ทํา งาน 4 เดือน ลาออก Pantip

นายบุญสงค์ ทัพชัยยุทธ์ เลขาธิการสำนักงานประกันสังคม กล่าวว่า กรณีผู้ประกันตน มาตรา 33 ลาออกจากงาน ยังคงได้รับความคุ้มครองจากกองทุนประกันสังคมต่อเนื่องไปอีก 6 เดือน โดยสามารถใช้สิทธิการคุ้มครอง 4 กรณี ได้แก่ กรณีเจ็บป่วยหรือประสบอันตราย กรณีคลอดบุตร กรณีทุพพลภาพ และกรณีเสียชีวิตส่วนหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการได้สิทธิ ต้องส่งเงินสมทบครบก่อนสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 หมายความว่า กรณีเจ็บป่วย และกรณีทุพพลภาพ ผู้ประกันตนต้องเคยส่งเงินสมทบมาแล้ว 3 เดือน ภายใน 15 เดือน ส่วนกรณีคลอดบุตร ต้องเคยส่งเงินสมทบมาแล้ว 5 เดือน ภายใน 15 เดือน และกรณีเสียชีวิต ต้องเคยส่งเงินสมทบมาแล้ว 1 เดือน ภายใน 6 เดือน ทั้งนี้หากภายในระยะเวลา 6 เดือนหลังลาออกจากงานหรือถูกเลิกจ้าง ผู้ประกันตนยังไม่ได้กลับเข้าทำงานกับนายจ้าง หรือกลับเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 สิทธิประกันสังคมจะสิ้นสุดลงอัตโนมัติ

เลขาธิการสำนักงานประกันสังคม แนะว่า หากผู้ประกันตนมาตรา 33 ที่ลาออกจากงานหรือถูกเลิกจ้าง ต้องการรักษาสิทธิประโยชน์ประกันสังคมให้คุ้มครองต่อเนื่อง ภายในระยะเวลา 6 เดือนหลังลาออกจากงาน สามารถสมัครเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39 โดยจ่ายเงินสมทบเพียงเดือนละ 432 บาท และยังคงได้รับสิทธิประโยชน์ต่างๆ เหมือนลูกจ้างผู้ประกันตน มาตรา 33 ยกเว้นกรณีว่างงานเพียงกรณีเดียว

แม้งานที่ได้รับมอบหมายในช่วงโปร ส่วนใหญ่จะอยู่ในความรับผิดชอบของรุ่นพี่เป็นหลัก แต่ไม่ได้หมายความว่า คุณจะทำพอแล้ว ๆ พอให้เสร็จไปได้นะครับ อย่าลืมว่า ตอนนี้คุณกำลังถูกจับตามอง ทุกงานที่คุณทำ ผลเป็นยังไง รุ่นพี่ก็นำไปรายงานหัวหน้าและเจ้านายได้ตลอดนะครับ

2.ทำงานผิดซ้ำอยู่นั่นแหละ

ผิดพลาดครั้งแรกครั้งสองเป็นเรื่องธรรมดา เขาพร้อมให้โอกาสอยู่แล้ว ถ้าเห็นว่าคุณเรียนรู้และเร่งแก้ไขพร้อมพัฒนาไม่ให้ผิดซ้ำอีก แต่ถ้ามีครั้งที่ 3 4 5 6 ... แล้วคุณจะผิดซ้ำอีกกี่ครั้ง ? แล้วงานจะต้องเสียหายอีกเท่าไร ?

3.ไม่คิดพัฒนาตัวเองเลย 

ถ้ารอรุ่นพี่คอยแนะนำและคอยสั่งงานในช่วงแรกอันนี้ไม่เป็นไร แต่ถ้าผ่านไปเป็นเดือน ขึ้นเดือนที่ 2 จนจะหมดช่วงโปรก็ยังรอเหมือนเดิม เข้าประชุมก็ไม่เคยออกความเห็นใด ๆ แบบนี้อย่าหาทำครับ เมื่อลงมือทำแล้ว ต้องสังเกต วิเคราะห์ผลลัพธ์ที่ได้ ตั้งคำถามกับปัญหาที่เกิดขึ้น พร้อมหาวิธีปรับปรุงและพัฒนางานให้ดีขึ้น ถ้ามีความเห็นใด ๆ ก็คุยกับรุ่นพี่ได้ตลอด ไม่ต้องกลัวว่าจะผิด การทำงานต้องทำเป็นทีม ต้องช่วยกันคิดหาวิธีที่ดีที่สุดอยู่แล้วครับ   

4.เข้ากับเพื่อนร่วมงานไม่ได้ 

งานจะสำเร็จได้ ถ้าทุกคนร่วมมือกันทำ และถ้าคุณเป็นคนเดียวที่ร่วมกับทุกคนไม่ได้ ทำไมเจ้านายต้องเลือกคุณล่ะครับ ? แม้คนที่คุณต้องเข้าหาจะไม่อยากคุยกับคุณ ทำไมเขาต้องนินทาเราตลอด หรือเรื่องใด ๆ ที่ทำให้คุณรู้สึกว่าไม่อยากคุยกับเขาเลย (แต่) ถ้ามันเป็นเรื่องงาน และโลกของการทำงานกับการปรับตัวเป็นของคู่กันครับ ไม่ปรับก็ไม่รอด ไปที่ไหนก็อยู่ไม่ได้ครับ

5.ระบายเรื่องงานลงโซเชียล

โพสต์ผิดไปแค่ 2 วิ ชีวิตเปลี่ยนได้เลยนะครับ ถ้าเรื่องนั้นทำให้บริษัทเสียชื่อเสียงหรือเสียหาย ทางที่ดีคือ ไม่ต้องโพสต์เลยครับ ถ้ามีเรื่องใดที่ต้องระบาย เก็บไว้คุยกับครอบครัวหรือเพื่อนสนิทดีกว่า เพราะต่อให้เป็นการโพสต์เรื่องเล็กน้อย แต่บริษัทก็จะมองว่า คุณไม่มี Soft Skill ในการทำงาน ควบคุมอารมณ์ไม่ได้ ถ้าจ้างคนแบบนี้ต่อไป เสี่ยงแน่ !!

6.ติดมือถือ 

เวลางานก็ต้องทำงานครับ จะหยิบมือถือมาเช็กมาดูโซเชียลทุก 5 นาทีเหมือนตอนอยู่บ้านมันก็ไม่ได้ แต่ถ้ามีเรื่องสำคัญต้องโทรคุยหรือต้องหยิบมาเช็กจริง ๆ มันก็ได้ แต่ก็ไม่ควรนานเกินไปจนเสียการเสียงาน

7.มาทำงานสายประจำ 

แสดงให้เห็นได้ชัดเจนมาก ว่าคุณไม่ตั้งใจ ไม่ใส่ใจกับการทำงาน ช่วงโปรยังขนาดนี้ ถ้าจ้างต่อไปจะขนาดไหน เวลาเป็นเงินเป็นทอง คำนี้ใช้อยู่ทุกที่ตลอดเวลาครับ และถ้าคุณใช้เวลาของบริษัทที่มีค่ามาก ๆ นั้นแบบไม่เกิดประโยชน์ได้มากพอ เสียทั้งเงิน เสียทั้งงาน ก็เลิกจ้างสิครับ 

บทความงาน > การทำงาน > ลาออก > วิธีออกจากงานอย่างมีชั้นเชิง

วิธีออกจากงานอย่างมีชั้นเชิง

  • 7 August 2014

ทํา งาน 4 เดือน ลาออก Pantip
ทํา งาน 4 เดือน ลาออก Pantip
ทํา งาน 4 เดือน ลาออก Pantip
ทํา งาน 4 เดือน ลาออก Pantip
ทํา งาน 4 เดือน ลาออก Pantip
ทํา งาน 4 เดือน ลาออก Pantip
ทํา งาน 4 เดือน ลาออก Pantip

          การเปลี่ยนงานในสมัยนี้คงเป็นเรื่องปกติของหนุ่มสาวออฟฟิศที่ต้องการเสาะแสวงหาความก้าวหน้าในชีวิตการงาน แต่ก็เป็นเรื่องที่น่าปวดหัวได้เหมือนกัน เพราะไม่รู้จะหาเหตุผลข้อไหนในการขอลาออกจากงานที่เดิม นอกจากนี้ จะพูดอย่างไรไม่ให้เจ้านายเข้าใจ โดยไม่ทำให้เสียความรู้สึกจนมองหน้ากันไม่ติด อย่างไรก็ตาม วันนี้เราขอนำเสนอเคล็ดลับในการออกจากงานได้อย่างสง่างาม และสามารถรักษาความสัมพันธ์อันดีกับเจ้านายได้อย่างสบายใจ

