เจ้าหน้าที่ admission ทำหน้าที่ อะไร

การสอบแอดมิชชั่นถือว่าเป็นการสอบชี้ชะตาของนักเรียนในระดับชั้น ม.6 ทุกคนที่ต้องเข้าสู่สนามสอบแข่งขันเข้าสู่คณะและมหาวิทยาลัยที่ฝันไว้ ถือเป็นการสอบครั้งใหญ่ที่สุดของชีวิต นักเรียนที่เข้าสอบทุกคนจะแบกรับความเครียดจากการติวหนังสือมาราธอน ความคาดหวังจากผู้ปกครอง และความต้องการจะไปให้ถึงความฝันของตัวเอง เมื่อแอดมิชชั่นมีความสำคัญต่อเรามาก การทำความรู้จักกับมันให้ละเอียดจึงเป็นสิ่งจำเป็นครับ

แอดมิชชั่น Admission สิ่งที่อยู่เคียงคู่เด็ก ม.6 มาแล้วทุกรุ่น!

เจ้าหน้าที่ admission ทำหน้าที่ อะไร
เจ้าหน้าที่ admission ทำหน้าที่ อะไร

     แอดมิชชั่น หรือ Admission ชื่อเต็มๆว่า ระบบกลางคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา (Central University Admissions System: CUAS) ดูแค่ชื่อก็น่าจะทราบกันดีแล้วว่าแอดมิสชั่นคือระบบสอบกลางที่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่า ที่มีความต้องการจะศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ต้องสอบ แล้วนำคะแนนสอบที่ได้มายื่นเลือกคณะกันอีกที

ระบบแอดมิชชั่นนี้ บริหารงานโดย สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อว่า สทศ. โดยที่หน้าที่ของสทศ. คือพัฒนาข้อสอบเพื่อวัดและประเมินมาตรฐานการศึกษา วัดความรู้ความสามารถของผู้เข้าสอบแต่ละคน สทศ.จะรับผิดชอบการประเมินผลด้านการศึกษาให้กับนักเรียนที่เรียนหลักสูตรไทย ในประเทศไทย หลายครั้งด้วยกันคือ ป.3, ป.6, ม.3, และ ม.6 แต่ในการสอบแอดมิชชั่นนั้นจะนับกันเฉพาะ การสอบวัดผลในระดับชั้น ม.6 เท่านั้น

     ยังมีอีก 1 องค์การที่จะไม่กล่าวถึงก็คงจะไม่ได้ คือ กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเป็นผู้วางมาตรฐานหลักสูตรการศึกษาให้กับโรงเรียนต่างๆในประเทศไทย เรียกง่ายๆว่า กระทรวงศึกษาเป็นผู้กำหนดหลักสูตร โรงเรียนมีหน้าที่สอนนักเรียนตามหลักสูตร และสทศ.มีหน้าที่สอบวัดผลโรงเรียนและนักเรียนแต่ละคนตามหลักสูตรนั่นเอง

กลับเข้าเรื่องแอดมิชชั่นกันต่อว่า มีวิชาอะไรบ้างที่จะต้องสอบกัน

     1. O-NET (Ordinary National Education Test) หรือการสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน ในตอนนี้จะพูดถึงการสอบ O-NET ในระดับชั้น ม.6 เพียงอย่างเดียว แนวคิดของ O-NET คือ การวัดผลของโรงเรียนแต่ละโรงเรียนว่า ได้สอนนักเรียนของตัวเองตามหลักสูตรกระทรวงขนาดไหน ข้อสอบ O-NET นี้จะเป็นข้อสอบง่ายๆที่วัดเฉพาะพื้นฐานจริงๆเท่านั้น

     2. GAT (Genetal Aptitude Test) หรือมีชื่อเป็นภาษาไทยสั้นๆว่า  การสอบความถนัดทั่วไป ซึ่งจะเน้นเนื้อหาทางด้าน การอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ รวมไปถึงการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ ข้อสอบ GAT นี้จะมีความซับซ้อนมากกว่าความยาก

     3. PAT (Professional Aptitude Test) หรือมีชื่อเป็นภาษาไทยสั้นๆว่า การสอบความถนัดเฉพาะด้าน/วิชาการ เป็นข้อสอบที่ยากที่สุดในสามตัวที่พูดถึง วิชาเฉพาะด้านที่มีสอบคือ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ พื้นฐานวิศวกรรม พื้นฐานสถาปัตยกรรม พื้นฐานความเป็นครู และวิชาด้านภาษาอื่นๆนอกเหนือจากภาษาอังกฤษ

สอบเสร็จแล้วก็นำคะแนนที่ได้มา ไปยื่นเลือกคณะ

การสอบแอดมิชชั่นจะสอบรวมกันทีเดียวเลย แล้วจะนำคะแนนของวิชาไหนมายื่นบ้างก็เป็นเรื่องของแต่ละคณะจะกำหนดกันเอาเอง รวมกับ เกรดเฉลี่ยในระดับชั้นมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคำนวนด้วย โดยน้ำหนักของคะแนนสอบแต่ละส่วนจะแตกต่างกันไปตามมหาวิทยาลัยและคณะ การคิดคะแนนจึงค่อนข้างยุ่งยาก (มากกก) เมื่อนำคะแนนทั้งหมดสี่ส่วนมารวมกันเป็นคะแนนสุดท้าย แล้วนำคะแนนสุดท้ายที่ว่านี้มาทำการยื่นเลือกคณะอีกทีนึง

     การจะดูว่าคณะไหนต้องการคะแนนวิชาอะไรเท่าไหร่บ้าง หาไม่ยากครับ ที่ ห้องแนะแนว ของทุกๆโรงเรียนมีข้อมูลและเอกสารมากมายให้ศึกษา หากข้อมูลเยอะเกินไปจนขี้เกียจอ่านเองก็ลองใช้ทางลัด ถามอาจารย์แนะแนวดูก็ได้ครับ อาจารย์ยินดีให้คำปรึกษากับน้องๆทุกคนแน่นอนครับ อย่าเขิน อย่าอาย อย่างน้อยไปห้องแนะแนวก็ได้ตากแอร์ (หรือพัดลม) เย็นกว่าตากแดดที่สนามแน่ๆ

มีคณะไหนบ้างที่ไม่รับผ่านระบบแอดมิชชั่น

จะมีข้อยกเว้นเกี่ยวกับการแอดมิชชั่นอยู่บ้าง เนื่องจากมหาวิทยาลัยหลายๆที่ไม่มีความเชื่อมั่นในการสอบแอดมิชชั่น จึงได้จัดการสอบตรงขึ้น โดยเฉพาะคณะทางด้านแพทย์ส่วนใหญ่จะรับเฉพาะการสอบตรง ไม่ค่อยจะได้เห็นคณะด้านแพทย์ที่รับเด็กที่ผ่านการสอบแอดมิชชั่นเท่าไหร่กันนัก และยังเปลี่ยนแปลงไปมาอย่างรวดเร็วด้วย บางมหาวิทยาลัยรับผ่านแอดมิชชั่นปีที่แล้วแต่ไม่รับผ่านแอดมิชชั่นปีนี้ ต้องติดตามข่าวกันอย่างละเอียดปีต่อปีกันเลยทีเดียว ตรงกันข้ามกับการสอบตรงซึ่งรับทุกปี

งานรับผู้ป่วยใน (Admission)

  • ประสานงานการติดต่อห้องพัก
  • การตรวจสอบสิทธิเบื้องต้นผู้ป่วยใน
  • การประเมินวงเงินความคุ้มครองค่ารักษา ของกรมธรรม์ที่ลูกค้ายื่น
  • ตรวจสอบประวัติการเคลมต่อเนื่องกรณีเจ็บป่วยด้วยโรคเดิม

งานประเมินค่าใช้จ่าย(Cost estimate)

  • ประเมินวงเงินการผ่าตัด /หัตถการ
  • ประเมินวงเงินการตรวจวินิจฉัยด้วยเครื่องมือพิเศษ เช่น CT Scan,MRI
  • การขอตรวจสอบความคุ้มครองและวงเงินการรักษาล่วงหน้ากรณี Day case

งานประกันและบริหารทรัพยากรทางการแพทย์ (Insurance &UM nurse)

  • ประเมินความเหมาะสมจำเป็น คุ้มค่า การนอนรักษาพยาบาลเป็นผู้ป่วยใน
  • ประสานงานกับฝ่ายสินไหมของบริษัทประกัน เพื่อขออนุมัติการรับรองค่ารักษาพยาบาล
  • ประเมินความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นจากการใช้บริการ Fax claim service
  • ประเมินความคุ้มครอง/สอดคล้องของโรค กับกรมธรรม์ที่ลูกค้ายื่นใช้บริการ

เจ้าหน้าที่ รับผู้ป่วยใน ทํา อะไร บ้าง

- ให้บริการผู้ป่วยในการประสานงานรับผู้ป่วยเข้าพักรักษาในโรงพยาบาล - ชี้แจงรายละเอียดค่าใช้จ่ายยอดประเมินให้ผู้รับบริการ - รับผู้ป่วยเข้าพักเตียง และเตรียมเอกสารตามสิทธิการรักษา - ประเมินค่ารักษาพยาบาลเบื้องต้น

ตําแหน่งงานในโรงพยาบาล มีอะไรบ้าง

พยาบาลวิชาชีพ 6 อัตรา (มีใบประกอบวิชาชีพ).
นักรังสีเอกซเรย์ จำนวน 1 อัตรา.
เจ้าหน้าที่ เทคนิคการแพทย์ 2 อัตรา.
เภสัชกร 3 อัตรา.
เจ้าหน้าที่สาธารณสุข 6 อัตรา.
ผู้ช่วยเภสัชกร 1. อัตรา.
เจ้าหน้าที่เวชระเบียน 2 อัตรา.
เจ้าหน้าที่การเงิน/กองทุนทดแทน 2 อัตรา.

เจ้าหน้าที่ประสานสิทธิ์ คืออะไร

ให้บริการเรื่องสิทธิการเบิกต่างๆ • ประสานงานเรื่องเอกสารการใช้สิทธิรักษาพยาบาลให้ถูกต้องครบถ้วน • แนะนำและอธิบายเรื่องสิทธิการเบิกต่างๆให้กับผู้รับบริการภายในและภายนอก • แนะนำเรื่องสิทธิ์เบิกประกันต่างๆในการใช้เครดิต ให้เป็นไปตามเงื่อนไขของบริษัทประกัน • ติดตามเอกสารการใช้สิทธิ์เบิกที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนจัดเตรียมเอกสาร ...