คำสั่งในข้อใดไม่เกี่ยวกับการคำนวณใน spss

����-���ʡ�� ���/˹��§ҹ

1. �дѺ�����ŷҧʶԵ������繡���дѺ ?
�. 2
�. 3
�. 4
�. 5

2. �ӷ���������Ǣ�ͧ�Ѻ����ͧ������������ŷҧʶԵ� ?
�. SPSS
�. SAS
�. SAR
�. PASW

3. ʶԵ�㴷�������ǡ���ǡѹ ?
�. Mean
�. Median
�. Mode
�. Range

4. �������Է����á�Ш�¢ͧ�������ҡ���͹��»������������������� ?
�. 25
�. 30
�. 50
�. 55

5. �ӹǹ������ҧ���·���ش��觶������ҡ��㹷ҧʶԵԤ�� ?
�. 20
�. 30
�. 40
�. 50

6. ��㴷������Ǣ�ͧ�Ѻ�������ԧ����ҳ�ҡ����ش ?
�. Frequencies
�. Crosstab
�. Chi-square
�. T-test

7. ����� SPSS ��������������ҧ���������ҡ����������ѡɳе��᷹��ǧ ?
�. Compute
�. Recode
�. Random
�. Define

8. ������͡��������§�ҧ��ǹ�ҷӡ����������������� ?
�. Rank Cases
�. Split File
�. Select Cases
�. Weight Cases

9. ʶԵ� Chi-square �ռ��Ҩҡ�������������� ?
�. Frequencies
�. Crosstab
�. T-test
�. Regression

10. ��㴵��仹���������Ǣ�ͧ�ѹ�����ͧ����觷ҧ��������ʶԵ�������� SPSS ?
�. T-test
�. One-Way-ANOVA
�. LSD
�. Duncan

        การทำงานของโปรแกรม SPSS for Windows version 12 เป็นการทำงานภายใต้ระบบการปฏิบัติงาน Windows ดังนั้นสามารถใช้ความสามารถขั้นพื้นฐาน เช่น การเลือกบริเวณเพื่อ copy, cut, paste ฯลฯ แล้วนำข้อมูลนั้นไปใช้กับโปรแกรมอื่นๆ เช่น Excel, Microsoft Word, MathCADหรือนำข้อมูลจาก Excel, Microsoft Word, MathCAD มาใช้กับ SPSS for Windows ตัวอย่างเช่น ข้อมูลในรูปแบบของคอลัมน์ (Column) สามารถนำมาเป็นข้อมูลในรูปแบบของตัวแปร SPSS for Windows ได้ หรือข้อมูลที่วิเคราะห์ได้จาก SPSS for Windows สามารถ copy รูปแบบตารางไปเป็นตารางของ Microsoft Word ได้ทันที

คำสั่งในโปรแกรม SPSS ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ทางสถิติเชิงพรรณนามีอยู่หลายคำสั่งเช่น คำสั่ง Frequencies คำสั่ง Descriptive คำสั่ง Explore คำสั่ง Crosstabs เป็นต้น

1.1     คำสั่ง Frequencies

คำสั่ง Frequencies

    คำสั่ง Frequencies เป็นคำสั่งที่ให้ค่าจำนวนและร้อยละของข้อมูลหนึ่งกลุ่ม หรือเป็นคำสั่งที่ใช้สร้างตารางแจกแจงความถี่ทางเดียวของตัวแปรที่สนใจ โดยคำสั่งนี้ใช้ได้ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ ซึ่งขั้นตอนการเรียกใช้คำสั่ง Frequencies สามารถทำได้ดังนี้

ขั้นที่ 1. เลือกเมนูและคำสั่งตามลำดับ ดังนี้ Analyze  Descriptive Statistics  Frequencies

คำสั่งในข้อใดไม่เกี่ยวกับการคำนวณใน spss

จะปรากฏวินโดวส์ของ Frequencies ดังนี้

 