1. เลี่ยงการลาออกเพราะ “เกลียดงาน” “ทะเลาะกับนายจ้าง”

          บางทีคุณอาจรู้สึกเกลียดงานที่ทำอยู่ หรือรู้สึกไม่ชอบหน้านายจ้างของคุณ นั่นก็ไม่ใช่เรื่องที่แปลกอะไร แต่คุณก็ไม่ควรนำเหตุผลเหล่านี้มาใช้กับการลาออกจากงาน ถ้าคุณไม่คำนึงถึงใบประเมินจากบริษัท อย่างน้อยคุณก็ควรคำนึงถึงอนาคตเอาไว้บ้าง บางทีคุณอาจต้องกลับมาทำงานในบริษัทเดิมอีกครั้ง หรือบังเอิญต้องร่วมงานกับคนในบริษัทเดิมของคุณ หรือแม้กระทั่งเจ้านายของคุณอาจรู้จักใครสักคนในที่ทำงานใหม่ของคุณก็เป็นได้ ดังนั้น สร้างศัตรูไว้ที่ไหนก็ได้แต่ต้องไม่ใช่ที่ทำงาน

2. เตรียมตัวให้พร้อมก่อนที่จะลาออก

          เมื่อคุณคิดจะลาออก ก็ควรจะเป็นคนเดินไปบอกเจ้านายด้วยตัวของคุณเองจะดีกว่าให้คนอื่นไปบอกแทนคุณ นอกจากนี้ ควรตรวจสอบสัญญาจ้างให้ดีถึงข้อปฏิบัติในการลาออก และต้องไม่ลืมคิดถึงระยะเวลาของการออกเงินโบนัสปลายปี เพราะบางทีคุณอาจจะพลาดเงินก้อนโตอย่างน่าเสียดาย สุดท้ายนี้ ถ้าเป็นไปได้คุณควรมองหางานใหม่ก่อนที่คุณจะตัดสินใจลาออก

3. พูดกับเจ้านายอย่างไร ไม่ให้เสียน้ำใจ

          ไหน ๆ คุณก็ตัดสินใจลาออกแล้ว คุณก็ควรบอกเจ้านายด้วยตัวเอง บอกถึงเหตุผลที่ทำให้คุณตัดสินใจไปทำงานที่บริษัทใหม่ เช่น ความก้าวหน้ามากกว่า เงินเดือนมากกว่า การเดินทางที่สะดวก ฯลฯ ทั้งนี้ คุณควรทำหนังสือเป็นลายลักษณ์อักษร โดยแจ้งล่วงหน้าไปยังบริษัทอย่างน้อย 1 เดือนด้วย อย่างไรก็ตาม ถ้าคุณกลัวที่จะเผชิญหน้าเจ้านาย และคนในออฟฟิศ คุณก็ควรวางแผนที่จะบอกข่าวนี้กับเจ้านายคุณในตอนเย็นก่อนวันหยุดสุดสัปดาห์ เพื่อประโยชน์ทั้ง 2 ฝ่าย ให้เจ้านายคุณและตัวคุณได้มีเวลานั่งคิดทบทวน และเตรียมรับมือกับปัญหาต่างๆ ที่จะตามมาหลังจากการลาออกของคุณ

4. เดินออกจากบริษัทอย่างสง่างาม

ทํา งาน 4 เดือน ลาออก Pantip
          ก่อนที่คุณจะออกจากงาน อย่าลืมที่จะทุ่มเทและสะสางงานให้เสร็จสิ้นเสียก่อน และถ้าเจ้านายของคุณต้องการให้คุณหาคนมาทำงานแทนคุณ คุณก็ควรอาสาสอนงานให้เด็กใหม่ก่อนจะถึงวันสุดท้ายของการทำงาน ทั้งนี้ ไม่ควรแสดงความดีใจออกนอกหน้าในวันสุดท้ายที่คุณทำงาน สิ่งที่คุณควรทำก็คือ ตรวจเช็คให้ถี่ถ้วนว่าคุณไม่ได้นำทรัพย์สินของบริษัทติดไปด้วย และอย่าลืมกล่าวขอบคุณเพื่อนร่วมงาน และเจ้านายด้วย

5. ทิ้งเรื่องร้ายเอาไว้ เก็บเอาแต่สิ่งดี ๆ ไป

          หลังที่คุณออกจากงาน คุณควรใช้ช่วงเวลาสั้นๆ อย่างคุ้มค่าในการพักผ่อน โดยการออกไปเที่ยวต่างจังหวัด หรือต่างประเทศตามแต่คุณจะชอบ ลองเก็บเกี่ยวประสบการณ์ดี ๆ มาประยุกต์ใช้กับการเริ่มต้นทำงานในที่ใหม่ ทั้งนี้ อย่าพูดจาว่าร้ายบริษัทเก่า หรือเจ้านายเก่าให้ที่ทำงานใหม่อย่างเด็ดขาด สุดท้ายนี้ เมื่อคุณออกจากงาน ก็ไม่ใช่ว่าคุณกับเพื่อนร่วมงานต้องจบไปด้วย ติดต่อกันไว้บ้างก็เป็นเรื่องที่ดี บางทีคุณอาจช่วยเหลือ ติดต่อธุรกิจกับเพื่อน หรือเจ้านายเก่าได้อีกด้วย

ที่มา : www.bloggang.com

ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้ทั้ง iOS และ Android

ทํา งาน 4 เดือน ลาออก Pantip

คว้างานที่ใช่ ด้วยการค้นหางานที่ง่ายและรวดเร็ว พร้อมทั้งจัดการเรซูเม่อย่างมีประสิทธิภาพ ให้คุณอัปโหลด ดู และลบได้ทุกเมื่อที่ต้องการ เพลิดเพลินไปกับประสบการณ์การใช้งานแสนง่าย ด้วยระบบ AI ใหม่ ช่วยค้นหางานที่ตรงใจมากขึ้นถึง 6 เท่า​

ทํางานไม่ถึงเดือน ได้เงินไหม

พนักงานเริ่มงานไม่เต็มเดือน จะได้รับเงินเดือน ตามจำนวนวันมาทำงาน คำนวณดังนี้ เงินเดือน = ฐานเงินเดือน / 30 = อัตราค่าจ้างต่อวัน (เดือนกุมภาพันธ์ / 28 วัน) อัตราค่าจ้าง X จำนวนวันที่ทำงาน = เงินเดือน ที่ได้รับในเดือนแรกที่เริ่มงาน

ควรทำงานนานแค่ไหน

โดยทั่วไปแล้ว ระยะเวลาที่เหมาะสมในการเปลี่ยนงานส่วนใหญ่จะอยู่ที่ประมาณ 2-3 ปี เพราะมีบางคนบอกว่า ถ้าทำงานที่เดิมๆ ไปนานกว่านี้ อาจรู้สึกหมดไฟในการทำงาน เบื่องาน และมีความสุขในการทำงานน้อยลง แต่ถ้าออกจากงานเดิมเร็วกว่านี้ ก็กลัวว่าประสบการณ์การทำงานจะยังไม่มากพอในการไปสมัครงานที่ใหม่

แจ้งลาออกตอนไหน pantip

การลาออก ก็คือ การบอกเลิกสัญญาจ้างของลูกจ้าง ตาม มาตรา 17 พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน 2541. กฎหมายไม่ได้บอกว่า ต้องแจ้งล่วงหน้า 30 วัน แต่บอกว่า ต้องแจ้ง เมื่อถึงหรือก่อนจะถึง กำหนดจ่ายค่าจ้างคราวหนึ่งคราวใด เพื่อ ให้เป็นผล เลิกสัญญากัน เมื่อถึงกำหนดจ่ายค่าจ้างคราวถัดไปข้างหน้า

ทำงานได้กี่วัน ลาออก

กฎหมายไม่ได้บังคับว่าต้องแจ้งลาออกล่วงหน้า 30 วัน แต่ที่บริษัทมักกำหนดไว้ก็เพื่อจะได้มีเวลาเตรียมหาคนมาแทน และจัดการงานส่วนที่เรารับผิดชอบ เมื่อเราส่งจดหมายลาออกแบบเป็นลายลักษณ์อักษรแล้ว ก็ถือว่าการลาออกของเราสมบูรณ์ โดยไม่จำเป็นต้องรอการอนุมัติจากนายจ้าง