หัดคณิตศาสตร์ สสวท. 8.7 เป็นรายบุคคล ชั่วโมงท่ี 3 1. ครใู ห้นักเรียนทอ่ งสตู รคูณโดยใช้ไมก้ ลองประดิษฐแ์ ละตาราง 9 ชอ่ งประกอบการทอ่ งสตู รคูณ หลังจาก น้ันใหน้ ักเรยี นคิดเลขเร็วจำนวน 3 ข้อ

2. ครูนำกล่องกระดาษและแทง่ ไม้ทรงสเ่ี หลยี่ มมุมฉากมาวางบนโต๊ะหนา้ ช้นั เรยี น แล้วให้นกั เรยี น พจิ ารณาวา่ เหมือนหรอื แตกต่างกันอย่างไร (เป็นทรงสีเ่ หลย่ี มมมุ ฉากเหมือนกนั แตก่ ลอ่ งกระดาษมลี กั ษณะกลวง สามารถบรรจสุ งิ่ ของลงไปได้) 3. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง 4. ครใู ชส้ ถานการณ์ในหนังสือเรยี นหนา้ 157 ประกอบการอธิบายความหมายของความจขุ องภาชนะทรง ส่ีเหล่ียมมมุ ฉาก และสูตรการหาความจขุ องทรงสเ่ี หลยี่ มมุมฉาก 5. ใช้การถาม-ตอบประกอบการอธบิ ายตัวอยา่ งในหนังสอื เรียนหนา้ 158 6. เพอ่ื ตรวจสอบความเขา้ ใจและสรปุ ความรู้ที่ได้ ใหน้ กั เรยี น ทำกิจกรรมในหนงั สอื เรียนหนา้ 159 เป็น รายบุคคล 7. รว่ มกนั ทำกจิ กรรม และให้ทำแบบฝึกหัด 8.8 เปน็ รายบุคคล กจิ กรรมท่ี 6 ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยปริมาตร หรือหนว่ ยความจุ ชว่ั โมงท่ี 1 1. ครูให้นักเรียนท่องสตู รคณู โดยใชไ้ ม้กลองประดิษฐแ์ ละตาราง 9 ช่องประกอบการทอ่ งสูตรคณู หลงั จาก น้นั ใหน้ กั เรียนคดิ เลขเรว็ จำนวน 3 ขอ้ 2. ครใู ชก้ ารถาม-ตอบประกอบการอธิบายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งลกู บาศก์เซนตเิ มตร ลูกบาศก์เมตร มลิ ลิลิตร ลติ ร ในหนงั สอื เรยี นหนา้ 160-161 3. จากน้นั ใหพ้ จิ ารณาตวั อยา่ งในหนังสือเรียนหนา้ 162 แล้ว รว่ มกันทำกจิ กรรม 4. ทำแบบฝกึ หดั 8.9 เป็นรายบคุ คล 5. เพอื่ ตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ท่ีได้ ให้นักเรียนทำกิจกรรมในหนงั สือเรียนหน้า 163 เป็น รายบคุ คล 6. ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรุปความร้เู กยี่ วกับความสมั พันธร์ ะหวา่ งหนว่ ยปริมาตรหรือหนว่ ยความจุ 1 ลิตร เท่ากับ 1,000 มิลลลิ ิตร 1 ลติ ร เท่ากับ 1,000 ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร 1 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร เท่ากับ 1 มลิ ลลิ ิตร 1 ลูกบาศกเ์ มตร เท่ากบั 1,000 ลิตร 7. ครใู ห้นักเรยี นทำแบบฝกึ หดั คณติ ศาสตร์ สสวท. กิจกรรมที่ 7 โจทยป์ ัญหาปริมาตรและความจุ ชั่วโมงท่ี 1 1. ครูใหน้ ักเรยี นทอ่ งสตู รคณู โดยใชไ้ มก้ ลองประดษิ ฐ์และตาราง 9 ชอ่ งประกอบการทอ่ งสตู รคูณ หลังจาก นัน้ ให้นักเรียนคิดเลขเรว็ จำนวน 3 ขอ้

2. ครูติดภาพทรงสี่เหลยี่ มมุมฉากบนกระดาน แลว้ ใหน้ กั เรยี นชว่ ยกนั หาปริมาตร โดยวธิ กี ารใชส้ ตู รการ 3. ครตู ดิ แถบโจทยป์ ัญหาบนกระดาน 4. ใหน้ ักเรยี นอ่านโจทย์พร้อมกนั จากนัน้ ครูถามคำถามกระตุน้ ความคดิ ของนักเรยี น 5. ให้นกั เรยี นและครูรว่ มกนั สรปุ ความรู้ ดงั นี้  ปริมาตรของทรงสีเ่ หลี่ยมมุมฉากหาไดจ้ ากผลคณู ของความยาว ความกวา้ ง และความสงู 6. ให้นักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ โดยครูถามคำถามทา้ ทาย ดงั นี้  นกั เรยี นสามารถนำความรเู้ รอื่ ง การหาปรมิ าตรของทรงส่เี หลี่ยมมมุ ฉากไปใช้ในชวี ติ ประจำวันอย่างไรบา้ ง 7. ครูให้นกั เรยี นทำแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ สสวท. ชัว่ โมงที่ 2 1. ครูให้นักเรียนทอ่ งสูตรคณู โดยใชไ้ มก้ ลองประดษิ ฐ์และตาราง 9 ช่องประกอบการท่องสูตรคูณ หลงั จาก น้นั ให้นักเรียนคิดเลขเรว็ จำนวน 3 ขอ้ 2. ให้นักเรียนเล่นเกม “สง่ ต่อไปใหส้ ดุ ”ใช้กระป๋องแป้งส่งต่อกนั เป็นแถว เมอ่ื เพลงหยดุ ใหห้ ยุดสง่ กระป๋องแปง้ และกระป๋องแป้งอย่ใู นมือใครใหบ้ อกชื่อส่ิงของในชีวิตประจำวันทมี่ ีทรงส่เี หลยี่ มมุมฉากคนละ 1 ชนดิ 3. ครแู บ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลมุ่ ละ 3-4 คน แจกโจทยป์ ัญหากลมุ่ ละ 1 ข้อ 4. ให้นักเรียนชว่ ยกันวเิ คราะห์โจทย์และแสดงวธิ หี าคำตอบลงในกระดาษเปล่า 5. จากนน้ั ผูแ้ ทนกลุ่มออกมานำเสนอผลงานหน้าชน้ั เรยี น นักเรยี นกลมุ่ อน่ื ๆ และครูรว่ มกนั ตรวจสอบ ความถูกตอ้ ง 6. นักเรยี นและครรู ่วมกนั อภิปรายเกย่ี วกบั การแก้โจทย์ปัญหาการหาปรมิ าตรของทรงสเี่ หลีย่ มมมุ ฉาก ว่า การแก้โจทย์ปัญหาต้องวิเคราะห์โจทยเ์ พ่ือบอกวา่ โจทย์กำหนดอะไร โจทยถ์ ามอะไร ใชว้ ิธใี ดในการหาคำตอบ แสดงวิธกี ารหาคำตอบ สรุปคำตอบและตรวจสอบความถูกต้อง 7. ให้นักเรยี นและครูร่วมกันสรปุ ความรู้ ดงั น้ี  กระบวนการแก้โจทย์ปญั หา 4 ขนั้ คือ ทำความเข้าใจโจทย์ วางแผน ลงมอื ทำ ตรวจสอบ ใชใ้ นการแก้ โจทย์ปญั หาเกี่ยวกับปริมาตรของทรงส่เี หลี่ยมมุมฉากได้ 8. ครูให้นักเรยี นทำแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ สสวท. ชว่ั โมงที่ 3 1. ครูให้นกั เรียนทอ่ งสูตรคณู โดยใชไ้ มก้ ลองประดิษฐ์และตาราง 9 ชอ่ งประกอบการทอ่ งสูตรคูณ หลงั จาก นนั้ ให้นักเรียนคิดเลขเรว็ จำนวน 3 ข้อ 2. การแกโ้ จทย์ปัญหาเกย่ี วกับปรมิ าตรหรือความจคุ วรเริ่มจากสถานการณ์ปัญหาทใี่ หห้ าปรมิ าตรหรอื ความจุ ในหนงั สอื เรยี นหนา้ 164-167 3. พจิ ารณาหนว่ ยปริมาตรที่ใช้ ซึ่งในบางสถานการณป์ ัญหาอาจต้องอาศยั การเปลยี่ นหน่วย