คำสั่งในข้อใดไม่เกี่ยวกับการคำนวณใน spss

ขั้นที่ 2. เลือกตัวแปรที่ต้องการศึกษาไปไว้ในบ๊อกซ์ของVariable(s) 

ในที่นี้เลือกตัวแปร SEX

คำสั่งในข้อใดไม่เกี่ยวกับการคำนวณใน spss

ขั้นที่ 3. กำหนดการแสดงผลลัพธ์ โดยคลิกปุ่ม Statistics สำหรับแสดงค่าสถิติ

คำสั่งในข้อใดไม่เกี่ยวกับการคำนวณใน spss

จะปรากฏค่าสถิติ ดังนี้

- Percentile Values กลุ่มของค่าเปอร์เซ็นต์ไทล์ ประกอบด้วย ค่าควอไทล์ และค่า

- เปอร์เซ็นต์ไทล์ 

- Dispersion การหาค่าการกระจายของข้อมูล ประกอบด้วย ส่วนเบี่ยงเบน

- มาตรฐาน ความแปรปรวน ค่าพิสัย ค่าต่าสุด ค่าสูงสุด ค่า 

- ความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน

- Central Tendency การวัดแนวโน้มสู่ส่วนกลาง ประกอบด้วย ค่ามัชฌิมเลขคณิต 

- ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม ค่าผลรวม 

- Distribution การแจกแจงของข้อมูล 

- เลือกค่าสถิติ ที่ต้องการแล้วคลิก Continue

คำสั่งในข้อใดไม่เกี่ยวกับการคำนวณใน spss

ขั้นที่ 4. คลิกที่ปุ่ม OK จะปรากฏผลลัพธ์ในวินโดวส์ Output

 

คำสั่งในข้อใดไม่เกี่ยวกับการคำนวณใน spss

ความหมายของผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรม SPSS ที่เป็น missing มารวม ข้อมูลที่เป็น missing มารวม

- Valid คือ ข้อมูลที่นำมาแจกแจงความถี่

- Missing คือ ข้อมูลที่ขาดหายไปหรือไม่สมบูรณ์

- Total คือ ข้อมูลทั้งหมดที่นำมาแจกแจงความถี่

- Frequency คือ ค่าที่แสดงจำนวน หรือความถี่ที่นับได้

- Percent คือ ค่าที่แสดงจำนวน หรือความถี่ที่นับได้ ในรูปร้อยละ

- Valid Percent คือ ค่าที่แสดงจำนวนที่นับได้ในรูปร้อยละ โดยไม่นำจำนวนข้อมูล 

- Cumulative Percent คือ ค่าที่แสดงจำนวนสะสมในรูปร้อยละ โดยไม่นำจำนวน

 11.2 คำสั่ง Crosstabs

คำสั่ง Crosstabs

    คำสั่ง Crosstabs เป็นคำสั่งที่เกี่ยวกับการส ร้างตารางแจกแจงแบบหลายทาง และสามารถแสดงค่าความถี่ ร้อยละ การคำนวณค่าสถิติเพื่อทดสอบสมมติฐานได้อีกด้วย คำสั่ง Crosstabs นี้เหมาะสำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นการจำแนกข้อมูลตามลักษณะของข้อมูลตั้งแต่ 2 ลักษณะ มาแจกแจงพร้อมๆ กัน เรียกว่า “การแจกแจงความถี่ ร่วม” (Crosstabs) ซึ่งขั้นตอนการเรียกใช้คำสั่ง Crosstabs สามารถทำได้ดังนี้ ตัวอย่าง ตารางแจกแจงความถี่ จำแนกตามเพศ และระดับการศึกษา

ขั้นที่ 1. เลือกเมนู และค าสั่งตามลำดับ ดังนี้ Analyze  Descriptive Statistics  Crosstabs

คำสั่งในข้อใดไม่เกี่ยวกับการคำนวณใน spss

จะปรากฏวินโดวส์ของ Crosstabs ดังนี้

คำสั่งในข้อใดไม่เกี่ยวกับการคำนวณใน spss

ขั้นที่ 2. เลือกตัวแปรเชิงคุณภาพ ตัวที่ 1 (เพศ) ไปไว้ในบ๊อกซ์ของ Row(s)