4. ครูควรเน้นย้ำใหม้ ีการตรวจสอบความถูกต้องของคำตอบทุกคร้ัง แล้วรว่ มกันทำกจิ กรรมหน้า 167 และใหท้ ำแบบฝึกหัด 8.10 เป็นรายบคุ คล 5. นกั เรยี นและครรู ว่ มกันอภิปรายเกี่ยวกับ การแกโ้ จทยป์ ัญหาเก่ยี วกบั ปริมาตรของทรงสเ่ี หล่ียมมุมฉาก และความจขุ อง ภาชนะทรงส่เี หล่ียมมุมฉาก เริม่ จาก ทำความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปญั หา ดำเนินการตาม แผน และตรวจสอบ ปริมาตรของทรงสเ่ี หลี่ยมมุมฉาก = ความกว้าง × ความยาว × ความสูง หรือ พ้ืนทฐ่ี าน × ความสูง 6. ครูใหน้ ักเรียนทำแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ สสวท. ช่วั โมงท่ี 4 1. ครูใหน้ กั เรียนทอ่ งสตู รคูณโดยใช้ไมก้ ลองประดษิ ฐแ์ ละตาราง 9 ชอ่ งประกอบการท่องสูตรคณู หลังจาก น้ันให้นักเรยี นคิดเลขเร็วจำนวน 3 ขอ้ 2. ใช้สถานการณป์ ัญหาท่ใี ห้หาความกวา้ ง ความยาว ความสงู หรือพ้ืนท่ฐี าน เม่ือกำหนดปริมาตรเตม็ ภาชนะหรอื ความจุ ในหนังสือเรยี นหนา้ 168-169 3. ร่วมกนั ทำกิจกรรมในหนงั สือเรยี นหน้า 169 และให้ทำแบบฝึกหัด 8.11 เปน็ รายบคุ คล 4. ครยู กตัวอยา่ งสถานการณ์ปญั หาทใี่ หห้ าความกวา้ ง ความยาว ความสงู หรอื พ้ืนท่ฐี าน เม่อื กำหนด ปริมาตรไมเ่ ต็มภาชนะ ในหนังสือเรียนหน้า 170-171 5. ร่วมกันทำกจิ กรรมในหนงั สอื เรียนหน้า 172 และ ให้ทำแบบฝกึ หัด 8.12 เป็นรายบุคคล 6. เพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้ท่ีได้ ใหน้ กั เรียน ทำกิจกรรมในหนงั สือเรียนหนา้ 172 เป็น รายบคุ คล 7. นักเรยี นและครรู ่วมกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั การแกโ้ จทย์ปญั หาเก่ยี วกบั ปริมาตรของทรงสี่เหลีย่ มมมุ ฉาก และความจุของภาชนะทรงส่เี หลี่ยมมุมฉาก เรม่ิ จากทำความเข้าใจปญั หา วางแผนแกป้ ัญหา ดำเนนิ การตามแผน และตรวจสอบ ปรมิ าตรของทรงสเี่ หล่ยี มมุมฉาก = ความกวา้ ง × ความยาว × ความสูง หรือ พืน้ ท่ฐี าน × ความสงู 8. ครูใหน้ ักเรยี นทำแบบฝกึ หัดคณติ ศาสตร์ สสวท. ช่ัวโมงท่ี 5 1. ครใู หน้ ักเรยี นทอ่ งสูตรคณู โดยใช้ไม้กลองประดิษฐ์และตาราง 9 ชอ่ งประกอบการทอ่ งสูตรคณู หลงั จาก นั้นให้นักเรยี นคิดเลขเรว็ จำนวน 3 ขอ้ 2. ให้นักเรียนทบทวนความร้เู ร่ือง การหาปรมิ าตรของทรงส่เี หลี่ยมมมุ ฉาก โดยครูติดภาพทรงสี่เหล่ียมมมุ ฉาก บนกระดาน แลว้ ให้ผแู้ ทนนักเรียนออกมาแสดงวิธกี ารหาปริมาตรบนกระดาน 3. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันตรวจสอบความถูกต้อง และอภิปรายร่วมกันวา่ จะมสี ถานการณ์ใดบ้างทต่ี ้องใช้ ความร้นู ้แี ก้ปญั หา 4. ครูติดแถบโจทยป์ ัญหาบนกระดาน 5. ให้นักเรียนอา่ นโจทย์พรอ้ มกนั จากนน้ั ครูถามคำถามกระตุ้นความคิดของนักเรยี น 6. นักเรยี นและครูรว่ มกันอภิปรายเก่ยี วกบั การแก้โจทย์ปญั หาเกย่ี วกบั ปรมิ าตรของทรงส่เี หลย่ี มมุมฉาก และความจุของภาชนะทรงสเ่ี หลยี่ มมุมฉาก เริ่มจากทำความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา ดำเนนิ การตามแผน

และตรวจสอบ ปริมาตรของทรงสเี่ หลย่ี มมุมฉาก = ความกวา้ ง × ความยาว × ความสงู หรือ พื้นทฐ่ี าน × ความสงู 7. ครใู ห้นกั เรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียน 9. สอ่ื / แหลง่ เรียนรู้ 1. หนงั สือเรียนคณิตศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 สสวท. 2. แบบฝึกคณิตศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 สสวท. 3. แบบจำลองรปู เรขาคณิตสามมติ ชิ นดิ ตา่ ง ๆ 4. หลอดดูด 5. ลวดกำมะหยี่ 6. แผนภาพเศษส่วน 7. แบบทดสอบกอ่ น และหลังเรียน 8. กระดาษจุดไอโซเมตริก 9. กระดาษจุด 10. ลกู บาศกห์ นว่ ย ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร ลูกบาศก์เมตร 11. กล่องกระดาษและแท่งไมท้ รงสเี่ หลี่ยมมุมฉาก 12. แถบโจทย์ปัญหา 13. ภาพทรงสเ่ี หลีย่ มมุมฉาก

โรงเรยี นวัดพชื นมิ ิต (คำสวสั ด์ิราษฎร์บำรุง) อำเภอคลองหลวง จังหวดั ปทุมธานี ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 5 ข้อสอบบทท่ี 10 ปริมาตรและความจขุ องทรงสี่เหลีย่ ม มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ค2.1 ป.5/3 , ค2.2 ป.5/4 คำชแ้ี จง : ใหน้ กั เรียนทำเครื่องหมาย x ทบั อักษรหนา้ คำตอบท่ถี ูกต้องท่สี ุดเพยี งคำตอบเดยี ว จำนวน 10 ข้อ ขอ้ 1. ปรซิ มึ หกเหลย่ี ม มีหน้าเป็นรปู สี่เหลย่ี มด้านขนานก่ี ขอ้ 6. อา่ งน้ำทรงส่เี หล่ยี มมุมฉาก วัดขนาดภายในได้กว้าง หน้า 0.7 เมตร ยาว 1.2 เมตร และสงู 0.8 เมตรอ่างใบนี้จนุ ้ำได้ ก. 6 หน้า ข. 7 หน้า ก. 6.72 ลูกบาศก์เมตร ข. 0.673 ลกู บาศกเ์ มตร ค. 8 หนา้ ง. 9 หน้า ค. 0.672 ลูกบาศกเ์ มตร ง. 0.675 ลกู บาศก์เมตร ขอ้ 2 . ปรซิ ึมที่มีหนา้ ตดั เปน็ รปู สเ่ี หลี่ยมมุมฉาก มีหน้าเปน็ ข้อ 7. แท่งปูนทรงสเี่ หลยี่ มมุมฉาก มีฐานยาวด้านละ 25 รูปสี่เหลีย่ มด้านขนานก่หี นา้ เซนตเิ มตร และสูง 40 เซนตเิ มตร มีปรมิ าตรเท่าใด ก. 6 หน้า ข. 7 หน้า ก. 24,000 ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร ค. 8 หน้า ง. 9 หน้า ข. 25,000 ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร ขอ้ 3 . ปรซิ ึมที่มจี ำนวนหน้าน้อยทสี่ ุด คือ ปริซมึ ......... มี ค. 27,000 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร ท้ังหมด ............ หน้า ง. 26,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร ก. ปรซิ ึมสามเหลี่ยม, 5 หนา้ ขอ้ 8. นำ้ ประปา 3.2 ลูกบาศกเ์ มตร คิดเป็นกี่ลติ ร ข. ปริซมึ สามเหล่ียม, 6 หนา้ ก. 3,200 ลิตร ข. 3,300 ลิตร ค. ปริซึมสามเหลีย่ ม, 7 หนา้ ค. 3,400 ลติ ร ง. 3,600 ลติ ร ง. ปรซิ มึ สามเหลย่ี ม, 8 หนา้ ขอ้ 9. ฟ้าใสมนี ้ำส้มคัน้ 650 ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร คิดเป็นกี่ ข้อ 4 . ทรงส่ีเหลย่ี มมมุ ฉากท่ีมคี วามกว้าง 24 เซนติเมตร ลิตร ความยาว 50 เซนตเิ มตร และความสูง 32 เซนตเิ มตร ก. 65 ลติ ร ข. 0.65 ลติ ร มีปรมิ าตร ค. 74 ลิตร ง. 0.74 ลติ ร ก. 38,400 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร ข. 39,400 ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร ข้อ 10. หนขู าวกินชาเขียวไป 254 มลิ ลิลิตร คดิ เป็นกล่ี ิตร ค. 48,400 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร ก. 254 ลติ ร ข. 25.4 ลติ ร ง. 49,400 ลูกบาศก์เซนตเิ มตร ค. 2.54 ลิตร ง. 0.254 ลิตร ข้อ 5 . ตู้ปลาใบหน่ึงวัดขนาดภายในได้สูง 42 เซนติเมตร มี พนื้ ทีฐ่ าน 1,750 ตารางเซนตเิ มตร ตปู้ ลาใบนม้ี คี วามจุ ก. 75,500 ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร ข. 76,500 ลูกบาศก์เซนติเมตร ค. 74,500 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร ง. 73,500 ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร ผู้ตรวจขอ้ สอบ ลงชื่อ.................................................ครผู ู้สอน (นางสาวแพรวรงุ่ ศรปี ระภา)

ประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 8 ด้าน คำชีแ้ จง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี น ในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด  ลงในชอ่ งว่าง ใหต้ รงกบั ระดับคะแนน และตามความเป็นจริง โดยมเี กณฑก์ ารให้คะแนน ดังนี้ 4 = พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ัติชดั เจนมาก และบ่อยครั้งสม่ำเสมอ 3 = พฤติกรรมท่ีปฏิบตั ชิ ดั เจนและสมำ่ เสมอ 2 = พฤติกรรมทีป่ ฏบิ ัตชิ ดั เจนและบอ่ ยครั้ง 1 = พฤติกรรมที่ปฏิบตั บิ างคร้ัง คุณลกั ษณะอนั ระดบั คะแนน พึงประสงค์ รายการประเมนิ 4 321 ดา้ น 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 มคี วามรกั และภมู ิใจในความเป็นชาติ กษัตรยิ ์ 1.2 ปฏบิ ตั ิตนตามหลักธรรมของศาสนา 1.3 แสดงออกถึงความจงรกั ภกั ดตี ่อสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ 2. ซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต 2.1 ปฏิบัติตามระเบยี บการสอน และไม่ลอกการบ้าน 2.2 ประพฤติ ปฏิบัติ ตรงตอ่ ความเป็นจริงต่อตนเอง 2.3 ประพฤติ ปฏบิ ตั ิ ตรงตอ่ ความเป็นจรงิ ต่อผู้อน่ื 3. มวี นิ ัย 3.1 เข้าเรยี นตรงเวลา 3.2 แตง่ กายเรยี บร้อยเหมาะสมกบั กาลเทศะ 3.3 ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้อง 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 4.1 แสวงหาขอ้ มลู จากแหลง่ การเรยี นรู้ตา่ งๆ 4.2 มีการจดบนั ทึกความรอู้ ยา่ งเปน็ ระบบ 4.3 สรุปความรไู้ ดอ้ ยา่ งมเี หตผุ ล 5. อย่อู ย่าง 5.1 ใช้ทรพั ยส์ นิ และส่ิงของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั พอเพียง 5.2 ใช้อปุ กรณ์การเรียนอยา่ งประหยัดและรคู้ ุณคา่ 5.3 ใช้จ่ายอยา่ งประหยัดและมีการเก็บออมเงิน 6. มงุ่ มน่ั ในการ 6.1 มคี วามตัง้ ใจ และพยายามในการทำงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ทำงาน 6.2 มีความอดทนและไม่ทอ้ แท้ตอ่ อปุ สรรค เพอื่ ให้งานสำเรจ็ 7. รกั ความเปน็ 7.1 มีจิตสำนึกในการอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมและภมู ิปญั ญาไทย ไทย 7.2 เห็นคุณคา่ และปฏิบตั ติ นตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจติ สาธารณะ 8.1 รจู้ กั การใหเ้ พือ่ สว่ นรวม และเพือ่ ผอู้ ่นื 8.2 แสดงออกถึงการมนี ้ำใจหรอื การให้ความช่วยเหลอื ผอู้ ืน่ 8.3 เข้าร่วมกจิ กรรมบำเพ็ญตนเพอื่ ส่วนรวมเมอ่ื มีโอกาส ช่ือ......................................................................................................................ชั้ น.................เลขที.่ .................

แบบประเมนิ การสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ รายวชิ าคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 5 โรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คำสวสั ด์ริ าษฎร์บำรุง) ปีการศึกษา 2563 คำชแี้ จง : กรอกคะแนนลงในช่องคะแนน และสรปุ ผลการประเมินคุณภาพ ผลการประเมนิ เกณฑ์การใหค้ ะแนน เลขท่ี ชื่อ-สกลุ การป ิฏสัมพันธ์กัน การสนทนาเ ื่รอง ่ีทกำหนด การ ิตด ่ตอ ื่สอสาร พฤ ิตกรรมการทำงานก ุ่ลม รวม ระดับ ุคณภาพ แปลผล 4 4 4 4 16 1 4 2 3 3 2 4 1 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ได้คะแนน 14-16 คะแนน = (ดีมาก) ลงชือ่ .........................................ผปู้ ระเมนิ (ด)ี (นางสาวแพรวรุง่ ศรปี ระภา) ได้คะแนน 11-13 คะแนน = (พอใช)้ วนั ....เดือน...............ป.ี ...... (ปรบั ปรงุ ) ได้คะแนน 8-10 คะแนน = ไดค้ ะแนน 0-7 คะแนน = * เกณฑผ์ า่ นการประเมินตอ้ งได้ 2 (พอใช)้ ขึน้ ไป

แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมการทำแบบฝึกหดั คณติ ศาสตร์ รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนวดั พชื นมิ ิต (คำสวัสด์ิราษฎรบ์ ำรุง) ปกี ารศึกษา 2563 คำชแี้ จง : กรอกคะแนนลงในชอ่ งคะแนน และสรุปผลการประเมนิ คุณภาพ ผลการประเมิน เลขท่ี ชอื่ -สกลุ คะแนน ระดับ ุคณภาพ แปลผล 16 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ไดค้ ะแนน 14-16 คะแนน = 4 (ดมี าก) ลงช่ือ.........................................ผปู้ ระเมิน ได้คะแนน 11-13 คะแนน =3 (ด)ี (นางสาวแพรวร่งุ ศรปี ระภา) ไดค้ ะแนน 8-10 คะแนน =2 (พอใช)้ วัน....เดือน...............ปี....... ได้คะแนน 0-7 คะแนน =1 (ปรับปรุง) * เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ ตอ้ งได้ 2 (พอใช้) ขนึ้ ไป

แบบประเมนิ การสังเกตพฤติกรรมการทำแบบทดสอบ รายวชิ าคณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 โรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คำสวสั ดร์ิ าษฎรบ์ ำรุง) ปีการศกึ ษา 2562 คำช้ีแจง : กรอกคะแนนลงในช่องคะแนนทดสอบก่อนเรียน - หลังเรยี น และประเมินผล ผลการประเมนิ เลขที่ ชอ่ื -สกลุ คะแนนก่อนเรียน(10) คะแนนหลังเรียน(10) ้รอยละ ่ผาน/ไม่ ่ผาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 * ( ผเู้ รียนต้องมีคะแนนสอบหลังเรยี นผ่านเกณฑร์ ้อยละ ๖๐ ) ลงชื่อ.........................................ผปู้ ระเมิน (นางสาวแพรวรุ่ง ศรีประภา) วนั ....เดือน...............ป.ี ......

บนั ทกึ ผลหลังการจัดการเรียนรู้ สรุปผลหลังการจดั การเรียนรู้ 1. นกั เรยี นจำนวน..................คน ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู้......................คน คิดเปน็ ร้อยละ.................. ไมผ่ ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้..................คน คิดเปน็ ร้อยละ.................. 2. แนวทางแก้ไขนกั เรยี นทีไ่ ม่ผา่ นจุดประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................................................ 3. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ไม่ผ่าน............ คน ผา่ น.............คน ดี..................คน ดเี ยี่ยม................คน ระดบั ดขี ึ้นไป ร้อยละ..................... 4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน ไม่ผ่าน............ คน ผา่ น.............คน ด.ี .................คน ดเี ย่ียม................คน ระดับดขี ้นึ ไป ร้อยละ..................... 5. นักเรียนเกิดทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ใดบ้าง ทำเครื่องหมาย / ในชอ่ งว่างทีต่ รงกับทักษะที่เกิด การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปัญหา การสร้างสรรค์ ความเขา้ ใจความตา่ งวฒั นธรรม ต่างกระบวนทศั น์ การสอ่ื สาร ด้านความร่วมมอื การทำงานเป็นทีมและภาวะผ้นู ำ ทักษะการเปลย่ี นแปลง การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู้ ผลการจดั การเรียนการสอน/ปัญหา/ อุปสรรค และแนวทางแกไ้ ข • แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 เรอ่ื งรูปเรขาคณติ สองมิติและสามมิติ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................. ................................................... • แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื งปรซิ มึ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................................. .................................................. ................................................................................................................................................ ................................ • แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3 เร่ืองทรงส่เี หลี่ยมมมุ ฉาก ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................................. .................................................. ................................................................................................................................................................................ • แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4 เร่ืองหนว่ ยของปรมิ าตรและความจขุ องทรงสเี่ หลย่ี มมุมฉากและลูกบาศก์ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................. ...................................................

ผลการจัดการเรยี นการสอน/ปัญหา/ อุปสรรค และแนวทางแกไ้ ข • แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 5 เรือ่ งการหาปริมาตรและความจทุ รงสเ่ี หลยี่ มมมุ ฉากและลกู บาศก์ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................... ................................................................ ............................................................................................................................. ................................................... • แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 เร่อื งความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งหน่วยปริมาตร หรอื หน่วยความจุ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................................. .................................................. ................................................................................................................................................................................ • แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 7 เร่อื งโจทยป์ ัญหาปรมิ าตรและความจุทรงสเ่ี หลย่ี มมุมฉากและลูกบาศก์ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ...................................................................................................................................... ......................................... ......................................................................................... ....................................................................................... ลงชื่อ.................................................. (นางสาวแพรวร่งุ ศรีประภา) ความคิดเห็นหัวหนา้ กลุม่ สาระการเรยี นร/ู้ ผทู้ ไี่ ด้รบั มอบหมาย ตรวจ/นิเทศ/เสนอแนะ/รบั รอง ............................................................................................................................. .................................................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงช่ือ…………………………………………………… (นางสาวแพรวรุง่ ศรีประภา ) หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ .................../......................./......................... ความเห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา ตรวจ/นิเทศ/เสนอแนะ/รับรอง ............................................................................................................................. .................................................................... ............................................................... ............................................................................................................................. .... ลงชื่อ…………………………………………………… (นางสาวกนั ยาภัทร ภทั รโสตถิ) โรงเรียนวดั พชื นมิ ติ (คำสวัสดร์ิ าษฎรบ์ ำรุง) ................../......................./......................

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5 เวลา 17 ชวั่ โมง หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 10 ปริมาตรและความจุของทรงสเี่ หลีย่ มมุมฉาก เวลา 2 ชวั่ โมง เรือ่ ง รปู เรขาคณติ สองมติ ิ และรูปเรขาคณิตสามมิติ 1. สาระสำคญั รูปทรงส่เี หล่ยี มมมุ ฉาก คือรูปเรขาคณติ สามมิติชนดิ หน่งึ ทีม่ ีมุมทุกมมุ เปน็ มมุ ฉาก การหาพืน้ ท่ี รปู สเี่ หลี่ยมมุมฉาก คอื ความกวา้ ง × ความยาว ปรซิ มึ เปน็ รูปเรขาคณิตสามมิติ ทรงตนั มหี น้าตัด หรอื ฐาน 2 หนา้ อยู่บนระนาบท่ขี นานกัน และหน้าตดั หรือฐานเปน็ รูปหลายเหลี่ยม ที่เท่ากนั ทุกประการ หน้าข้าง เป็นรูปสเี่ หล่ียมด้านขนาน 2. ตัวชว้ี ัด ค 2.2 ป.5/4 บอกลักษณะของปรซิ ึม 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1.บอกลักษณะของรปู สีเ่ หลย่ี มมมุ ฉากได้ (K) 2.เปรียบเทียบปริมาตรได้วา่ มากกวา่ หรือน้อยกว่า (P) 4. สาระการเรยี นรู้ 1.ชนิดของรปู เรขาคณติ สองมิติ และการหาพื้นที่ของรปู สเี่ หล่ียมมมุ ฉาก 5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ใฝ่เรยี นรู้ 2. มุ่งมน่ั ในการทำงาน 7. กิจกรรมการเรียนรู้ ชว่ั โมงท่ี 1 ขนั้ ตอนที่ 1 : เตรยี มความพรอ้ ม 1. ครูใหน้ กั เรียนท่องสูตรคูณโดยใช้ไม้กลองประดษิ ฐ์และตาราง 9 ช่องประกอบการท่องสูตรคูณ หลงั จาก นัน้ ให้นักเรียนคดิ เลขเร็วจำนวน 3 ข้อ และทดสอบกอ่ นเรยี น ขั้นตอนที่ 2 : เรียนรู้ 2. ครูใชส้ ถานการณ์หน้าเปิดบทนำสนทนาเก่ยี วกบั ลักษณะและขนาดของตู้ปลาของต้นกล้าและขุนว่ามี

ลักษณะ และขนาดเปน็ อยา่ งไร 3. ครูถามนักเรียนเก่ียวกับปริมาตรนำ้ ในตูป้ ลาของต้นกล้าและขุน ว่าต้ปู ลาของใครมีน้ำมากกวา่ กนั กระตุ้นให้นักเรยี นเกิดความสงสัยในการหาคำตอบ ขนั้ ตอนที่ 3 : การฝกึ 4. ให้นกั เรยี นคน้ หาคำตอบดว้ ยตนเองหลงั จากเรียนเรื่องปรมิ าตร และความจุของทรงสี่เหลีย่ มมุมฉากแล้ว 5. เตรยี มความพร้อมเปน็ การตรวจสอบความรู้พื้นฐานทจี่ ำเป็นสำหรบั การเรียนบทนี้ ได้แก่ ชนิดของรปู เรขาคณิตสองมิติ และการหาพ้ืนทีข่ องรปู สีเ่ หลี่ยมมุมฉาก ถา้ พบว่านักเรียนยังมีความรู้พ้ืนฐานไมเ่ พยี งพอ ควร ทบทวนกอ่ น ขน้ั ตอนท่ี 4 : การสรปุ 6.สรุปได้วา่ ปริซมึ จะมรี ปู เรขาคณิตสองมิติ 2 รูป อยู่ตรงขา้ มกัน มีรปู รา่ ง เหมือนกันและขนาดเท่ากนั มี ดา้ นขา้ งเปน็ รปู ส่ีเหล่ยี ม ด้านขนาน ขั้นตอนที่ 5 : การประยุกต์ใชท้ นั ที 7. ครูให้นักเรยี นทำแบบฝกึ หดั คณติ ศาสตร์ สสวท. 8.1 เป็นรายบคุ คล ชั่วโมงที่ 2 ขั้นตอนท่ี 1 : เตรยี มความพร้อม 1. ครใู ห้นกั เรยี นทอ่ งสตู รคูณโดยใชไ้ มก้ ลองประดิษฐ์และตาราง 9 ชอ่ งประกอบการทอ่ งสูตรคูณ หลังจาก นน้ั ให้นักเรียนคิดเลขเรว็ จำนวน 3 ข้อ ขั้นตอนท่ี 2 : เรียนรู้ 2. ครูนำภาพของรูปเรขาคณิตสองมติ แิ ละรปู เรขาคณิตสามมิติ ใหน้ กั เรียนพิจารณาและรว่ มกันแสดง ความคิดเหน็ เกย่ี วกับ ความแตกต่างระหว่างรูปเรขาคณติ สองมิติกับรูปเรขาคณิต- สามมิติ 3. ครูแนะนำว่า ความสูงของรูปเรขาคณิตสามมติ ิ ในบางกรณีอาจเรียกวา่ ความลึก หรอื ความหนา เชน่ กระจกหนา 5 มิลลิเมตร บ่อน้ำบาดาลลกึ 12 เมตร ขัน้ ตอนท่ี 3 : การฝึก 4. จากน้นั รว่ มกนั ทำกจิ กรรมในหนังสือเรยี นหนา้ 136 และใหท้ ำแบบฝึกหัด 8.2 เปน็ รายบุคคล 5. ครใู ชแ้ บบจำลองของรูปเรขาคณิตสามมิตปิ ระกอบการอธิบาย และเปิดโอกาสให้นักเรยี นได้สัมผัสกบั แบบจำลองเหล่านนั้ 6. ครูแนะนำรูปเรขาคณิตสามมติ ทิ เ่ี ป็นทรงตนั พร้อมยกตัวอยา่ งสง่ิ ทีอ่ ยรู่ อบตวั ที่มีลักษณะเป็นทรงตัน เช่น ยางลบ ลกู เหล็ก ชอลค์ 7. จากนน้ั ครคู วรใชค้ ำถามเพื่อใหน้ ักเรียนบอกลกั ษณะสำคญั ของรูปเรขาคณติ สามมิตแิ ต่ละชนิด 8. ครูนำแบบจำลองของปรซิ ึมหรอื ส่ิงท่ีมีลักษณะคลา้ ย ปรซิ ึมชนดิ ต่าง ๆ เช่น กลอ่ งบรรจภุ ัณฑ์ ให้ นกั เรียนสังเกต ลกั ษณะที่เหมือนกันและต่างกัน ขั้นตอนที่ 4 : การสรุป 9. ครูและนักเรยี นรว่ มกันสร้างความคดิ รวบยอดเกย่ี วกับลักษณะของปริซึม ซึ่งควรจะไดว้ า่ ปริซึมจะมีรูป เรขาคณิตสองมิติ 2 รูป อย่ตู รงขา้ มกัน มรี ูปร่าง เหมือนกนั และขนาดเทา่ กนั มดี า้ นขา้ งเปน็ รปู ส่เี หล่ยี ม ด้านขนาน

ข้นั ตอนท่ี 5 : การประยุกต์ใช้ทนั ที 10. ครูให้นักเรยี นทำกจิ กรรมสรา้ งโครงสรา้ งของรซิ มึ ชนดิ ตา่ ง ๆ โดยใช้หลอดดูดและลวดกำมะหย่ี เพ่ือให้ นกั เรียนได้เขา้ ใจลกั ษณะของปริซึมมากขึ้น 8. การวัดผลและประเมินผล การวัดผล 1. สังเกตความมวี ินยั ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งม่นั ในการทำงาน 2. แบบฝึกหัดคณติ ศาสตร์ สสวท. 3. สังเกตการทำงาน 4. แบบทดสอบกอ่ นเรียน การประเมินผล 1. ถอื เกณฑผ์ ่านจากการสังเกตพฤตกิ รรมสำหรับผูท้ ่ีได้ระดับคุณภาพตั้งแต่ 2 ขน้ึ ไป 2. ถือเกณฑผ์ ่านสำหรบั ผู้ที่ทำแบบฝกึ หัดคณิตศาสตร์ สสวท. ไดร้ ะดับคณุ ภาพต้งั แต่ 2 ข้นึ ไป 3. ถือเกณฑ์ผา่ นสำหรบั ผู้ท่ีทำงานได้ระดบั คณุ ภาพตั้งแต่ 2 ขึ้นไป 4. ถือเกณฑ์ผ่านสำหรบั ผู้ที่ทำงานทำแบบทดสอบก่อนเรยี นได้รอ้ ยละ 60 ขน้ึ ไป 9. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 14. หนังสอื เรยี นคณติ ศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 สสวท. 15. แบบฝึกคณิตศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 สสวท. 16. แบบจำลองรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดต่าง ๆ 17. หลอดดูด 18. ลวดกำมะหย่ี 19. แผนภาพเศษส่วน 20. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 2 กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 เวลา 17 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 ปริมาตรและความจขุ องทรงสี่เหลี่ยมมมุ ฉาก เวลา 2 ช่ัวโมง เรือ่ งปริซึม 1. สาระสำคญั ปริซึมเปน็ รูปเรขาคณติ สามมิติ ทรงตนั มีหน้าตัดหรือฐาน 2 หน้า อยบู่ นระนาบทข่ี นานกัน และหน้าตดั หรอื ฐานเป็นรปู หลายเหลีย่ มที่เท่ากันทกุ ประการ หนา้ ข้างเปน็ รูปส่เี หลย่ี มด้านขนาน ชนดิ ของปริซึมจำแนกตามรูป หลายเหลีย่ มทเี่ ปน็ หน้าตดั หรือฐาน ปรซิ มึ สี่เหลย่ี มทีม่ หี น้าทกุ หน้าเป็นรูปส่ีเหล่ียมมุมฉาก เรียกว่า ทรงส่ีเหลย่ี มมมุ ฉาก ปริซึมสเี่ หล่ียมหรือทรงส่ีเหลย่ี มมมุ ฉากท่ีมีหนา้ ทุกหนา้ เป็นรูปสเี่ หล่ียมจตั รุ ัส เรยี กวา่ ลูกบาศก์ 2. ตัวชวี้ ัด ค 2.2 ป.5/4 บอกลกั ษณะของปรซิ ึม 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1.บอกลกั ษณะและสว่ นต่าง ๆ ของปริซึมได้ (K) 2. เขียนสว่ นประกอบตา่ ง ๆ ของปรซิ ึมได้ (P) 4. สาระการเรยี นรู้ ปริซึม 5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝเ่ รียนรู้ 2. มุ่งมน่ั ในการทำงาน 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชว่ั โมงท่ี 1 ข้นั ตอนที่ 1 : เตรยี มความพรอ้ ม 1. ครใู หน้ กั เรียนท่องสูตรคูณโดยใช้ไมก้ ลองประดิษฐ์และตาราง 9 ชอ่ งประกอบการท่องสตู รคูณ หลังจาก นนั้ ใหน้ ักเรยี นคิดเลขเร็วจำนวน 3 ขอ้ ขั้นตอนที่ 2 : เรียนรู้ 2. ครแู นะนำลักษณะของปรซิ ึมสามเหลยี่ มและปริซึมส่เี หลย่ี มในหนังสือเรียนหนา้ 139 พร้อมใช้ แบบจำลองประกอบการอธิบายวา่

❖ ปรซิ ึมทม่ี ีหนา้ ตัดหรอื ฐานเปน็ รูปสามเหลีย่ ม และมหี น้าขา้ งเป็นรปู สเ่ี หลย่ี มดา้ นขนาน เรียกว่า ปรซิ ึมสามเหล่ยี ม ❖ ปริซึมท่มี หี น้าตัดหรอื ฐานเปน็ รูปสเี่ หลย่ี ม และมหี น้าขา้ งเป็นรูปสเี่ หล่ียมด้านขนาน เรยี กว่า ปริซึม ส่ีเหล่ียม ❖ ปรซิ มึ เปน็ รปู เรขาคณิตสามมิติ ทรงตัน มีหนา้ ตัดหรือฐาน 2 หน้า อย่บู นระนาบที่ขนานกัน และหนา้ ตัดหรอื ฐาน เปน็ รปู หลายเหลีย่ มที่เทา่ กันทุกประการ หนา้ ข้าง เป็นรูปส่ีเหล่ยี มดา้ นขนาน ❖ ชนดิ ของปริซึม จำแนกตามรูปหลายเหล่ยี ม ทเ่ี ป็นหน้าตดั หรอื ฐาน ชัว่ โมงท่ี 2 ข้ันตอน ท่ี 3 : การฝกึ 3. จากน้นั ให้รว่ มกนั ตอบคำถามในหนงั สือเรียนหนา้ 139 แลว้ รว่ มกันทำกิจกรรมในหนงั สอื เรียนหนา้ 140 และใหท้ ำแบบฝึกหดั 8.3 เปน็ รายบคุ คล 4. ครจู ัดกจิ กรรม โดยให้นักเรยี นพจิ ารณาในหนังสอื หนา้ 141 แล้วใชแ้ บบจำลองทรงส่เี หล่ยี มมมุ ฉาก รว่ มกับการถาม-ตอบประกอบการอธบิ ายหนา้ ตดั หรือฐาน และหนา้ ขา้ งของปริซมึ สีเ่ หล่ียม ขั้นตอนที่ 4 : การสรปุ 5. จากน้ันอธบิ ายเชื่อมโยงไปสูท่ รงสเี่ หลีย่ มมุมฉากและ ลกู บาศกซ์ ึ่งจะไดว้ า่ ปริซึมส่เี หล่ยี ม ทมี่ หี นา้ ทกุ หน้าเปน็ รปู ส่ีเหล่ยี มมมุ ฉาก อาจเรยี กว่า ทรงสเี่ หลี่ยมมุมฉาก ปริซมึ สเี่ หล่ียมหรอื ทรงสเี่ หล่ยี มมุมฉาก ท่มี ีหน้าทุกหน้า เป็นรปู สเี่ หลย่ี มจตั รุ สั เรียกว่า ลกู บาศก์ ข้นั ตอนท่ี 5 : การประยกุ ต์ใชท้ นั ที 6. ครูใหน้ กั เรยี นทำแบบฝกึ หัดคณติ ศาสตร์ สสวท. 8. การวัดและประเมินผล การวัดผล 1. สงั เกตความมวี ินยั ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน 2. แบบฝกึ หัดคณติ ศาสตร์ สสวท. 3. สงั เกตการทำงาน การประเมินผล 1. ถือเกณฑ์ผา่ นจากการสังเกตพฤติกรรมสำหรับผู้ท่ีไดร้ ะดบั คุณภาพต้ังแต่ 2 ขึน้ ไป 2. ถือเกณฑผ์ า่ นสำหรบั ผูท้ ่ีทำแบบฝกึ หัดคณติ ศาสตร์ สสวท. ได้ระดับคุณภาพตัง้ แต่ 2 ขนึ้ ไป 3. ถอื เกณฑผ์ า่ นสำหรบั ผทู้ ่ีทำงานได้ระดบั คณุ ภาพตั้งแต่ 2 ข้ึนไป 9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ 1. หนังสือเรยี นคณติ ศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 สสวท. 2. แบบฝึกคณติ ศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 สสวท. 3. แบบจำลองรปู เรขาคณติ สามมิติชนดิ ต่าง ๆ

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 เวลา 17 ชัว่ โมง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 10 ปริมาตรและความจุของทรงสีเ่ หล่ียมมุมฉาก เวลา 2 ช่ัวโมง เร่อื งทรงสเี่ หลีย่ มมุมฉาก 1.สาระสำคญั ปรซิ ึมเป็นรปู เรขาคณิตสามมิติ ทรงตัน มีหนา้ ตดั หรือฐาน 2 หนา้ อยูบ่ นระนาบท่ขี นานกัน และหน้าตัด หรือฐานเป็นรปู หลายเหล่ียมที่เท่ากนั ทกุ ประการ หน้าขา้ งเป็นรปู สีเ่ หลย่ี มดา้ นขนาน ชนิดของปริซมึ จำแนกตาม รูปหลายเหลี่ยมท่ีเปน็ หน้าตัดหรือฐาน ปริซมึ สเ่ี หล่ียมท่ีมหี นา้ ทกุ หนา้ เปน็ รปู ส่ีเหลี่ยมมุมฉาก เรียกว่า ทรงสเี่ หลย่ี ม มมุ ฉาก ปริซึมสี่เหลย่ี มหรอื ทรงสเ่ี หลี่ยมมุมฉากทีม่ หี น้าทุกหนา้ เป็นรปู สี่เหล่ยี มจัตุรัส เรยี กว่าลูกบาศก์ 2. ตัวชวี้ ดั ค 2.2 ป.5/4 บอกลักษณะของปรซิ ึม 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1.บอกลกั ษณะและส่วนตา่ ง ๆ ของทรงสเี่ หลี่ยมมุมฉากได้ (K) 2.เขียนรปู ทรงสเี่ หลย่ี มมุมฉากได้ (P) 4. สาระการเรยี นรู้ 1.รูปเรขาคณิตสองมิติ และรูปเรขาคณิตสามมติ ิ ปริซมึ 5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 6. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมน่ั ในการทำงาน 7. กิจกรรมการเรยี นรู้ ชวั่ โมงที่ 1 ขัน้ ตอนที่ 1 : เตรยี มความพร้อม 1. ครูให้นักเรียนท่องสตู รคณู โดยใช้ไมก้ ลองประดิษฐ์และตาราง 9 ช่องประกอบการทอ่ งสตู รคณู หลังจาก นั้นใหน้ ักเรยี นคิดเลขเร็วจำนวน 3 ข้อ ขัน้ ตอนท่ี 2 : เรียนรู้ 2. การเขยี นรูปของทรงสี่เหล่ยี มมุมฉากบนกระดาษจุดไอโซเมตริกในหนงั สือเรยี นหนา้ 142-143 3. ครคู วรเตรยี มกระดาษจดุ ไอโซเมตริกให้เพยี งพอกับจำนวนนกั เรยี น โดยสามารถดาวน์โหลดได้จากQR