 เลือกตัวแปรเชิงคุณภาพ ตัวที่ 2 (ระดับการศึกษา) ไปไว้ในบ๊อกซ์ของ Column(s)

คำสั่งในข้อใดไม่เกี่ยวกับการคำนวณใน spss

ขั้นที่ 3. ถ้าต้องการหาค่าร้อยละแบบต่างๆ ให้คลิกที่ปุ่ม Cells จะปรากฏวินโดวส์ของ Crosstabs : Cell Display ให้เลือกค่าที่ต้องการเพิ่มเติม

ขั้นที่ 4. สมมติว่าต้องการร้อยละทุกค่า ให้เลือกบ๊อกซ์ของ  Row Column  Total ในส่วนของ Percentages และคลิกที่ปุ่ม Continue 

ขั้นที่ 5. คลิกที่ปุ่ม OK จะปรากฏผลลัพธ์ในวินโดวส์ Output

 

คำสั่งในข้อใดไม่เกี่ยวกับการคำนวณใน spss

 11.3 คำสั่ง Descriptive

คำสั่ง Descriptive

    คำสั่ง Descriptive เป็นคำสั่งที่ใช้ในการหาค่าสถิติเบื้องต้น ซึ่งจะแสดงออกมาเป็นตารางค่าสถิติต่างๆ คำสั่งนี้ใช้ได้ดีกับข้อมูลเชิงปริมาณ เช่น การหาค่ามัชฌิมเลขคณิต การหาค่าผลรวม การหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การหาค่าต่ าสุด การหาค่าสูงสุด ซึ่งขั้นตอนการเรียกใช้คำสั่ง Crosstabs สามารถทำได้ดังนี้ 

ขั้นที่ 1. เลือกเมนู และคำสั่งตามลำดับ ดังนี้

Analyze  Descriptive Statistics  Descriptive

คำสั่งในข้อใดไม่เกี่ยวกับการคำนวณใน spss

จะปรากฏวินโดวส์ของ Descriptive ดังนี้

คำสั่งในข้อใดไม่เกี่ยวกับการคำนวณใน spss

ขั้นที่ 2. เลือกตัวแปรที่ต้องการศึกษาไปไว้ในบ๊อกซ์ของVariable(s) 

ในที่นี้เลือกตัวแปร INCOME

คำสั่งในข้อใดไม่เกี่ยวกับการคำนวณใน spss

ขั้นที่ 3. คลิกที่ปุ่ม OK จะปรากฏผลลัพธ์ในวินโดวส์ Output

คำสั่งในข้อใดไม่เกี่ยวกับการคำนวณใน spss

11.4 คำสั่ง Explore

คำสั่ง Explore

    คำสั่ง Explore เป็นคำสั่งที่ใช้ในการสร้างสรุปค่าสถิติเบื้องต้น แยกตัวแปรที่สนใจ โดยมากใช้กับข้อมูลเชิงปริมาณที่ต้องการจำแนกตามข้อมูลเชิงคุณภาพ เช่นสรุปค่าสถิติแยกตามเพศ ซึ่งขั้นตอนการเรียกใช้คำสั่ง Explore สามารถทำได้ดังนี้

ขั้นที่ 1. เลือกเมนู และคำสั่งตามลำดับ ดังนี้

Analyze  Descriptive Statistics  Explore

คำสั่งในข้อใดไม่เกี่ยวกับการคำนวณใน spss


จะปรากฏวินโดวส์ของ Descriptive ดังนี้

คำสั่งในข้อใดไม่เกี่ยวกับการคำนวณใน spss

ขั้นที่ 2. เลือกตัวแปรที่ต้องการศึกษา โดยที่

เลือกตัวแปรเชิงปริมาณที่ต้องการหาค่าสถิติไว้ที่ช่อง Dependent List เลือกตัวแปรเชิงคุณภาพที่ต้องการแบ่งกลุ่มไว้ที่ช่อง Factor List