code ในหนังสือเรียนหนา้ 143 4. ใหน้ กั เรียนสงั เกตลกั ษณะการเรยี งจดุ บนกระดาษ แลว้ ทดลองเขยี น สว่ นของเส้นตรงเช่อื มจุด 2 จดุ ที่ อยใู่ กล้กัน 3 ทศิ ทาง ดงั ภาพแรกหน้า 142 แล้วตรวจสอบความยาวของสว่ นของเสน้ ตรงแตล่ ะเส้น ซ่งึ จะพบว่ามี ความยาวเท่ากนั 5. ให้พจิ ารณาการเขยี นส่วนของเส้นตรงให้มีความยาว 3 หน่วย และ 5 หนว่ ย จากภาพถัดมาในหน้า 142 ชัว่ โมงท่ี 2 ขั้นตอนที่ 3 : การฝกึ 6. ครคู วรให้นักเรยี นเขยี นส่วนของเสน้ ตรงทีม่ ีความยาวอืน่ ๆ เพิม่ เติมบนกระดาษจุดไอโซเมตริก เชน่ 4 หน่วย 6 หนว่ ย 7 หนว่ ย 8 หน่วย แล้วรว่ มกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง 7. ครสู าธติ ประกอบการอธบิ ายการเขยี นรูปของทรงส่ีเหล่ยี มมุมฉากบนกระดาษจุดไอโซเมตริกในหนังสือ เรียนหน้า 143 และใหน้ ักเรียนปฏิบัตติ ามทีละขั้น พร้อมแนะนำความกวา้ ง ความยาว และความสูงของรูป 8. ครูแนะนำว่า การเขยี นรูปของทรงสเ่ี หล่ียมมุมฉากบนกระดาษจดุ เปน็ การเขยี นรูปอย่างคร่าว ๆ ซึง่ ควร คำนึงถึง ความสมเหตสุ มผลของการเขยี นส่วนของเสน้ ตรงแทน ความกว้าง ความยาว และความสูง 9. ครสู าธติ ประกอบการอธิบายการเขียนรูปของ ทรงส่เี หลยี่ มมุมฉากบนกระดาษจุดในหนงั สือเรยี นหนา้ 144 และให้นกั เรยี นปฏิบัตติ ามทลี ะขัน้ พรอ้ มแนะนำความกว้าง ความยาว และความสูงของรูป ข้ันตอนท่ี 4 : การสรุป 10. เพอื่ ตรวจสอบความเข้าใจและสรปุ ความรู้ทไี่ ด้ ให้นักเรยี น ทำกจิ กรรมหน้า 145 เป็นรายบุคคล ข้ันตอนท่ี 5 : การประยุกตใ์ ช้ทันที 11. ครใู ห้นักเรยี นทำแบบฝึกหัดคณติ ศาสตร์ สสวท. แบบฝกึ หัด 8.4 เปน็ รายบคุ คล 8. การวัดและประเมนิ ผล การวดั ผล 1. สังเกตความมีวนิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้ และมุ่งมัน่ ในการทำงาน 2. แบบฝึกหดั คณิตศาสตร์ สสวท. 3. สังเกตการทำงาน การประเมนิ ผล 1. ถือเกณฑ์ผา่ นจากการสงั เกตพฤติกรรมสำหรับผู้ท่ีไดร้ ะดับคณุ ภาพตั้งแต่ 2 ขึน้ ไป 2. ถือเกณฑผ์ า่ นสำหรบั ผทู้ ที่ ำแบบฝกึ หัดคณติ ศาสตร์ สสวท. ได้ระดบั คณุ ภาพตั้งแต่ 2 ข้นึ ไป 3. ถือเกณฑผ์ ่านสำหรบั ผู้ที่ทำงานไดร้ ะดับคุณภาพตัง้ แต่ 2 ขึ้นไป 9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ 1. หนังสอื เรยี นคณิตศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 สสวท. 2. แบบฝึกคณติ ศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 สสวท. 3. กระดาษจดุ ไอโซเมตรกิ 4. กระดาษจุด

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 เวลา 17 ชั่วโมง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 10 ปริมาตรและความจุของทรงสีเ่ หลี่ยมมมุ ฉาก เวลา 2 ช่ัวโมง เร่ืองหนว่ ยของปริมาตรและการหาปรมิ าตร 1. สาระสำคญั ลูกบาศก์ทเี่ ปน็ ทรงตนั ท่ีมีความกว้าง ความยาว และความสูง ดา้ นละ 1 หน่วย มปี ริมาตร 1 ลกู บาศก์ หนว่ ย ลูกบาศกท์ ีเ่ ปน็ ทรงตัน ทมี่ คี วามกวา้ ง ความยาว และความสงู ดา้ นละ 1 เซนตเิ มตร มปี รมิ าตร 1 ลกู บาศก์ เซนติเมตร ลกู บาศกท์ เ่ี ป็นทรงตนั ท่ีมีความกว้าง ความยาว และความสงู ดา้ นละ 1 เมตร มีปริมาตร 1 ลูกบาศก์ เมตร 2. ตัวชีว้ ัด ค 2.1 ป.5/3 แสดงวิธหี าคำตอบของโจทยป์ ญั หาเก่ียวกบั ปรมิ าตรของทรงสีเ่ หลี่ยม มุมฉากและความจุ ของ ภาชนะทรงสีเ่ หลี่ยมมุมฉาก 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1.บอกวธิ กี ารเขยี นหน่วยการหาปรมิ าตรและความจุได้ (K) 2.เขียนหน่วยการหาปริมาตรและความจุและใชอ้ ักษรย่อ ได้ (P) 4. สาระการเรียนรู้ 1.หนว่ ยปริมาตรและความจุทรงสี่เหลยี่ มมมุ ฉากและลกู บาศก์ 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝเ่ รยี นรู้ 2. มุ่งมน่ั ในการทำงาน 7. กิจกรรมการเรยี นรู้ ชวั่ โมงท่ี 1 ขนั้ ตอนที่ 1 : เตรียมความพร้อม 1. ครใู ห้นกั เรยี นทอ่ งสูตรคณู โดยใชไ้ มก้ ลองประดษิ ฐแ์ ละตาราง 9 ชอ่ งประกอบการทอ่ งสูตรคูณ หลังจาก นน้ั ใหน้ ักเรยี นคดิ เลขเรว็ จำนวน 3 ขอ้

ขนั้ ตอนที่ 2 : เรียนรู้ 2. ครแู นะนำใหร้ ู้จักหนว่ ยของปริมาตร โดยอาจจดั กิจกรรมดังน้ี แนะนำปริมาตร 1 ลกู บาศกห์ น่วย โดยใช้ สื่อประกอบการอธบิ ายในหนังสือเรยี นหนา้ 146 3. ครเู รยี งลูกบาศกเ์ พมิ่ เติม แล้วให้นกั เรยี นหาปริมาตร และตรวจสอบโดยการนับ ขั้นตอนที่ 3 : การฝึก 4. จากนัน้ รว่ มกนั ทำกจิ กรรมในหนงั สือเรยี นหน้า 147 5. ครูอธบิ ายเพ่ิมเตมิ ว่า ทรงส่ีเหลี่ยมมมุ ฉาก ที่มีความยาวดา้ นละ 1 หน่วย มปี รมิ าตร 1 ลูกบาศกห์ น่วย แตท่ รงส่ีเหลี่ยมมุมฉาก ทมี่ ปี ริมาตร 1 ลกู บาศก์หน่วย ไมจ่ ำเปน็ ต้องมีความยาวด้านละ 1 หนว่ ย เช่น ทรง สีเ่ หลี่ยมมุมฉาก ทม่ี คี วามกวา้ ง 1 หน่วย ความยาว 2 หนว่ ย และความสงู 0.5 หน่วย มีปรมิ าตร 1 × 2 × 0.5 = 1 ลกู บาศก์หน่วย ชวั่ โมงที่ 2 ข้ันตอนที่ 3 : การฝกึ 6. ครูแนะนำปริมาตร 1 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร โดยใชส้ ื่อประกอบการอธิบายในหนังสือเรยี นหน้า 148 และ แนะนำการใชอ้ ักษรย่อ ของลูกบาศก์เซนตเิ มตร ซม.3 หรอื cm.3 อา่ นว่า เซนตเิ มตรยกกำลงั สาม และ cc อ่าน ว่า ซซี ี ย่อมาจาก Cubic Centimeter 7. ครแู นะนำปริมาตร 1 ลูกบาศก์เมตร โดยใชส้ อื่ ประกอบการอธิบายในหนงั สือเรียนหนา้ 149 และแนะนำ การใช้ อักษรย่อของลูกบาศกเ์ มตร เขียนแทนด้วย ม.3 หรอื m.3 อ่านวา่ เมตรยกกำลังสาม ข้นั ตอนที่ 4 : การสรปุ 8. จากน้ันร่วมกันปฏิบัติกจิ กรรม เพื่อให้นักเรียนเกิดความรสู้ กึ เชิงปริภูมิ (Spatial Sense) เก่ียวกบั 1 ลกู บาศก์เซนตเิ มตรจากของจรงิ ข้นั ตอนที่ 5 : การประยกุ ต์ใช้ทนั ที 9. ครใู หน้ กั เรียนทำแบบฝกึ หดั คณติ ศาสตร์ สสวท. 8. การวดั และประเมนิ ผล การวัดผล 1. สงั เกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ มนั่ ในการทำงาน 2. สังเกตการทำงาน 3. แบบฝึกหดั คณิตศาสตร์ สสวท. การประเมินผล 1. ถือเกณฑ์ผ่านจากการสังเกตพฤตกิ รรมสำหรบั ผู้ที่ได้ระดับคุณภาพตัง้ แต่ 2 ขึน้ ไป 2. ถือเกณฑ์ผ่านสำหรบั ผูท้ ่ีทำแบบฝกึ หดั คณติ ศาสตร์ สสวท. ได้ระดบั คณุ ภาพตง้ั แต่ 2 ขน้ึ ไป 3. ถือเกณฑผ์ ่านสำหรับผทู้ ่ีทำงานไดร้ ะดบั คุณภาพต้งั แต่ 2 ข้ึนไป 9. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสอื เรยี นคณติ ศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 สสวท. 2. แบบฝึกคณิตศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 สสวท. 3. ลูกบาศกห์ นว่ ย ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร ลูกบาศกเ์ มตร

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 5 กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 5 เวลา 17 ชั่วโมง หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 10 ปริมาตรและความจุของทรงสเ่ี หล่ียมมุมฉาก เวลา 3 ชั่วโมง เร่อื งการหาปรมิ าตรและความจุทรงสี่เหล่ียมมุมฉาก 1. สาระสำคญั ปรมิ าตรของทรงสีเ่ หลย่ี มมมุ ฉาก = ความกว้าง × ความยาว × ความสงู หรอื ปริมาตรของทรงสีเ่ หลย่ี มมมุ ฉาก = พืน้ ท่ฐี าน × ความสูง การหาความจขุ องภาชนะทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉากเป็นการหาปริมาตรภายในของภาชนะน้ัน ความจขุ องทรงสี่เหลย่ี มมุมฉาก = ความกวา้ ง × ความยาว × ความสงู หรอื ความจุของทรงสีเ่ หลี่ยมมุมฉาก = พน้ื ทฐี่ าน × ความสงู 2. ตวั ช้ีวัด ค 2.1 ป.5/3 แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหาเกยี่ วกบั ปริมาตรของทรงสี่เหลีย่ ม มุมฉากและความจุ ของ ภาชนะทรงสี่เหล่ยี มมมุ ฉาก 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1.บอกวธิ ีการหาปรมิ าตรทรงสเี่ หลีย่ มมมุ ฉากได้ (K) 2.เขยี นแสดงการหาปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากโดยการนับลกู บาศก์ได้ (P) 4. สาระการเรียนรู้ 1.หาปรมิ าตรและความจทุ รงสี่เหลีย่ มมุมฉากและลูกบาศก์ 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการคดิ 2. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต 6. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งม่ันในการทำงาน 7. กิจกรรมการเรียนรู้ ชว่ั โมงท่ี 1 ข้ันตอนที่ 1 : เตรยี มความพรอ้ ม 1. ครูให้นักเรยี นทอ่ งสูตรคณู โดยใชไ้ มก้ ลองประดษิ ฐแ์ ละตาราง 9 ชอ่ งประกอบการทอ่ งสูตรคณู หลงั จาก นน้ั ใหน้ กั เรียนคิดเลขเร็วจำนวน 3 ข้อ

ขั้นตอนที่ 2 : เรียนรู้ 2. ครใู ชล้ กู บาศกเ์ รยี งใหเ้ ปน็ ทรงส่เี หลยี่ มมมุ ฉากตามในหนังสือเรยี นหน้า 151-152 3. ครใู ชก้ ารถาม-ตอบประกอบการอธบิ าย เก่ยี วกบั การหาปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก โดยการนบั จำนวนลกู บาศก์อยา่ งเปน็ ระบบ ขั้นตอนท่ี 3 : การฝึก 4. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันเช่อื มโยงไปสู่การหาปริมาตรของทรงส่เี หล่ียมมุมฉากโดยการใชส้ ตู ร 5. ครจู ดั เรยี งลูกบาศก์ใหเ้ ป็นทรงสเ่ี หล่ยี มมุมฉากท่ีมขี นาดอน่ื เพ่ิมเติม หรืออาจใช้ส่ือดิจิทัลจาก QR code ในหนงั สือเรียนหนา้ 152 ให้นักเรียนหาปรมิ าตรโดยการนบั จำนวนลกู บาศก์ 6. ใหน้ ักเรียนสังเกตความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง ความกว้าง ความยาว และความสูงกบั ปริมาตรทไ่ี ด้ในแต่ละข้อ ข้ันตอนท่ี 4 : การสรปุ 7. จากนน้ั ครูและนักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายเพอื่ นำไปสู่ข้อสรปุ เกี่ยวกบั สูตรการหาปริมาตรของทรง สี่เหลยี่ มมุมฉากในหนงั สอื เรียนหน้า 153 ขั้นตอนที่ 5 : การประยุกต์ใชท้ นั ที 8. ครูให้นกั เรยี นทำแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ สสวท. ชัว่ โมงท่ี 2 ขน้ั ตอนท่ี 1 : เตรยี มความพรอ้ ม 1. ครใู ห้นกั เรยี นทอ่ งสูตรคณู โดยใชไ้ ม้กลองประดิษฐ์และตาราง 9 ชอ่ งประกอบการทอ่ งสูตรคูณ หลังจาก นั้นให้นักเรยี นคิดเลขเรว็ จำนวน 3 ขอ้ ขน้ั ตอนท่ี 2 : เรียนรู้ 2. ให้นกั เรยี นทบทวนความรู้เร่อื ง ลกู บาศก์ โดยครนู ำลูกบาศก์ 16 ลูก มาวางเรียงกนั หลาย ๆ แบบ แลว้ ใหผ้ ้แู ทนนักเรยี นออกมาหาปรมิ าตรโดยการนบั เช่น รูปท่ี 1 รูปที่ 2 รูปท่ี 3  แต่ละรูปมปี ริมาตรเทา่ ไร (16 ลูกบาศก์หน่วย) ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั ตรวจสอบความถูกต้อง 3. ครูใชก้ ารถาม-ตอบประกอบการอธิบายตัวอยา่ งในหนงั สือเรยี นหน้า 153-154 แลว้ รว่ มกนั ทำ กจิ กรรมหนา้ 154 และ ให้ทำแบบฝกึ หัด 8.6 เปน็ รายบคุ คล

ขนั้ ตอนที่ 3 : การฝึก 4. ครูใหน้ กั เรียนพจิ ารณาการหาปริมาตรของทรงสเ่ี หล่ยี มมมุ ฉากในหนังสอื เรยี นหนา้ 155 แล้วใช้การ ถาม-ตอบ เพื่อเชือ่ มโยงไปยังสูตรการหาปรมิ าตรของทรงส่ีเหล่ยี มมมุ ฉาก ว่าสามารถหาไดจ้ าก ความกว้าง × ความยาว × ความสงู หรือ พื้นทีฐ่ าน × ความสงู 5. จากนั้นใช้การถาม-ตอบ ประกอบการอธบิ ายตวั อย่างในหนังสอื เรยี นหนา้ 155 6. ร่วมกนั ทำกจิ กรรม หนา้ 156 ขนั้ ตอนที่ 4 : การสรุป 7. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรุปสูตรการหาปรมิ าตรของทรงสี่เหลยี่ มมมุ ฉาก = ความกวา้ ง × ความยาว × ความสงู หรอื ปริมาตรของทรงส่ีเหล่ยี มมมุ ฉาก = พื้นทฐี่ าน × ความสูง ขน้ั ตอนที่ 5 : การประยกุ ต์ใช้ทันที 8. ครใู ห้นกั เรียนทำแบบฝกึ หดั คณติ ศาสตร์ สสวท. 8.7 เปน็ รายบุคคล ช่ัวโมงท่ี 3 ขัน้ ตอนที่ 1 : เตรยี มความพร้อม 1. ครูใหน้ ักเรยี นท่องสูตรคณู โดยใชไ้ มก้ ลองประดษิ ฐแ์ ละตาราง 9 ชอ่ งประกอบการทอ่ งสตู รคูณ หลังจาก นั้นให้นักเรยี นคิดเลขเร็วจำนวน 3 ข้อ ขั้นตอนท่ี 2 : เรียนรู้ 2. ครนู ำกล่องกระดาษและแทง่ ไม้ทรงส่เี หล่ียมมุมฉากมาวางบนโตะ๊ หน้าชน้ั เรยี น แลว้ ให้นกั เรียน พจิ ารณาว่าเหมือนหรอื แตกต่างกันอย่างไร (เป็นทรงส่ีเหล่ียมมุมฉากเหมือนกัน แต่กล่องกระดาษมลี ักษณะกลวง สามารถบรรจุส่ิงของลงไปได้) 3. ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั ตรวจสอบความถูกต้อง ขน้ั ตอนท่ี 3 : การฝกึ 4. ครใู ชส้ ถานการณ์ในหนังสือเรียนหนา้ 157 ประกอบการอธิบายความหมายของความจขุ องภาชนะทรง สเ่ี หล่ยี มมุมฉาก และสตู รการหาความจขุ องทรงสีเ่ หลี่ยมมุมฉาก 5. ใช้การถาม-ตอบประกอบการอธบิ ายตวั อย่างในหนังสอื เรียนหน้า 158 ขน้ั ตอนท่ี 4 : การสรปุ 6. เพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจและสรปุ ความรทู้ ่ีได้ ใหน้ กั เรยี น ทำกิจกรรมในหนังสือเรยี นหนา้ 159 เป็น รายบุคคล ข้ันตอนท่ี 5 : การประยกุ ตใ์ ช้ทันที 7. ร่วมกันทำกจิ กรรม และให้ทำแบบฝกึ หดั 8.8 เป็นรายบุคคล 8. การวัดและประเมนิ ผล การวดั ผล 1. สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และมุง่ มัน่ ในการทำงาน 2. สงั เกตการทำงาน 3. แบบฝกึ หดั คณติ ศาสตร์ สสวท.

การประเมนิ ผล 1. ถอื เกณฑผ์ ่านจากการสังเกตพฤติกรรมสำหรับผทู้ ี่ไดร้ ะดับคณุ ภาพต้ังแต่ 2 ข้นึ ไป 2. ถือเกณฑ์ผ่านสำหรับผู้ทท่ี ำแบบฝกึ หดั คณติ ศาสตร์ สสวท. ได้ระดับคณุ ภาพตงั้ แต่ 2 ขน้ึ ไป 3. ถอื เกณฑผ์ ่านสำหรบั ผทู้ ่ีทำงานไดร้ ะดับคุณภาพตงั้ แต่ 2 ข้นึ ไป 9. ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้ 1. หนงั สอื เรียนคณติ ศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 สสวท. 2. แบบฝกึ คณิตศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 สสวท. 3. ลูกบาศก์หนว่ ย 4. ลกู บาศก์เซนตเิ มตร 5. ลกู บาศก์เมตร 6. กล่องกระดาษและแทง่ ไม้ทรงสีเ่ หลี่ยมมมุ ฉาก

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 6 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 เวลา 21 ช่ัวโมง หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 10 เวลา 1 ช่วั โมง เรอ่ื งความสัมพันธร์ ะหว่างหน่วยปริมาตร หรือหน่วยความจุ 1. สาระสำคัญ 1 ลติ ร เท่ากบั 1,000 มิลลลิ ิตร 1 ลิตร เทา่ กับ 1,000 ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร 1 ลกู บาศก์เซนตเิ มตร เท่ากับ 1 มลิ ลลิ ติ ร 1 ลูกบาศกเ์ มตร เท่ากบั 1,000 ลิตร 2. ตัวชวี้ ัด ค 2.1 ป.5/3 แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหาเก่ยี วกบั ปริมาตรของทรงสเ่ี หล่ยี ม มุมฉากและความจุ ของ ภาชนะทรงสเ่ี หลีย่ มมมุ ฉาก 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1.บอกหน่วยของปริมาตรและความจุได้ (K) 2.เขียนแสดงการหาหนว่ ยของปรมิ าตรและความจไุ ด้ (P) 4. สาระการเรยี นรู้ 1.ความสมั พนั ธ์ของหน่วยของปริมาตรและความจุ 5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ 6. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝเ่ รยี นรู้ 2. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน 7. กิจกรรมการเรยี นรู้ ชั่วโมงที่ 1 ขัน้ ตอนท่ี 1 : เตรยี มความพร้อม 1. ครใู หน้ ักเรยี นท่องสูตรคณู โดยใช้ไม้กลองประดษิ ฐ์และตาราง 9 ชอ่ งประกอบการท่องสูตรคูณ หลงั จาก นั้นให้นกั เรยี นคิดเลขเรว็ จำนวน 3 ข้อ

ข้ันตอนที่ 2 : เรียนรู้ 2. ครใู ช้การถาม-ตอบประกอบการอธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหว่างลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร ลูกบาศกเ์ มตร มลิ ลิลิตร ลติ ร ในหนังสอื เรียนหนา้ 160-161 3. จากนน้ั ใหพ้ จิ ารณาตวั อยา่ งในหนังสือเรียนหนา้ 162 แล้ว รว่ มกนั ทำกิจกรรม ข้นั ตอนที่ 3 : การฝึก 4. ทำแบบฝึกหัด 8.9 เป็นรายบคุ คล 5. เพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจและสรปุ ความรทู้ ่ีได้ ใหน้ ักเรียนทำกิจกรรมในหนังสือเรยี นหนา้ 163 เป็น รายบุคคล ขนั้ ตอนที่ 4 : การสรปุ 6. ครูและนักเรียนร่วมกันสรปุ ความรู้เกีย่ วกบั ความสัมพันธร์ ะหวา่ งหน่วยปริมาตรหรือหนว่ ยความจุ 1 ลติ ร เทา่ กับ 1,000 มลิ ลิลิตร 1 ลิตร เท่ากับ 1,000 ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร 1 ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร เท่ากับ 1 มิลลิลิตร 1 ลกู บาศกเ์ มตร เท่ากับ 1,000 ลิตร ข้ันตอนที่ 5 : การประยุกตใ์ ช้ทนั ที 7. ครูให้นกั เรียนทำแบบฝกึ หัดคณติ ศาสตร์ สสวท. 8. การวดั และประเมนิ ผล การวดั ผล 1. สังเกตความมีวินยั ใฝเ่ รยี นรู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน 2. สงั เกตการทำงาน 3. แบบฝกึ หดั คณิตศาสตร์ สสวท. การประเมนิ ผล 1. ถือเกณฑผ์ ่านจากการสงั เกตพฤติกรรมสำหรบั ผ้ทู ่ีไดร้ ะดับคณุ ภาพต้ังแต่ 2 ขน้ึ ไป 2. ถอื เกณฑ์ผ่านสำหรับผทู้ ีท่ ำแบบฝกึ หัดคณติ ศาสตร์ สสวท. ได้ระดบั คณุ ภาพต้ังแต่ 2 ขนึ้ ไป 3. ถอื เกณฑ์ผ่านสำหรบั ผทู้ ี่ทำงานไดร้ ะดับคุณภาพตัง้ แต่ 2 ขนึ้ ไป 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสอื เรยี นคณิตศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 สสวท. 2. แบบฝกึ คณติ ศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 สสวท.

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 7 กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ วิชาคณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 เวลา 17 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ท่ี 10 ปริมาตรและความจุของทรงส่ีเหลี่ยมมมุ ฉาก เวลา 5 ช่ัวโมง เร่ืองโจทยป์ ัญหาปริมาตรและความจุ 1. สาระสำคัญ การแกโ้ จทยป์ ญั หาเกีย่ วกบั ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมมุ ฉากและความจุของ ภาชนะทรงสเี่ หล่ียมมมุ ฉาก เริม่ จาก ทำความเข้าใจปัญหา วางแผนแกป้ ัญหา ดำเนินการตามแผน และตรวจสอบ ปริมาตรของทรงสเี่ หลยี่ มมุมฉาก = ความกวา้ ง × ความยาว × ความสูง หรือ พืน้ ท่ีฐาน × ความสงู 2. ตวั ช้วี ัด ค 2.1 ป.5/3 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ญั หาเกย่ี วกับปริมาตรของทรงส่ีเหลี่ยม มมุ ฉากและความจุ ของ ภาชนะทรงสเ่ี หลี่ยมมมุ ฉาก 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1.บอกวิธกี ารแกโ้ จทยป์ ญั หาเก่ียวกบั ปริมาตรของทรงส่ีเหล่ียมมมุ ฉากและความจุของภาชนะทรง ส่เี หล่ยี มมมุ ฉากได้ (K) 2.เขียนแสดงการแก้โจทยป์ ญั หาเกี่ยวกับปรมิ าตรของทรงส่ีเหลยี่ มมุมฉากและความจขุ องภาชนะทรง สเี่ หลยี่ มมุมฉากได้ (P) 3.ออกแบบบรรจุภณั ฑ์สินคา้ (P) 4. สาระการเรยี นรู้ 1.โจทย์ปญั หาปริมาตรและความจุทรงส่ีเหลีย่ มมมุ ฉากและลูกบาศก์ 5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการคดิ 2. ความสามารถในการแกป้ ญั หา 3. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ 6. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ใฝเ่ รยี นรู้ 2. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน