2100-1003 งานฝ กฝ ม อ1 ความเป นมาโครงการ

aunyodwarit Download

  • Publications :0
  • Followers :0

แผนการจัดการเรียนรู้ งานฝึกฝีมือ 1

แผนการจัดการเรียนรู้ งานฝึกฝีมือ 1

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

แผนการจัดการเรียนรู้ งานฝึกฝีมือ 1

แผนการจดั การเรียนรู้

ช่ือวชิ า งานฝึกฝีมือ 1 รหัสวชิ า 2100 – 1003 หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พทุ ธศกั ราช 2556

ประเภทวชิ าช่างอุตสาหกรรม แผนกวชิ าเทคนิคพ้ืนฐาน

จัดทาโดย

นาย ชนินทร ตอ่ พงศกร

วิทยาลยั เทคนิคระยอง สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

รายการตรวจสอบและอนุญาตให้ใช้

ช่ือวชิ า งานฝึกฝีมือ 1 รหัสวชิ า 2100–1003

 ควรอนุญาตใหใ้ ชก้ ารสอนได้  ควรปรับปรุงเก่ียวกบั ................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................

ลงชื่อ..................................................... (.......................................................) หวั หนา้ แผนกวิชา ............../......................../....................

 เห็นควรอนุญาตใหใ้ ชก้ ารสอนได้  ควรปรับปรุงดงั เสนอ  อ่นื ๆ .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................

ลงช่ือ..................................................... (.......................................................) รองผอู้ านวยการฝ่ ายวิชาการ ............../......................../....................

 อนุญาตใหใ้ ชก้ ารสอนได้  อ่นื ๆ .......................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................

ลงช่ือ..................................................... (.......................................................) ผอู้ านวยการ ............../......................../....................

คานา

แผนการจดั การเรียนรู้ วิชางานฝึกฝีมือ 1 รหสั 2100-1003 เล่มน้ี จดั ทาข้ึนเพอื่ ใชเ้ ป็นแนวทาง ในการ จดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็ นสาคญั โดยเน้นใหผ้ ูเ้ รียนมีสมรรถนะในการปฏิบตั ิงานตามหลกั สูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ของสานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ โดยแผนการจดั การเรียนรู้น้ี มดี ว้ ยกนั ท้งั หมด 13 หน่วยการเรียน ประกอบดว้ ย ความ ปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน เครื่องมือทวั่ ไปในงานช่างอุตสาหกรรม งานวดั และตรวจสอบ งานเล่ือย งาน ตะไบ งานร่างแบบ งานสกดั งานเจาะ งานทาเกลียว งานเครื่องมือกลเบ้ืองตน้ งานลบั คมตดั งานประกอบ และงานหล่อเบ้ืองตน้ ซ่ึงผจู้ ดั ทาหวงั เป็นอยา่ งยง่ิ ว่า แผนกากรจดั การเรียนรู้เล่มน้ี จะสามารถให้ความรู้และ เกิดประโยชนแ์ ก่ผเู้ รียน ตลอดจนผสู้ นใจศึกษาทว่ั ไปเป็นอยา่ งดี

หากมีขอ้ ผดิ พลาดประการใดผจู้ ดั ทา ขอน้อมรับคาติชมเพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงแก้ไขใน โอกาสต่อไป

ผ้จู ดั ทา ชนินทร ต่อพงศกร

สารบัญ

หน้า คานา ................................................................................................................................................ ค สารบญั ............................................................................................................................................. ง หลกั สูตรรายวชิ า .............................................................................................................................. จ หน่วยการเรียนรู้ ............................................................................................................................... ฉ การวดั ผลและประเมนิ ผล ................................................................................................................. ช โครงการจดั การเรียนรู้ ...................................................................................................................... ซ สมรรถนะยอ่ ยและจุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ ........................................................................................ ฐ ตารางวเิ คราะห์หลกั สูตรรายวิชา ...................................................................................................... ฝ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 เคร่ืองมอื กลทวั่ ไปและเครื่องมอื กลเบ้ืองตน้ ......................................... 1 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 เคร่ืองมือวดั และเคร่ืองมอื ตรวจสอบ ..................................................... 6 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 ความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั ิงาน ........................................................... 11 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 งานตะไบ .............................................................................................. 17 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 5 งานร่างแบบ .......................................................................................... 22 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6 งานลบั คมตดั ......................................................................................... 27 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 7 งานเจาะ ................................................................................................. 33 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 8 งานเล่อื ยและงานสกดั ........................................................................... 38 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 9 งานตกแต่งและประกอบ ....................................................................... 43 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 10 งานทาเกลยี ว ....................................................................................... 47 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 11 งานหล่อเบ้ืองตน้ .................................................................................. 52

หลกั สูตรรายวิชา

ชื่อวชิ า งานฝึกฝีมือ 1 (Bench Works1) รหัสวชิ า 2100–1003

ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดับช้ัน ปวช.1

จุดประสงค์รายวชิ า

1. รู้และเขา้ ใจเก่ียวกบั การใช้ การบารุงรักษาเคร่ืองมอื และเครื่องมือกลเบ้ืองตน้ 2. ปฏบิ ตั ิงานโดยใชเ้ คร่ืองมือไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและปลอดภยั 3. มีเจตคติและกิจนิสยั ที่ดีในการทางานดว้ ยความอดทน ปลอดภยั ผลงานประณีตเรียบร้อยละเอียด รอบคอบ เป็นระเบียบ สะอาด ตรงต่อเวลามีความซื่อสตั ย์ รับผดิ ชอบ และรักษาสภาพแวดลอ้ ม

สมรรถนะรายวชิ า

1. เตรียมเคร่ืองมือและเครื่องมือกลเบ้ืองตน้ ตามค่มู อื 2. วดั และร่างแบบช้ินงานโลหะ 3. แปรรูปและประกอบชิ้นงานโลหะดว้ ยเคร่ืองมอื กลทว่ั ไป 4. ลบั คมตดั เครื่องมือกลทวั่ ไป

คาอธิบายรายวชิ า

ปฏิบตั ิเกี่ยวกับการใช้ การบารุงรักษาเคร่ืองมือและเคร่ืองมือกลเบ้ืองตน้ งานวดั และตรวจสอบ งานร่างแบบ งานเล่ือย งานสกดั งานตะไบ งานเจาะ งานลบั คมตดั งานทาเกลียว งานเครื่องมือกลเบ้ืองตน้ งานหลอ่ เบ้ืองตน้ และการประกอบชิ้นงาน ส่ิงแวดลอ้ มและความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั ิงาน

หน่วยการเรียนรู้

ชื่อวชิ า งานฝึกฝีมือ 1 (Bench Works1) รหสั วชิ า 2100–1003

ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ช้ัน ปวช.1

หน่วย ชื่อหน่วย ที่มา ท่ี ABCDEF G

1 เครื่องมือกลทว่ั ไปและเครื่องมอื กลเบ้ืองตน้  

2 เคร่ืองมอื วดั และเครื่องมือตรวจสอบ  

3 ความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน  

4 งานตะไบ  

5 งานร่างแบบ  

6 งานลบั คมตดั  

7 งานเจาะ  

8 งานเลอื่ ยและงานสกดั  

9 งานตกแต่งและประกอบ  

10 งานทาเกลียว  

11 งานหลอ่ เบ้ืองตน้  

หมายเหตุ A = หลกั สูตรรายวิชา B = ประสาน คงจนั ทร์. งานฝึกฝีมือ 1. ศนู ยห์ นงั สือเมอื งไทย. C = อานาจ ทองแสน. งานฝึกฝีมอื 1. ศนู ยห์ นงั สือเมืองไทย. D = ฝ่ ายวชิ าการ. งานฝึกฝีมอื 1. ศนู ยห์ นงั สือ สจพ. E = ประสบการณ์ผสู้ อน F= G=

การวดั ผลและประเมินผล

ชื่อวชิ า งานฝึกฝีมือ 1 (Bench Works1) รหัสวชิ า 2100–1003 ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ช้ัน ปวช.1

แผนการวดั ผลและประเมนิ ผลท้งั รายวิชา

- พทุ ธิพิสยั 1) แบบฝึกหดั 10 %

  1. ทดสอบหลงั เรียน 10 %
  1. วดั ผลสมั ฤทธ์ิ 10 %

รวม 30 %

- ทกั ษะพิสยั 1) ใบงาน/งานท่ีมอบหมาย 35 %

  1. วดั ผลสมั ฤทธ์ิ 15 %

รวม 50 %

- จิตพิสยั 20 %

(คะแนนทดสอบก่อนเรียนไวส้ าหรับเปรียบเทียบกบั คะแนนทดสอบหลงั เรียน)

โครงการจัดการเรียนรู้

ชื่อวชิ า งานฝึกฝีมอื 1 (Bench Works1) รหัสวชิ า 2100–1003

ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ช้ัน ปวช.1

สปั ดาหท์ ่ี หน่วยท่ี ช่ือหน่วย/รายการสอน จานวนคาบ 1 1 2 2 2 เคร่ืองมอื กลทวั่ ไปและเคร่ืองมือกลเบ้ืองตน้ 4 1.1 เครื่องมอื ทว่ั ไป 2 3 3 1.2 เคร่ืองมอื กลเบ้ืองตน้ 4 แบบฝึกหดั หน่วยที่ 1 2 ใบงานท่ี 1 งานตะไบปรับผวิ 4 เครื่องมือวดั และเครื่องมือตรวจสอบ 2.1 ความหมายของงานวดั 2.2 หน่วยการวดั

2.3 เคร่ืองมือวดั 2.4 ความหมายของงานตรวจสอบ 2.5 เคร่ืองมือตรวจสอบ แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 2

ใบงานที่ 2 งานตะไบปรับขนาด

สิ่งแวดลอ้ มและความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน 3.1 สิ่งแวดลอ้ มในการปฏิบตั ิงาน 3.2 ความหมายของความปลอดภยั และอบุ ตั ิเหตุ 3.3 สาเหตุของการเกิดอบุ ตั ิเหตุ 3.4 ผลกระทบท่ีเกิดจากอบุ ตั ิเหตุ 3.5 ประโยชนข์ องความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน 3.6 การป้ องกนั อุบตั ิเหตุ 3.7 เคร่ืองหมายและสญั ลกั ษณ์ความปลอดภยั 3.8 ความปลอดภยั ในโรงงาน 3.9 ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องจกั ร

แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 3

ใบงานท่ี 3 งานร่างแบบ

โครงการจัดการเรียนรู้

ชื่อวชิ า งานฝึกฝีมอื 1 (Bench Works1) รหัสวชิ า 2100–1003

ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดับช้ัน ปวช.1

สปั ดาหท์ ่ี หน่วยท่ี ชื่อหน่วย/รายการสอน จานวนคาบ 4 4 2 งานตะไบ 5 5 4.1 ตะไบและชนิดของตะไบ 4 4.2 ชนิดของคมตะไบ 2 6 6 4.3 หลกั ของการตะไบ 4.4 ท่าตะไบ 4 4.5 การกาหนดความถ–่ี หยาบของตะไบ 2 4.6 ขอ้ ควรระวงั ในการตะไบและบารุงรกั ษา 4 แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 4 ใบงานท่ี 4 งานลบั คมตดั ดอกสวา่ น

งานร่างแบบ 5.1 ความหมายของการร่างแบบ 5.2 ชนิดของเครื่องมอื ร่างแบบ 5.3 การระวงั รักษาและความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องมอื ร่างแบบ

แบบฝึกหดั หน่วยที่ 5 ใบงานท่ี 5 งานเจาะ

งานลบั คมตดั 6.1 เคร่ืองเจียระไน 6.2 ชนิดของเคร่ืองเจียระไน 6.3 การลบั มดี กลงึ 6.4 การลบั มีดกลงึ ปาดหนา้ 6.5 การลบั มีดกลึงปอกผวิ 6.6 การลบั ดอกสวา่ น

แบบฝึกหดั หน่วยที่ 6 ใบงานท่ี 6 งานข้ึนรูป

โครงการจัดการเรียนรู้

ชื่อวชิ า งานฝึกฝีมอื 1 (Bench Works1) รหัสวชิ า 2100–1003

ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดับช้ัน ปวช.1

สปั ดาห์ท่ี หน่วยท่ี ช่ือหน่วย/รายการสอน จานวนคาบ 7 7 งานเจาะ 2

8 8 7.1 เคร่ืองเจาะ 4 7.2 ชนิดของเครื่องเจาะ 2 9 9 7.3 ดอกสว่าน 7.4 การจบั ช้นิ งานเจาะ 4 7.5 การเลอื กใชค้ วามเร็วตดั 2 7.6 การระวงั รักษาและความปลอดภยั ในงานเจาะ 4 แบบฝึกหดั หน่วยที่ 7 ใบงานที่ 7 งานตกแต่งและประกอบ

งานเลือ่ ยและงานสกดั 8.1 งานเลื่อย 8.2 การเลอื กใชใ้ บเล่อื ย 8.3 การประกอบใบเล่ือย 8.4 การปฏบิ ตั ิงานเลอ่ื ย 8.5 งานสกดั

แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 8 ใบงานท่ี 8 งานตะไบปรับผวิ ซีแคลมป์

งานตกแต่งและประกอบ 9.1 งานประกอบมลี กั ษณะการสวม 9.2 การประกอบช้ินส่วนใหเ้ ป็นผลติ ภณั ฑ์

แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 9 ใบงานที่ 9 งานตะไบปรับขนาด

โครงการจัดการเรียนรู้

ชื่อวชิ า งานฝึกฝีมอื 1 (Bench Works1) รหัสวชิ า 2100–1003

ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ช้ัน ปวช.1

สปั ดาหท์ ่ี หน่วยท่ี ชื่อหน่วย/รายการสอน จานวนคาบ 4 10 10 งานทาเกลียว 2 10.1 ชนิดงานทาเกลยี ว 4 10.2 การทาเกลยี วดว้ ยมือ 6 6 10.3 เครื่องมอื ทาเกลียว 6 6 10.4 การทาเกลยี วนอก 6 6 10.5 การทาเกลียวใน 6 108 แบบฝึกหดั หน่วยที่ 10

ใบงานท่ี 10 งานร่างแบบ เจาะ เลือ่ ยและสกดั

11 11 งานหล่อเบ้ืองตน้

11.1 หลกั การของการหลอ่ โดยใชท้ รายทาแบบหลอ่

11.2 เคร่ืองมือและอุปกรณ์พ้นื ฐาน

11.3 กระสวน

11.4 ระบบจ่ายน้าโลหะ

11.5 การหล่อโดยใชท้ รายทาแบบหล่อ

แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 11

ใบงานที่ 11 งานข้ึนรูปและเจาะรู

12 ใบงานที่ 12 งานลบั มดี กลึง

13 ใบงานที่ 13 งานกลงึ สลกั

14 ใบงานที่ 14 งานทาเกลยี ว

15 ใบงานท่ี 15 งานกลึงแขนหมนุ

16 ใบงานท่ี 16 งานปากหมนุ ซีแคลมป์

17 ใบงานที่ 17 งานตกแต่งและประกอบ

18 วดั ผลและประเมินผลปลายภาคเรียน

รวม

หมายเหตุ เวลาอาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

1. ใบงานท่ี 1-7 ปฏบิ ตั ิงานทาคอ้ นเดนิ สายไฟ

2. ใบงานท่ี 8-17 ปฏบิ ตั ิงานทาซีแคลมป์

สรุปโครงการจัดการเรียนรู้

ช่ือวชิ า งานฝึกฝีมอื 1 (Bench Works1) รหสั วชิ า 2100–1003

ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดับช้ัน ปวช.1

สัปดาหท์ ่ี หน่วยที่ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ จานวนคาบ

1 1 หน่วยที่ 1 เคร่ืองมอื ฯ ใบงานท่ี 1 งานตะไบปรับผวิ 6

2 2 หน่วยท่ี 2 เครื่องมอื วดั ฯ ใบงานที่ 2 งานตะไบปรับขนาด 6

3 3 หน่วยที่ 3 ความปลอดภยั ฯ ใบงานท่ี 3 งานร่างแบบ 6

4 4 หน่วยท่ี 4 งานตะไบ ใบงานท่ี 4 งานลบั คมตดั ดอกสว่าน 6

5 5 หน่วยที่ 5 งานร่างแบบ ใบงานที่ 5 งานเจาะ 6

6 6 หน่วยที่ 6 งานลบั คมตดั ใบงานที่ 6 งานข้ึนรูป 6

7 7 หน่วยท่ี 7 งานเจาะ ใบงานท่ี 7 งานตกแต่งและประกอบ 6

8 8 หน่วยที่ 8 งานเลื่อยและงานสกดั ใบงานท่ี 8 งานตะไบปรับผวิ ซีแคลมป์ 6

9 9 หน่วยที่ 9 งานตกแตง่ และประกอบ ใบงานท่ี 9 งานตะไบปรับขนาด 6

10 10 หน่วยท่ี 10 งานทาเกลยี ว ใบงานที่ 10 งานร่างแบบ เจาะ 6

เล่อื ยและสกดั

11 11 หน่วยท่ี 11 งานหล่อเบ้ืองตน้ ใบงานท่ี 11 งานข้ึนรูปและเจาะรู 6

12 ใบงานท่ี 12 งานลบั มดี กลึง 6

13 ใบงานที่ 13 งานกลึงสลกั 6

14 ใบงานที่ 14 งานทาเกลียว 6

15 ใบงานที่ 15 งานกลึงแขนหมนุ 6

16 ใบงานท่ี 16 งานปากหมุนซีแคลมป์ 6

17 ใบงานที่ 17 งานตกแต่งและประกอบ 6

18 วดั ผลและประเมินผลปลายภาค 6

รวม 108

หมายเหตุ เวลาอาจเปลยี่ นแปลงตามความเหมาะสม 1. ใบงานที่ 1-7 ปฏิบตั ิงานทาคอ้ นเดินสายไฟ 2. ใบงานที่ 8-17 ปฏบิ ตั ิงานทาซีแคลมป์

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบัติ

ชื่อวชิ า งานฝึกฝีมือ 1 (Bench Works1) รหัสวชิ า 2100–1003

ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดับช้ัน ปวช.1

ช่ือเรื่อง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ หน่วยท่ี 1 เคร่ืองมือกลทว่ั ไปและเครื่องมอื กล สมรรถนะย่อย (Element of Competency) เบ้อื งตน้ แสดงความรู้เกี่ยวกบั เคร่ืองมือทว่ั ไปและเครื่องมือ 1.1 เครื่องมือทวั่ ไป 1.2 เคร่ืองมอื กลเบ้ืองตน้ กลเบ้อื งตน้ แบบฝึกหดั หน่วยที่ 1 จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) ใบงานที่ 1 งานตะไบปรับผวิ - ดา้ นความรู้ 1. อธิบายวธิ ีการใชเ้ ครื่องมอื ตา่ ง ๆ 2.บอกประโยชนข์ องเครื่องกลงึ 3. บอกชนิดของเคร่ื องกลึง 4.อธิบายหนา้ ทแี่ ละส่วนประกอบของเครื่องกลงึ 5.บอกข้นั ตอนการใชเ้ คร่ืองกลึงและการบารุงรักษา

เคร่ืองกลึง สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

ตะไบปรับผิวงานตามแบบ จุดประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives)

- ดา้ นทกั ษะ 1. เตรียมช้ินงานตะไบ 2. ตะไบปรับผิวงาน 3. บารุงรักษาตะไบ 4. ใชต้ ะไบไดถ้ ูกตอ้ งและปลอดภยั 5. ตรวจสอบผิวงานและความฉาก 6. ทาความสะอาดบริเวณพ้นื ท่ปี ฏิบตั งิ าน

- ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจ- พอเพียง

ตรงต่อเวลา มวี นิ ยั มคี วามรับผดิ ชอบ ละเอียดรอบคอบ สนใจใฝ่รู้ มคี วามซ่ือสัตย์ มเี หตุผล ประหยดั และปฏิบตั ิ ตนในแนวทางท่ีดี

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ

ช่ือวชิ า งานฝึกฝีมือ 1 (Bench Works1) รหัสวชิ า 2100–1003

ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ช้ัน ปวช.1

ช่ือเรื่อง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) หน่วยท่ี 2 เคร่ืองมอื วดั และเครื่องมอื ตรวจสอบ 2.1 ความหมายของงานวดั แสดงความรู้เกี่ยวกบั เคร่ืองมือวดั และตรวจสอบ 2.2 หน่วยการวดั 2.3 เครื่องมอื วดั จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives) 2.4 ความหมายของงานตรวจสอบ - ดา้ นความรู้ 2.5 เครื่องมือตรวจสอบ 1. อธิบายความหมายของงานวดั 2. เปรียบเทียบหน่วยการวดั ระหวา่ งระบบเมตริก แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 2 กบั ระบบองั กฤษ 3. อธิบายข้นั ตอนการใช้เคร่ื องมืองานวดั และ

เคร่ืองมอื ตรวจสอบอยา่ งถูกตอ้ งและปลอดภยั 4. อธิบายความหมายของงานตรวจสอบ

ใบงานท่ี 2 งานตะไบปรับขนาด สมรรถนะย่อย (Element of Competency) ตะไบปรับขนาดชิน้ งานตามแบบ

จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives) - ดา้ นทกั ษะ

1. ตะไบปรับขนาดช้ินงาน 2. ตรวจสอบผวิ งาน ความฉาก และขนาด ตามแบบท่ี กาหนด 3. ทาความสะอาดบริเวณพ้ืนท่ีปฏิบตั ิงานให้สะอาด และเรียบร้อย

- ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจ- พอเพียง

ตรงต่อเวลา มีวนิ ยั มีความรับผิดชอบ ละเอยี ด รอบคอบ สนใจใฝ่ รู้ มคี วามซ่ือสตั ย์ มีเหตผุ ล ประหยดั และปฏิบตั ติ นในแนวทางทีด่ ี

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ

ชื่อวชิ า งานฝึกฝีมอื 1 (Bench Works1) รหัสวชิ า 2100–1003

ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดับช้ัน ปวช.1

ชื่อเร่ือง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ

หน่วยที่ 3 สิ่งแวดลอ้ มและความปลอดภยั ใน สมรรถนะย่อย (Element of Competency) แสดงความรู้เกี่ยวกบั สิ่งแวดลอ้ มและความปลอดภยั การปฏิบตั งิ าน 3.1 สิ่งแวดลอ้ มในการปฏิบตั งิ าน ในการปฏิบตั ิงาน 3.2 ความหมายของความปลอดภยั และอบุ ตั ิเหตุ 3.3 สาเหตขุ องการเกิดอุบตั เิ หตุ จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives) 3.4 ผลกระทบทเี่ กิดจากอุบตั เิ หตุ - ดา้ นความรู้ 3.5 ประโยชน์ของความปลอดภยั ในการ 1.บอกวธิ ีการป้ องกนั อนั ตรายจากการใชเ้ คร่ืองมอื

ปฏิบตั ิงาน ทว่ั ไป 3.6 การป้ องกนั อุบตั เิ หตุ 2.บอกความปลอดภยั ทว่ั ไปทเ่ี กิดจากการใชเ้ ครื่องมอื 3.7 เครื่องหมายและสญั ลกั ษณ์ความปลอดภยั 3.8 ความปลอดภยั ในโรงงาน ทว่ั ไป 3.9 ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องจกั ร 3.บอกลกั ษณะเคร่ืองมอื และอุปกรณ์ความปลอดภยั แบบฝึกหดั หน่วยที่ 3 แตล่ ะชนิด ใบงานท่ี 3 งานร่างแบบ 4.บอกรูปแบบของสัญลกั ษณ์ความปลอดภยั

สมรรถนะย่อย (Element of Competency) วดั และร่างแบบชิ้นงานโลหะตามแบบ

จดุ ประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) - ดา้ นทกั ษะ 1. เตรียมเคร่ืองมอื ร่างแบบและนาศูนย์ 2. ร่างแบบและนาศูนย์ 3. บารุงรักษาตะไบ 4. ใชต้ ะไบไดถ้ ูกตอ้ งและปลอดภยั 5.ใชเ้ ครื่องมือร่างแบบไดถ้ ูกตอ้ งและปลอดภยั 6. ทาความสะอาดบริเวณพ้ืนที่ปฏิบตั งิ าน

- ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจ- พอเพยี ง

ตรงตอ่ เวลา มีวนิ ยั มคี วามรับผิดชอบ ละเอยี ด รอบคอบ สนใจใฝ่ รู้ มคี วามซื่อสัตย์ มีเหตผุ ล ประหยดั และปฏิบตั ติ นในแนวทางทดี่ ี

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบัติ

ช่ือวชิ า งานฝึกฝีมือ 1 (Bench Works1) รหสั วชิ า 2100–1003

ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดับช้ัน ปวช.1

ชื่อเร่ือง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ หน่วยท่ี 4 งานตะไบ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) 4.1 ตะไบและชนิดของตะไบ แสดงความรู้เกี่ยวกบั งานตะไบ 4.2 ชนิดของคมตะไบ 4.3 หลกั ของการตะไบ จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives) 4.4 ทา่ ตะไบ - ดา้ นความรู้ 4.5 การกาหนดความถ–่ี หยาบของตะไบ 1.บอกวธิ ีการป้ องกนั อนั ตรายจากการใชเ้ คร่ืองมือ 4.6 ขอ้ ควรระวงั ในการตะไบและบารุงรักษา 2.อธิบายลกั ษณะตะไบและชนิดของตะไบ แบบฝึกหดั หน่วยที่ 4 3. บอกชนิดของคมตะไบ 4.อธิบายหลกั การทางานของตะไบ ใบงานที่ 4 งานลบั คมตดั ดอกสวา่ น 5.อธิบายทา่ ทางการยนื ตะไบ 6.บอกวธิ ีการกาหนดความถ่ี หยาบของตะไบ 7.อธิบายข้นั ตอนการใชต้ ะไบและบารุงรักษาตะไบ

อย่างถูกตอ้ งและปลอดภยั

สมรรถนะย่อย (Element of Competency) ลบั คมตดั ดอกสวา่ น

จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives) - ดา้ นทกั ษะ 1. ใชเ้ คร่ืองเจยี ระไนไดถ้ กู ตอ้ งและปลอดภยั 2. ลบั ดอกสวา่ น 3. ตรวจสอบมุมดอกสวา่ น 4.ทาความสะอาดบริเวณพ้นื ที่ปฏิบตั ิงาน

- ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจ- พอเพียง

ตรงตอ่ เวลา มวี นิ ยั มคี วามรับผิดชอบ ละเอยี ด รอบคอบ สนใจใฝ่ รู้ มคี วามซื่อสตั ย์ มีเหตผุ ล ประหยดั และปฏิบตั ิตนในแนวทางท่ีดี

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ

ช่ือวชิ า งานฝึกฝีมือ 1 (Bench Works1) รหัสวชิ า 2100–1003

ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ช้ัน ปวช.1

ช่ือเรื่อง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) หน่วยที่ 5 งานร่างแบบ 5.1 ความหมายของการร่างแบบ แสดงความรู้เก่ียวกบั งานร่างแบบ 5.2 ชนิดของเครื่องมือร่างแบบ 5.3 การระวงั รักษาและความปลอดภยั ในการใช้ จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives) เครื่องมอื ร่างแบบ - ดา้ นความรู้ 1. บอกความหมายของการร่ างแบบ แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 5 2. บอกชนิดของเคร่ื องมือร่ างแบบ 3.อธิบายวธิ ีการใชเ้ ครื่องมอื ร่างแบบอยา่ งถกู ตอ้ งและ

ปลอดภยั 4.อธิบายข้นั ตอนการใชเ้ คร่ืองมอื ร่างแบบ 5.บอกการระวงั รักษาเครื่องมอื ร่างแบบ

ใบงานท่ี 5 งานเจาะ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) วดั และเจาะช้ินงานโลหะ

จดุ ประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) - ดา้ นทกั ษะ 1. เจาะรูคอ้ นเดินสายไฟไดถ้ ูกตอ้ งและปลอดภยั 2. ตะไบคอ้ นเดนิ สายไฟใหม้ ขี นาดตามท่ีกาหนด 3. ตรวจสอบขนาดรูคอ้ นเดินสายไฟตามแบบท่ี กาหนด 4. ทาความสะอาดบริเวณพ้นื ท่ปี ฏิบตั ิงาน

- ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจ- พอเพียง

ตรงต่อเวลา มีวนิ ยั มีความรับผดิ ชอบ ละเอยี ด รอบคอบ สนใจใฝ่ รู้ มคี วามซื่อสตั ย์ มีเหตผุ ล ประหยดั และปฏิบตั ติ นในแนวทางทีด่ ี

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ

ช่ือวชิ า งานฝึกฝีมอื 1 (Bench Works1) รหสั วชิ า 2100–1003

ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ช้ัน ปวช.1

ช่ือเร่ือง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ หน่วยท่ี 6 งานลบั คมตดั สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

6.1 เคร่ืองเจยี ระไน แสดงความรู้เก่ียวกบั งานลบั คมตดั 6.2 ชนิดของเครื่องเจยี ระไน 6.3 การลบั มดี กลงึ จดุ ประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) 6.4 การลบั มดี กลึงปาดหนา้ - ดา้ นความรู้ 6.5 การลบั มดี กลงึ ปอกผิว 6.6 การลบั ดอกสวา่ น 1.อธิบายการทางานของเครื่องเจยี ระไน แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 6 2.จาแนกชนิดของเครื่องเจยี ระไน 3.อธิบายวธิ ีการลบั มดี กลึง ใบงานท่ี 6 งานข้ึนรูป 4.บอกข้นั ตอนการลบั มีดกลึงปาดหนา้ 5.บอกข้นั ตอนการลบั มดี กลงึ ปอกผิว 6. บอกข้นั ตอนการลบั ดอกสวา่ น

สมรรถนะย่อย (Element of Competency) ข้ึนรูปชิ้นงานตามแบบ

จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) - ดา้ นทกั ษะ 1. เลื่อยช้ินงานคอ้ นเดนิ สายไฟ 2. ตะไบปรับผิวหางคอ้ นเดนิ สายไฟ 3. ตะไบลบมมุ และลบคมหวั คอ้ นเดินสายไฟ 4. ตรวจสอบผวิ งาน 5. ทาความสะอาดบริเวณพ้ืนทป่ี ฏิบตั งิ าน

- ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจ- พอเพียง

ตรงตอ่ เวลา มวี นิ ยั มีความรับผิดชอบ ละเอยี ด รอบคอบ สนใจใฝ่ รู้ มคี วามซื่อสตั ย์ มีเหตผุ ล ประหยดั และปฏิบตั ติ นในแนวทางท่ีดี

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบัติ

ชื่อวชิ า งานฝึกฝีมือ 1 (Bench Works1) รหสั วชิ า 2100–1003

ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ช้ัน ปวช.1

ช่ือเร่ือง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ

หน่วยท่ี 7 งานเจาะ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

7.1 เครื่องเจาะ แสดงความรู้เกยี่ วกบั งานเจาะ

7.2 ชนิดของเครื่องเจาะ จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives)

7.3 ดอกสวา่ น - ดา้ นความรู้

7.4 การจบั ชนิ้ งานเจาะ 1.อธิบายลกั ษณะของเคร่ืองเจาะ

7.5 การเลอื กใชค้ วามเร็วตดั 7.6 การระวงั รักษาและความปลอดภยั ในงานเจาะ 2.บอกชนิดของเคร่ืองเจาะ 3.เลอื กขนาดและชนิดของดอกสวา่ นใหเ้ หมาะสมกบั แบบฝึกหดั หน่วยที่ 7 งาน

4.บอกวธิ ีการจบั ช้ินงานเจาะอยา่ งถูกตอ้ งและปลอดภยั

5.เลือกใชค้ วามเร็วตดั ทีเ่ หมาะสม

6.อธิบายวธิ ีการระวงั รักษาใหเ้ กิดความปลอดภยั ใน

งานเจาะ

ใบงานท่ี 7 งานตกแตง่ และประกอบ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) ตกแต่งและประกอบช้ินงานโลหะ

จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives) - ดา้ นทกั ษะ 1. ตะไบตกแตง่ ดา้ มคอ้ นเดนิ สายไฟ 2. ตะไบลมิ่ 3. ประกอบดา้ มคอ้ นเดินสายไฟ 4.ทาความสะอาดบริเวณพ้นื ทีป่ ฏิบตั งิ าน

- ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจ- พอเพียง

ตรงต่อเวลา มีวนิ ยั มีความรับผิดชอบ ละเอยี ด รอบคอบ สนใจใฝ่ รู้ มคี วามซื่อสตั ย์ มเี หตผุ ล ประหยดั และปฏิบตั ติ นในแนวทางท่ดี ี

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบัติ

ช่ือวชิ า งานฝึกฝีมอื 1 (Bench Works1) รหัสวชิ า 2100–1003

ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดับช้ัน ปวช.1

ช่ือเร่ือง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) หน่วยท่ี 8 งานเลอื่ ยและงานสกดั 8.1 งานเลอื่ ย แสดงความรู้เกี่ยวกบั งานเลอ่ื ยและงานสกดั 8.2 การเลอื กใชใ้ บเลื่อย 8.3 การประกอบใบเลอ่ื ย จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives) 8.4 การปฏิบตั งิ านเลอ่ื ย - ดา้ นความรู้ 8.5 งานสกดั 1.บอกลกั ษณะงานเลอื่ ย 2.เลือกใชใ้ บเลอื่ ยตามชนิดของวสั ดุ แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 8 3.อธิบายการประกอบใบเล่อื ย 4.บอกลกั ษณะงานสกดั

ใบงานท่ี 8 งานตะไบปรับผิวซีแคลมป์ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) ปรับผิวช้ินงานโลหะตามแบบ

จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives) - ดา้ นทกั ษะ 1. เตรียมชิ้นงานตะไบ 2. ตะไบปรับผวิ ชิ้นงานซีแคลมป์ 3. ปฏิบตั ิงานตะไบอย่างถกู ตอ้ งและ ปลอดภยั 4. ตรวจสอบผวิ งานและความฉาก 5. ทาความสะอาดบริเวณพ้นื ทป่ี ฏิบตั งิ าน

- ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจ- พอเพยี ง

ตรงตอ่ เวลา มีวนิ ยั มคี วามรับผิดชอบ ละเอยี ด รอบคอบ สนใจใฝ่ รู้ มคี วามซ่ือสตั ย์ มเี หตผุ ล ประหยดั และปฏิบตั ติ นในแนวทางทดี่ ี

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ

ช่ือวชิ า งานฝึกฝีมอื 1 (Bench Works1) รหสั วชิ า 2100–1003

ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดับช้ัน ปวช.1

ชื่อเรื่อง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ หน่วยที่ 9 งานตกแตง่ และประกอบ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

9.1 งานประกอบมลี กั ษณะการสวม แสดงความรู้เกี่ยวกบั งานตกแตง่ และประกอบช้ินส่วน 9.2 การประกอบชนิ้ ส่วนใหเ้ ป็นผลิตภณั ฑ์ แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 9 จดุ ประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) - ดา้ นความรู้ ใบงานที่ 9 งานตะไบปรับขนาด 1. อธิบายงานประกอบลกั ษณะการสวม 2. อธิบายข้นั ตอนการประกอบช้ินส่วนใหเ้ ป็น ผลติ ภณั ฑ์ 3. อธิบายวธิ ีการตรวจสอบชิ้นงานสาเร็จ

สมรรถนะย่อย (Element of Competency) ปรับขนาดชิ้นงานโลหะตามแบบ

จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives) - ดา้ นทกั ษะ 1. ตะไบปรับขนาดชน้ิ งานซีแคลมป์ 2. ปฏิบตั ิงานตะไบไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและปลอดภยั 3. ตรวจสอบผิวงาน ความฉาก และขนาดตามที่ กาหนด 4. ทาความสะอาดบริเวณพ้นื ที่ปฏิบตั งิ าน

- ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจ- พอเพยี ง

ตรงต่อเวลา มวี นิ ยั มีความรับผดิ ชอบ ละเอยี ด รอบคอบ สนใจใฝ่ รู้ มคี วามซื่อสตั ย์ มีเหตผุ ล ประหยดั และปฏิบตั ติ นในแนวทางท่ีดี

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ

ช่ือวชิ า งานฝึกฝีมอื 1 (Bench Works1) รหสั วชิ า 2100–1003

ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดับช้ัน ปวช.1

ชื่อเร่ือง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) หน่วยท่ี 10 งานทาเกลียว 10.1 ชนิดงานทาเกลียว แสดงความรู้เกี่ยวกบั งานทาเกลยี ว 10.2 การทาเกลยี วดว้ ยมือ 10.3 เคร่ืองมือทาเกลยี ว จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives) 10.4 การทาเกลยี วนอก - ดา้ นทกั ษะ 10.5 การทาเกลยี วใน 1. อธิบายลกั ษณะชนิดของงานทาเกลยี ว 2. บอกวธิ ีการทาเกลยี วดว้ ยมือ แบบฝึกหดั หน่วยที่ 10 3. อธิบายวธิ ีการใชเ้ ครื่องมือทาเกลยี ว 4. อธิบายข้นั ตอนการทาเกลยี วนอก 5. อธิบายข้นั ตอนการทาเกลยี วใน

ใบงานท่ี 10 งานร่างแบบ เจาะ เลื่อยและสกดั สมรรถนะย่อย (Element of Competency) ร่างแบบ เจาะ เลอ่ื ยและสกดั ชิ้นงานโลหะตามแบบ

จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) - ดา้ นทกั ษะ 1. ร่างแบบและนาศูนย์ 2. เจาะรูตามตาแหน่งทกี่ าหนด 3. เลอ่ื ยช้ินงานซีแคลมป์ 4. สกดั ชิ้นงานซีแคลมป์ 5. ปฏิบตั งิ านอย่างปลอดภยั 6. ทาความสะอาดบริเวณพ้ืนทีป่ ฏิบตั งิ าน

- ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจ- พอเพยี ง

ตรงต่อเวลา มวี นิ ยั มีความรับผดิ ชอบ ละเอยี ด รอบคอบ สนใจใฝ่ รู้ มคี วามซ่ือสัตย์ มเี หตผุ ล ประหยดั และปฏิบตั ิตนในแนวทางท่ดี ี

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบัติ

ชื่อวชิ า งานฝึกฝีมอื 1 (Bench Works1) รหัสวชิ า 2100–1003

ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ช้ัน ปวช.1

ช่ือเร่ือง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) หน่วยที่ 11 งานหลอ่ เบ้อื งตน้ 11.1 หลกั การของการหลอ่ โดยใชท้ รายทาแบบ แสดงความรู้เก่ียวกบั งานหลอ่ เบ้ืองตน้

หลอ่ จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) 11.2 เคร่ืองมือและอปุ กรณ์พ้นื ฐาน - ดา้ นทกั ษะ 11.3 กระสวน 11.4 ระบบจา่ ยน้าโลหะ 11.5 การหลอ่ โดยใชท้ รายทาแบบหลอ่

แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 11

ใบงานที่ 11 งานข้นึ รูปและเจาะรู สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

ข้ึนรูปและเจาะรูชิ้นงานโลหะตามแบบ

จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives)

- ดา้ นทกั ษะ 1. ตะไบปรับผวิ เรียบขาดา้ นในชิ้นงานตวั ซีตามขนาด

ทก่ี าหนด 2. ตะไบปรับผิวโคง้ และผวิ ลาดเอียงช้ินงานตวั ซี 3. ตะไบลายข้ึนลายปากจบั ชิ้นงานตวั ซี 4. ตรวจสอบขนาดตวั ซี 5. เจาะรูตามขนาดที่กาหนด 6. ปฏิบตั ิงานอยา่ งปลอดภยั

7. ทาความสะอาดบริเวณพ้นื ที่ปฏิบตั งิ าน

- ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจ- พอเพียง

ตรงต่อเวลา มีวนิ ยั มคี วามรับผิดชอบ ละเอยี ด รอบคอบ สนใจใฝ่ รู้ มคี วามซื่อสตั ย์ มเี หตผุ ล ประหยดั และปฏิบตั ิตนในแนวทางท่ีดี

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบัติ

ช่ือวชิ า งานฝึกฝีมือ 1 (Bench Works1) รหสั วชิ า 2100–1003

ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดับช้ัน ปวช.1

ช่ือเร่ือง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ ใบงานท่ี 12 งานลบั มดี กลงึ สมรรถนะย่อย (Element of Competency) ใบงานที่ 14 งานทาเกลยี ว ลบั มดี กลึงปอกและลบั มีดกลึงปาดหนา้

จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives) - ดา้ นทกั ษะ 1. ลบั มดี กลึงปอก 2. ลบั มดี กลงึ ปาดหนา้ 3. ตรวจสอบมมุ มดี กลงึ ปอก 4. ตรวจสอบมุมมีดกลึงปาดหนา้ 5. ปฏิบตั ิงานไดอ้ ย่างปลอดภยั 6. ทาความสะอาดบริเวณพ้ืนที่ปฏิบตั ิงาน

สมรรถนะย่อย (Element of Competency) กลงึ สลกั ตามแบบ

จดุ ประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) - ดา้ นทกั ษะ 1. กลงึ ปอกสลกั ตามขนาดท่กี าหนด 2. กลงึ ปาดหนา้ สลกั ตามขนาดที่กาหนด 3. ตรวจสอบขนาดตามทกี่ าหนด 4. ปฏิบตั ิงานอยา่ งปลอดภยั 5. ทาความสะอาดบริเวณพ้นื ท่ีปฏิบตั งิ าน

- ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจ- พอเพยี ง

ตรงตอ่ เวลา มีวนิ ยั มคี วามรับผิดชอบ ละเอยี ด รอบคอบ สนใจใฝ่ รู้ มคี วามซ่ือสัตย์ มีเหตผุ ล ประหยดั และปฏิบตั ติ นในแนวทางท่ีดี

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบัติ

ช่ือวชิ า งานฝึกฝีมอื 1 (Bench Works1) รหสั วชิ า 2100–1003

ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ช้ัน ปวช.1

ช่ือเร่ือง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ ใบงานท่ี 15 งานกลึงแขนหมุน สมรรถนะย่อย (Element of Competency) ใบงานที่ 16 งานปากหมุนซีแคลมป์ ทาเกลียวบนช้ินงานโลหะตามแบบ

ใบงานที่ 17 งานตกแต่งและประกอบ จุดประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives) - ดา้ นทกั ษะ

1. ทาเกลยี วนอกบนสลกั 2. ทาเกลียวในปลายสลกั 3. ทาเกลยี วในบนตวั ซี 4. ตรวจสอบเกลียว 5. ปฏิบตั ิงานไดอ้ ยา่ งปลอดภยั 6. ทาความสะอาดบริเวณพ้นื ท่ปี ฏิบตั ิงาน

สมรรถนะย่อย (Element of Competency) กลึงแขนหมุนตามแบบ

จุดประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance Objectives) - ดา้ นทกั ษะ 1. กลึงปาดหนา้ แขนหมุนตามขนาดทก่ี าหนด 2. กลงึ ปอกแขนหมุนตามขนาดที่กาหนด 3. กลึงข้ึนรูปรัศมีโคง้ ตามขนาดที่กาหนด 4. ตรวจสอบขนาดชิ้นงานแขนหมนุ ตามขนาดที่ กาหนด 5. ทาความสะอาดบริเวณพ้นื ทป่ี ฏิบตั งิ าน

สมรรถนะย่อย (Element of Competency) ร่างแบบและเจาะรูชิ้นงานตามแบบ

จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objectives) 1. ตะไบปรับผวิ ชิ้นงานปากหมนุ ซีแคลมป์ ตามขนาด 2. ร่างแบบและนาศูนยช์ ้ินงานปากหมุนซีแคลมป์ 3. ตะไบข้นึ ลายปากหมุนซีแคลมป์ 4. เจาะรูตามขนาดท่กี าหนด 5. ตรวจสอบผวิ งานและขนาด

ตารางวิเคราะห์หลกั สูตรรายวิชา

ชื่อวชิ า งานฝึกฝีมือ 1 (Bench Works1) รหสั วชิ า 2100–1003

ท–ป–น 0–6–2 จานวนคาบสอน 6 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ช้ัน ปวช.1

พทุ ธิพิสัย (30%)

พฤตกิ รรม ความ ู้รความจา ความเข้าใจ ช่ือหน่วย ประยุกต์-นาไปใช้ วิเคราะ ์ห ูสงกว่า

ทักษะพิสัย (50%) ิจตพิสัย (20%) รวม (100%) ลาดับความสาคัญ

1. เคร่ืองมือทว่ั ไปและเคร่ืองมอื กล 1 21 46 เบ้ืองตน้ 51 75 2. เครื่องมอื วดั และเคร่ืองมือ 1 ตรวจสอบ 42 93 5 2 11 1 3. ความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน 12 52 93 5 2 10 2 4. งานตะไบ 11 2 42 93 42 93 5. งานร่างแบบ 11 42 93 4 2 10 2 6. งานลบั คมตดั 11 1 32 84

7. งานเจาะ 11 1 50 20 100 13 8. งานเลอื่ ยและงานสกดั 12

9. งานตกแตง่ และประกอบ 12

10. งานทาเกลยี ว 11 2

11. งานหลอ่ เบ้ืองตน้ 11 1

รวม 5 9 16

30

ลาดบั ความสาคญั 2

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 หน่วยท่ี 1

ช่ือวชิ า งานฝึกฝีมือ 1 รหสั 2100–1003 เวลาเรียนรวม 108 คาบ ช่ือหน่วย เครื่องมือทว่ั ไปและเคร่ืองมอื กลเบ้ืองตน้ สอนสปั ดาหท์ ่ี 1/18 ชื่อเร่ือง เครื่องมือทวั่ ไปและเคร่ืองมอื กลเบ้ืองตน้ จานวน 6 คาบ

หัวข้อเร่ือง

1.1 เครื่องมอื ทว่ั ไป 1.2 เคร่ืองมือกลเบ้ืองตน้ แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 1 ใบงานที่ 1 งานตะไบปรับผวิ

สาระสาคญั /แนวคดิ สาคญั

เครื่องมือทว่ั ไปและเคร่ืองมือกลเบ้ืองตน้ เป็ นเคร่ืองมือพ้ืนฐานสาคญั ท่ีนกั เรียนตอ้ งเรียนรู้และ เขา้ ใจถึงลกั ษณะและวิธีการใชใ้ หถ้ ูกตอ้ ง ดงั น้นั จึงจาเป็ นตอ้ งปรับพ้ืนความรู้ ความเขา้ ใจให้เป็ นไปในแนว เดียวกนั และถกู ตอ้ งตามหลกั การ เพ่ือเพิม่ อายกุ ารใชง้ านของเครื่องมือเครื่องจกั ร

สมรรถนะ

1. แสดงความรู้เก่ยี วกบั เครื่องมอื ทวั่ ไปและเคร่ืองมอื กลเบ้ืองตน้ 2. ตะไบปรับผวิ งานตามแบบ

จุดประสงค์การปฏิบัติ

- ด้านความรู้

1. อธิบายวิธีการใชเ้ คร่ืองมือต่าง ๆ 2. บอกประโยชนข์ องเคร่ืองกลงึ

3. บอกชนิดของเคร่ืองกลึง 4. อธิบายหนา้ ท่ีและส่วนประกอบของเครื่องกลงึ

5. บอกข้นั ตอนการใชเ้ คร่ืองกลงึ และการบารุงรักษาเครื่องกลงึ

- ด้านทกั ษะ

1. เตรียมชิ้นงานตะไบ 2. ตะไบปรับผวิ งาน

3. บารุงรักษาตะไบ 4. ใชต้ ะไบไดถ้ กู ตอ้ งและปลอดภยั

5. ตรวจสอบผวิ งานและความฉาก 6. ทาความสะอาดบริเวณพ้นื ท่ีปฏบิ ตั ิงาน

- ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง

ตรงต่อเวลา มีวนิ ยั มคี วามรับผดิ ชอบ ละเอยี ดรอบคอบ สนใจใฝ่ รู้ มีความซื่อสตั ย์ มีเหตุผล

ประหยดั และปฏบิ ตั ิตนในแนวทางที่ดี

ส่ือและแหล่งการเรียนรู้

1. หนงั สืองานฝึกฝีมอื 1 รหสั 2100-1003 หน่วยท่ี 1 2. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้และแบบประเมนิ พฤติกรรม หน่วยท่ี 1 3. ใบงานที่ 1/เคร่ืองมอื วสั ดุอุปกรณ์ในการปฏิบตั ิงาน 4. หอ้ งสมดุ วิทยาลยั ศนู ยว์ ิทยบริการ หอ้ ง Internet

เนื้อหาสาระ

1.1 เคร่ืองมือทวั่ ไป 1.1.1 ไขควง (Screwdrivers) ไขควงปากแบนหรือไขควงธรรมดา (Common Screwdrivers) ไขควงปากแฉก (Phillips

Head Screwdriver) ไขควงหวั คลตั ซ์ (Clutch Head Screwdriver) ไขควงออฟเสท (Offset Screwdriver) ไขควงสตาร์ตติง (Starting Screwdriver)

1.1.2 คอ้ น (Hammers) 1. คอ้ นหวั แขง็ (Hard Hammers) คอ้ นหวั กลม (Ball Peen Hammer) คอ้ นหวั ตรง (Straight Peen Hammer) คอ้ นหวั

ขวาง (Cross Peen Hammer) คอ้ นตีเหลก็ คอ้ นเดินสายไฟ (Electrician Hammer) คอ้ นช่างไมห้ รือคอ้ นหวั แพะ (Claw Hammer) คอ้ นขนาดใหญ่หรือคอ้ นพะเนิน (Heavy Hammer)

2. คอ้ นหวั อ่อน (Soft Hammer) คอ้ นทองเหลือง (Brass Hammer) คอ้ นพลาสติก (Plastic Hammer) คอ้ นยาง (Rubber

Hammer) คอ้ นไม้ (Wood Mallet) 1.1.3 คีม (Pliers) คีมเลอ่ื น คีมตดั คีมตดั ขา้ ง คีมปากจิ้งจก คีมลอ็ ก คีมถอดแหวนลอ็ ก 1.1.4 ประแจ (Wrenches) ประแจปากตาย ประแจเล่อื น ประแจแหวน ประแจจบั ท่อ ประแจกระบอก ประแจแอล

ประแจขอ 1.1.5 กรรไกร (Snips) แบบใบมีดตดั ตรง แบบใบมีดตดั ผสม 1.1.6 ปากกาจบั งาน (Bench Vises)

1.2 เคร่ืองมือกลเบ้ืองตน้ 1.2.1 เคร่ืองกลึง (Lathe Machines) 1.2.2 ชนิดของเคร่ืองกลงึ

1.2.3 ขนาดของเครื่องกลงึ 1.2.4 หนา้ ที่และส่วนประกอบของเครื่องกลงึ 1.2.5 การบารุงรักษาเคร่ืองกลงึ 1.2.6 ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องกลึง 1.2.7 ประโยชนข์ องเครื่องกลึง 1.2.8 การใชเ้ คร่ืองกลึง

กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 1 คาบท่ี 1–6/108)

ข้ันเตรียม 1. ครูขานช่ือผเู้ รียน 2. ครูแนะนารายวชิ า วิธีการเรียนการสอน การวดั ผลและประเมนิ ผล

ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 3. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบก่อนเรียน หน่วยท่ี 1 4. ครูต้งั คาถามเพื่อนาเขา้ สู่บทเรียนเรื่อง เคร่ืองมือทว่ั ไป 5. นกั เรียนตอบคาถามท่ีครูถาม

ข้ันเรียนรู้ 6. ครูอธิบาย ถาม-ตอบเน้ือหาเกี่ยวกบั เคร่ืองมอื ทว่ั ไปและเครื่องมือกลเบ้ืองตน้ 7. นกั เรียนจดบนั ทึกสาระสาคญั ที่ครูอธิบาย 8. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน่วยที่ 1 9. ครูสาธิตการตะไบและใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิงานตามใบงานที่ 1

ข้นั สรุป 10. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคญั ในบทเรียนใหน้ กั เรียนตระหนกั ถึงความสาคญั ปัญหาท่ีเกิดข้ึน

และแนวทางการแกไ้ ขปัญหาท้งั ทฤษฎีและปฏบิ ตั ิ 11. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 1

การวดั ผลและประเมนิ ผล

ก่อนเรียน 1) ใชส้ มดุ บนั ทกึ เวลาเรียนฯ ขานช่ือผเู้ รียนและตรวจการตรงต่อเวลา

  1. ใชแ้ บบสงั เกตความพร้อมในการเรียน ประเมนิ ความพร้อม เช่น มหี นงั สือ สมุด ปากกา การแต่งกาย เป็นตน้

ขณะเรียน 1) ใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรม สงั เกตการตอบคาถาม ความสนใจใฝ่ รู้ ความรับผดิ ชอบ ต่อการปฏบิ ตั ิงาน

หลงั เรียน 1) ภาคทฤษฎี แบบประเมินผลหลงั การเรียนรู้ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ 50%

  1. ภาคปฏิบตั ิ ประเมนิ การฝึกปฏบิ ตั ิตามใบงานท่ี 1 ส่งงานตามขอ้ กาหนด

งานทมี่ อบหมาย

ตรวจสอบ/จดั ทาแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 1 และใบงานที่ 1 ใหเ้ สร็จสมบรู ณ์ ส่งในคร้ังต่อไป

ผลงาน/ชิน้ งาน/ความสาเร็จของผ้เู รียน

1. ผลการปฏิบตั ิตามใบงานท่ี 1 งานตะไบปรับผวิ 2. ผลจากการทาแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 1 3. ผลจากการทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 1

เอกสารอ้างองิ

ประสาน คงจนั ทร์. (2556). งานฝึ กฝี มอื 1. นนทบุรี: ศนู ยห์ นงั สือเมอื งไทย.

บนั ทกึ หลังการสอน

1. ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................

2. ผลการเรียนของนกั เรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาท่ีพบ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................

3. แนวทางการแก้ปัญหา ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................

ลงชื่อ............................................... ลงชื่อ............................................... (...............................................) ( ชนินทร ต่อพงศกร ) ตวั แทนนกั เรียน ครูผสู้ อน

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 หน่วยท่ี 2

ชื่อวชิ า งานฝึกฝีมอื 1 รหสั 2100–1003 เวลาเรียนรวม 108 คาบ ชื่อหน่วย เครื่องมือวดั และเคร่ืองมอื ตรวจสอบ สอนสปั ดาห์ท่ี 2/18 ชื่อเรื่อง เคร่ืองมอื วดั และเครื่องมอื ตรวจสอบ จานวน 6 คาบ

หัวข้อเร่ือง

2.1 ความหมายของงานวดั 2.2 หน่วยการวดั 2.3 เครื่องมอื วดั 2.4 ความหมายของงานตรวจสอบ 2.5 เครื่องมอื ตรวจสอบ แบบฝึกหดั หน่วยที่ 2 ใบงานท่ี 2 งานตะไบปรับขนาด

สาระสาคญั /แนวคดิ สาคญั

การวดั และตรวจสอบขนาดของงานที่ถูกตอ้ ง จะทาให้งานมีคุณภาพ ดงั น้นั ผปู้ ฏิบตั ิงานจึงจาเป็ น อยา่ งยง่ิ ท่ีจะตอ้ งรู้จกั วิธีการใชแ้ ละการอา่ นเครื่องมือวดั ใหถ้ กู ตอ้ ง สาหรับค่าความหยาบหรือความละเอียดที่ ไดจ้ ากการวดั น้นั ข้ึนอยกู่ บั การเลือกใชช้ นิดของเครื่องมือวดั ผปู้ ฏิบตั ิงานจะตอ้ งพิจารณาเลือกใชเ้ ครื่องมอื วดั ให้ ถกู ตอ้ งกบั ความละเอียดของชิ้นงาน

สมรรถนะ

1. แสดงความรู้เกยี่ วกบั เครื่องมอื วดั และเคร่ืองมือตรวจสอบ 2. ตะไบปรับขนาดชิ้นงานตามแบบ

จุดประสงค์การปฏบิ ัติ

- ด้านความรู้ 1. อธิบายความหมายของงานวดั 2. เปรียบเทียบหน่วยการวดั ระหว่างระบบเมตริกกบั ระบบองั กฤษ 3. อธิบายข้นั ตอนการใชเ้ คร่ืองมืองานวดั และเครื่องมอื ตรวจสอบอยา่ งถกู ตอ้ งและปลอดภยั 4. อธิบายความหมายของงานตรวจสอบ

- ด้านทักษะ 1. ตะไบปรับขนาดชิ้นงาน 2. ตรวจสอบผวิ งาน ความฉาก และขนาด ตามแบบท่ีกาหนด 3. ทาความสะอาดบริเวณพ้นื ที่ปฏิบตั ิงานใหส้ ะอาดและเรียบร้อย

- ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง ตรงต่อเวลา มีวินยั มคี วามรับผดิ ชอบ ละเอยี ดรอบคอบ สนใจใฝ่ รู้ มคี วามซ่ือสตั ย์ มีเหตุผล

ประหยดั และปฏิบตั ิตนในแนวทางท่ีดี

สื่อและแหล่งการเรียนรู้

1. หนงั สืองานฝึกฝีมือ 1 รหสั 2100-1003 หน่วยท่ี 2 2. แบบประเมินผลการเรียนรู้และแบบประเมนิ พฤติกรรม หน่วยที่ 2 3. ใบงานท่ี 1/เคร่ืองมือ วสั ดุอุปกรณ์ในการปฏบิ ตั ิงาน 4. หอ้ งสมุดวิทยาลยั ศนู ยว์ ทิ ยบริการ หอ้ ง Internet

เนื้อหาสาระ

2.1 ความหมายของงานวดั งานวดั หมายถึง การวดั ความกวา้ ง ความยาว และความหนาของชิ้นงาน โดยตาแหน่งที่วดั ขนาด

สามารถอา่ นค่าเป็นหน่วยวดั ในระบบต่าง ๆ ได้ 2.2 หน่วยการวดั 2.2.1 ระบบเมตริก 2.2.2 ระบบองั กฤษ 2.3 เคร่ืองมือวดั 2.3.1 บรรทดั เหลก็ (Steel Rule) 2.3.2 บรรทดั วดั มมุ 2.3.3 เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ (Vernier Calipers) 2.3.4 เวอร์เนียร์ดิจิตอล (Digital Vernier Calipers) 2.3.5 เวอร์เนียร์ไฮเกจ (Vernier High Gauge) 2.3.6 ไมโครมิเตอร์ (Micrometer) 2.4 ความหมายของงานตรวจสอบ งานตรวจสอบ หมายถึง การตรวจสอบความเรียบของผวิ ชิ้นงาน ความฉากของชิ้นงาน ขนาดความ

โตของชิ้นงาน ลกั ษณะตาแหน่งท่ีตรวจสอบทาใหส้ ามารถทราบขนาดของชิ้นงานและมีผิวเรียบ ไดฉ้ าก ขนาด เลก็ หรือขนาดโตเกินไป ไม่มหี น่วยระบบในการวดั ค่า

2.5 เคร่ืองมอื ตรวจสอบ 2.5.1 ฉาก 2.5.2 บรรทดั เสน้ ผม 2.5.3 เกจวดั ต่าง ๆ 2.5.4 ขอ้ ควรระวงั และความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องมือวดั และตรวจสอบ

กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 2 คาบท่ี 7–12/108)

ข้ันเตรียม 1. ครูขานชื่อผเู้ รียน 2. ครูทบทวน ใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั เก่ียวกบั เครื่องมือ การใช้ การบารุงรกั ษาและการปฏิบตั ิ

เก่ียวกบั การตะไบช้ินงาน ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน 3. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบก่อนเรียน หน่วยท่ี 2 4. ครูต้งั คาถามเพ่ือนาเขา้ สู่บทเรียนเรื่อง เครื่องมือวดั และเคร่ืองมือตรวจสอบ 5. นกั เรียนตอบคาถามที่ครูถาม ข้ันเรียนรู้ 6. ครูอธิบาย ถาม-ตอบเน้ือหาเก่ียวกบั เคร่ืองมอื วดั และเคร่ืองมือตรวจสอบ 7. นกั เรียนจดบนั ทึกสาระสาคญั ท่ีครูอธิบาย 8. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 2 9. ครูสาธิตการวดั เพ่ือปรับขนาดและใหน้ กั เรียนปฏบิ ตั ิงานตามใบงานท่ี 2 (หากผลการปฏิบตั ิตามใบงานที่ 1 ยงั ไม่เรียบร้อย ใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิอยา่ งต่อเน่ืองต่อไป) ข้นั สรุป 10. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคญั ในบทเรียนใหน้ กั เรียนตระหนกั ถึงความสาคญั ปัญหาท่ีเกิดข้ึน

และแนวทางการแกไ้ ขปัญหาท้งั ทฤษฎีและปฏบิ ตั ิ 11. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 2

การวดั ผลและประเมินผล

ก่อนเรียน 1) ใชส้ มุดบนั ทกึ เวลาเรียนฯ ขานช่ือผเู้ รียนและตรวจการตรงต่อเวลา

  1. ใชแ้ บบสงั เกตความพร้อมในการเรียน ประเมนิ ความพร้อม เช่น มเี ครื่องมือ หนงั สือ สมุด ปากกา การแต่งกาย เป็นตน้

ขณะเรียน 1) ใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรม สงั เกตการตอบคาถาม ความสนใจใฝ่ รู้ ความรับผดิ ชอบ หลงั เรียน ต่อการปฏิบตั ิงาน

  1. ภาคทฤษฎี แบบประเมนิ ผลหลงั การเรียนรู้ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน 50%
  2. ภาคปฏบิ ตั ิ ประเมนิ การฝึกปฏบิ ตั ิตามใบงานท่ี 2 ส่งงานตามขอ้ กาหนด

งานที่มอบหมาย

ตรวจสอบ/จดั ทาแบบฝึกหดั หน่วยที่ 2 และใบงานท่ี 2 ใหเ้ สร็จสมบรู ณ์ ส่งในคร้ังต่อไป

ผลงาน/ชิน้ งาน/ความสาเร็จของผู้เรียน

1. ผลการปฏิบตั ิตามใบงานท่ี 2 งานตะไบปรับผวิ 2. ผลจากการทาแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 2 3. ผลจากการทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 2

เอกสารอ้างองิ

ประสาน คงจนั ทร์. (2556). งานฝึ กฝี มอื 1. นนทบุรี: ศนู ยห์ นงั สือเมืองไทย.

บันทกึ หลงั การสอน

1. ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................

2. ผลการเรียนของนกั เรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาทีพ่ บ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................

3. แนวทางการแก้ปัญหา ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................

ลงช่ือ............................................... ลงชื่อ............................................... (...............................................) ( ชนินทร ต่อพงศกร ) ตวั แทนนกั เรียน ครูผสู้ อน

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 หน่วยท่ี 3

ชื่อวชิ า งานฝึกฝีมือ 1 รหสั 2100–1003 เวลาเรียนรวม 108 คาบ ชื่อหน่วย สิ่งแวดลอ้ มและความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน สอนสปั ดาห์ที่ 3/18 ชื่อเร่ือง ส่ิงแวดลอ้ มและความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน จานวน 6 คาบ

หัวข้อเรื่อง

3.1 ส่ิงแวดลอ้ มในการปฏิบตั ิงาน 3.2 ความหมายของความปลอดภยั และอุบตั ิเหตุ 3.3 สาเหตุของการเกิดอบุ ตั ิเหตุ 3.4 ผลกระทบท่ีเกิดจากอบุ ตั ิเหตุ 3.5 ประโยชนข์ องความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน 3.6 การป้ องกนั อุบตั ิเหตุ 3.7 เครื่องหมายและสญั ลกั ษณ์ความปลอดภยั 3.8 ความปลอดภยั ในโรงงาน 3.9 ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องจกั ร

แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 3

ใบงานที่ 3 งานร่างแบบ

สาระสาคญั /แนวคดิ สาคญั

อนั ตรายท่ีเกิดจากการปฏิบตั ิงาน มีสาเหตุมาจากหลายดา้ นด้วยกันท้งั จากเครื่องมือ อุปกรณ์ จาก สภาพแวดลอ้ ม และจากตวั ผปู้ ฏิบตั ิงานเอง แต่อนั ตรายที่เกิดข้ึนน้ันสามารถป้ องกนั ได้ โดยศึกษาในเรื่อง ความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงานและมีมาตรการป้ องกนั ให้ผปู้ ฏิบตั ิงาน ปฏิบตั ิตามกฎของความปลอดภัย อย่างเคร่งครัด ซ่ึงบางคร้ังผูป้ ฏิบตั ิงานประมาท ไม่มีการเตรียมการป้ องกัน ดงั น้ันการปฏิบตั ิงานอย่าง ระมดั ระวงั และมคี วามเขา้ ใจจะช่วยลดอุบตั ิเหตุและลดความรุนแรงท่ีเกิดข้ึนได้

สมรรถนะ

1. แสดงความรู้เก่ียวกบั ส่ิงแวดลอ้ มและความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั ิงาน 2. วดั และร่างแบบชิ้นงานตามแบบงาน

จุดประสงค์การปฏบิ ัติ

- ด้านความรู้ 1.บอกวธิ ีการป้ องกนั อนั ตรายจากการใชเ้ คร่ืองมือทว่ั ไป 2.บอกความปลอดภยั ทว่ั ไปท่ีเกิดจากการใชเ้ คร่ืองมือทว่ั ไป 3.บอกลกั ษณะเครื่องมือและอปุ กรณ์ความปลอดภยั แต่ละชนิด

4.บอกรูปแบบของสญั ลกั ษณ์ความปลอดภยั - ด้านทกั ษะ

1. เตรียมเคร่ืองมือร่างแบบและนาศนู ย์ 2. ร่างแบบและนาศนู ย์ 3. บารุงรักษาตะไบ 4. ใชต้ ะไบไดถ้ กู ตอ้ งและปลอดภยั 5. ใชเ้ คร่ืองมือร่างแบบไดถ้ กู ตอ้ งและปลอดภยั 6. ทาความสะอาดบริเวณพ้ืนที่ปฏบิ ตั ิงาน - ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง ตรงต่อเวลา มีวนิ ยั มคี วามรับผดิ ชอบ ละเอยี ดรอบคอบ สนใจใฝ่ รู้ มีความซื่อสตั ย์ มีเหตุผล ประหยดั และปฏบิ ตั ิตนในแนวทางที่ดี

สื่อและแหล่งการเรียนรู้

1. หนงั สืองานฝึกฝีมือ 1 รหสั 2100-1003 หน่วยที่ 3 2. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้และแบบประเมนิ พฤติกรรม หน่วยท่ี 3 3. ใบงานที่ 3/เครื่องมอื วสั ดุอปุ กรณ์ในการปฏบิ ตั ิงาน 4. หอ้ งสมุดวทิ ยาลยั ศนู ยว์ ทิ ยบริการ หอ้ ง Internet

เนือ้ หาสาระ

3.1 สิ่งแวดลอ้ มในการปฏิบตั ิงาน 3.1.1 ความหมายของส่ิงแวดลอ้ มในการปฏบิ ตั ิงาน สิ่งแวดลอ้ มในการปฏบิ ตั ิงาน หมายถึง ส่ิงต่าง ๆ ท่ีอยรู่ อบตวั ผปู้ ฏบิ ตั ิงาน เช่น เคร่ืองจกั ร

ความเป็นระเบียบของโรงงาน การจดั สภาพงาน เป็นตน้ 3.1.2 การควบคุมส่ิงแวดลอ้ มในการปฏบิ ตั ิงาน 1. ควบคุมแหล่งที่เป็นอนั ตรายต่อการปฏิบตั ิงาน 2. ควบคุมสิ่งแวดลอ้ มท่ีเป็นอนั ตราย

3.2 ความหมายของความปลอดภยั และอบุ ตั ิเหตุ 3.2.1 ความปลอดภยั (Safety) คือ การพน้ จากเหตุอนั ตรายหรือการปราศจากภยั ใด ๆ ที่จะส่งผล

ใหเ้ กิดการบาดเจบ็ สูญเสียชีวติ และทรัพยส์ ิน 3.2.2 อุบตั ิเหตุ (Accident) คือ เหตุการณ์ที่เกิดข้ึน โดยไม่มีใครคาดคิดมาก่อน โดยไม่ไดต้ ้งั ใจ

ซ่ึงทาใหเ้ กิดการบาดเจ็บ สูญเสียชีวติ สูญเสียทรัพยส์ ิน หรือส่งผลเสียหายต่อสงั คม

3.3 สาเหตุของการเกิดอบุ ตั ิเหตุ 1. การใชเ้ ครื่องมือ เคร่ืองจกั ร หรืออปุ กรณ์ต่าง ๆ ควรไดร้ ับอนุญาตก่อนทุกคร้ัง 2. ความประมาท เลินเล่อ ขาดความต้งั ใจในการทางาน 3. ขาดทกั ษะและความชานาญในการปฏบิ ตั ิงาน 4. สภาพร่างกายไมม่ คี วามพร้อม 5. ไมใ่ ส่ใจต่อคาเตือนต่าง ๆ ฯลฯ

3.4 ผลกระทบท่ีเกิดจากอบุ ตั ิเหตุ 1. ผปู้ ระสบอุบตั ิเหตุและครอบครัวเป็ นผไู้ ดร้ ับผลกระทบโดยตรง เกิดการสูญเสียเก่ียวกบั ค่า

รักษาพยาบาล ค่าเงินทดแทน ค่าทาศพ และค่าใชจ้ ่ายอื่น ๆ อีกมากมาย

2. เพ่อื นร่วมงานต่ืนตระหนกและเสียขวญั กาลงั ใจในการทางาน

3. เจา้ ของธุรกิจหรือผปู้ ระกอบการ ตอ้ งสูญเสียค่าใชจ้ ่ายในการซ่อมแซมเครื่องจกั รเคร่ืองมือ

อุปกรณ์ ท่ีไดร้ ับความเสียหาย ฯลฯ

3.5 ประโยชนข์ องความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั ิงาน 1. ลดค่าใชจ้ ่ายในการซ่อมแซม เคร่ืองมือ เครื่องจกั ร อุปกรณ์ ท่ีไดร้ ับความเสียหาย และเป็นการ

ประหยดั ค่ารักษาพยาบาล ค่าเงินเข้ากองทุนทดแทน ซ่ึงค่าใช้จ่ายเหล่าน้ี เป็ นส่วนหน่ึงของต้นทุน ในการผลิตสินคา้

2. ผลผลิตเพิ่มข้ึน ซ่ึงเกิดจากความมน่ั ใจและขยนั ในการทางานดว้ ยความรับผดิ ชอบสูงทาให้ ผลผลติ โดยรวมเพมิ่ สูงข้ึนท้งั ในเชิงปริมาณและคุณภาพ

ฯลฯ 3.6 การป้ องกนั อุบตั ิเหตุ

1. วางแผนจัดอบรมการป้ องกนั อนั ตรายจากการใช้เครื่องมือ เครื่องจกั ร อุปกรณ์ ในการ

ปฏบิ ตั ิงานใหพ้ นกั งานหรือบุคคลท่ีเกี่ยวขอ้ ง

2. วางแผนในการติดต้งั อปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการป้ องกนั อบุ ตั ิภยั ใหม้ จี านวนมากพอในการใชง้ าน 3. กระตุน้ ใหท้ ุกคนตระหนกั ในความปลอดภยั และปฏิบตั ิตามบทบาทและหนา้ ที่ของตนเอง

ฯลฯ 3.7 เครื่องหมายและสญั ลกั ษณ์ความปลอดภยั

3.7.1 เคร่ืองหมาย 1. เคร่ืองหมายหา้ ม 2. เคร่ืองหมายบงั คบั 3. เคร่ืองหมายเตือน 4. เครื่องหมายสารนิเทศเก่ียวกบั ภาวะปลอดภยั

3.7.2 สญั ลกั ษณค์ วามปลอดภยั 3.8 ความปลอดภยั ในโรงงาน

1. บารุงรักษาเคร่ืองมอื เคร่ืองจกั ร และอุปกรณ์ ใหม้ สี ภาพพร้อมที่จะใชง้ าน 2. สวมแว่นนิรภยั เพอื่ ป้ องกนั อนั ตรายจากงานเจียระไน และอบุ ตั ิเหตุท่ีอาจเกิดข้ึนกบั ดวงตา 3. จดั โรงงานใหเ้ ป็นระเบียบ ไม่รกรุงรัง เพื่อป้ องกนั อบุ ตั ิเหตุ 4. เก็บและตรวจสอบเคร่ืองมือเขา้ ท่ีใหเ้ รียบร้อยเมอ่ื เลิกใชง้ าน ฯลฯ 3.9 ความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องจกั ร 1. มกี ารแนะนาในการใชเ้ ครื่องจกั รใหเ้ หมาะสมกบั งาน 2. มกี ารแนะนาใหร้ ู้จกั การซ่อมบารุงเคร่ืองจกั รใหอ้ ยใู่ นสภาพดี ฯลฯ

กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 3 คาบท่ี 13–18/108)

ข้ันเตรียม 1. ครูขานช่ือผเู้ รียน 2. ครูทบทวน ใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั เก่ียวกบั เครื่องมือ การใช้ การบารุงรักษาและการปฏบิ ตั ิ

เก่ียวกบั การวดั ขนาดชน้ิ งาน ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน 3. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบก่อนเรียน หน่วยท่ี 3 4. ครูต้งั คาถามเพ่ือนาเขา้ สู่บทเรียนเรื่อง ส่ิงแวดลอ้ มและความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน

(โดยม่งุ เนน้ ส่ิงท่ีเป็นอยใู่ นแผนกวิชาและส่ิงท่ีควรแกไ้ ขเพ่ือความปลอดภยั ) 5. นกั เรียนตอบคาถามที่ครูถาม

ข้ันเรียนรู้ 6. ครูอธิบาย ถาม-ตอบเน้ือหาเกี่ยวกบั สิ่งแวดลอ้ มและความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน 7. นกั เรียนจดบนั ทึกสาระสาคญั ท่ีครูอธิบาย 8. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน่วยที่ 3 9. ครูสาธิตการร่างแบบลงบนช้ินงานและใหน้ กั เรียนปฏบิ ตั ิงานตามใบงานที่ 3 (หากผลการปฏิบตั ิตามใบงานที่ 1-2 ยงั ไม่เรียบร้อย ใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิอยา่ งต่อเนื่องต่อไป)

ข้ันสรุป 10. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคญั ในบทเรียนใหน้ กั เรียนตระหนกั ถึงความสาคญั ปัญหาท่ีเกิดข้ึน

และแนวทางการแกไ้ ขปัญหาท้งั ทฤษฎีและปฏบิ ตั ิ 11. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 3

การวดั ผลและประเมินผล

ก่อนเรียน 1) ใชส้ มดุ บนั ทกึ เวลาเรียนฯ ขานช่ือผเู้ รียนและตรวจการตรงต่อเวลา

  1. ใชแ้ บบสงั เกตความพร้อมในการเรียน ประเมินความพร้อม เช่น มีเครื่องมอื หนงั สือ สมดุ ปากกา การแต่งกาย เป็นตน้

ขณะเรียน 1) ใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรม สงั เกตการตอบคาถาม ความสนใจใฝ่ รู้ ความรับผดิ ชอบ ต่อการปฏิบตั ิงาน

หลงั เรียน 1) ภาคทฤษฎี แบบประเมินผลหลงั การเรียนรู้ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน 50%

  1. ภาคปฏบิ ตั ิ ประเมินการฝึกปฏิบตั ิตามใบงานท่ี 3 ส่งงานตามขอ้ กาหนด

งานทีม่ อบหมาย

ตรวจสอบ/จดั ทาแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 3 และใบงานที่ 3 ใหเ้ สร็จสมบูรณ์ ส่งในคร้ังต่อไป

ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผ้เู รียน

1. ผลการปฏบิ ตั ิตามใบงานที่ 3 งานร่างแบบ 2. ผลจากการทาแบบฝึกหดั หน่วยที่ 3 3. ผลจากการทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 3

เอกสารอ้างองิ

ประสาน คงจนั ทร์. (2556). งานฝึ กฝี มอื 1. นนทบุรี: ศนู ยห์ นงั สือเมอื งไทย.

บันทึกหลังการสอน

1. ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................

2. ผลการเรียนของนกั เรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาทพี่ บ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................

3. แนวทางการแก้ปัญหา ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................

ลงช่ือ............................................... ลงช่ือ............................................... (...............................................) ( ชนินทร ต่อพงศกร ) ตวั แทนนกั เรียน ครูผสู้ อน

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 หน่วยที่ 4

ช่ือวชิ า งานฝึกฝีมือ 1 รหสั 2100–1003 เวลาเรียนรวม 108 คาบ ช่ือหน่วย งานตะไบ สอนสปั ดาหท์ ี่ 4/18 ชื่อเรื่อง งานตะไบ จานวน 6 คาบ

หัวข้อเร่ือง

4.1 ตะไบและชนิดของตะไบ 4.2 ชนิดของคมตะไบ 4.3 หลกั ของการตะไบ 4.4 ท่าตะไบ 4.5 การกาหนดความถ–ี่ หยาบของตะไบ 4.6 ขอ้ ควรระวงั ในการตะไบและบารุงรักษา

แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 4

ใบงานที่ 4 งานลบั คมตดั ดอกสวา่ น

สาระสาคญั /แนวคดิ สาคญั

งานตะไบเป็ นงานข้ันพ้ืนฐาน ซ่ึงนักเรียนที่เร่ิมเรียนช่างอุตสาหกรรมทุกคนจะตอ้ งเรียนรู้และ ใหค้ วามสาคญั ถึงแมใ้ นปัจจุบนั จะมีเครื่องจกั รที่ทนั สมยั ในการทาให้ผิวเรียบแต่ก็ยงั มี ความจาเป็ นตอ้ งใช้ ตะไบในการทางานเป็นประจา ตะไบเป็นเคร่ืองมือใชส้ าหรับลดขนาดของชิ้นงาน ตกแต่งผวิ งานใหเ้ รียบเพือ่ งานประกอบช้ินส่วนเข้าดว้ ยกนั ซ่ึงการตดั เฉือนของตะไบจะอาศยั คมตดั ที่เรี ยกว่าฟันตะไบ ในการ ปฏิบตั ิงานแต่ละคร้ังความปลอดภยั เป็นส่ิงสาคญั ท่ีสุดสาหรับช่างทุกคน

สมรรถนะ

1. แสดงความรู้เกยี่ วกบั งานตะไบ 2. ลบั คมตดั ดอกสวา่ น

จุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ

- ด้านความรู้ 1. บอกวธิ ีการป้ องกนั อนั ตรายจากการใชเ้ ครื่องมือ 2. อธิบายลกั ษณะตะไบและชนิดของตะไบ 3. บอกชนิดของคมตะไบ 4. อธิบายหลกั การทางานของตะไบ 5. อธิบายท่าทางการยนื ตะไบ 6. บอกวิธีการกาหนดความถี่ หยาบของตะไบ

7. อธิบายข้นั ตอนการใชต้ ะไบและบารุงรักษาตะไบอยา่ งถกู ตอ้ งและปลอดภยั - ด้านทกั ษะ

1. ใชเ้ คร่ืองเจียระไนไดถ้ กู ตอ้ งและปลอดภยั 2. ลบั ดอกสว่าน 3. ตรวจสอบมมุ ดอกสวา่ น 4. ทาความสะอาดบริเวณพ้นื ท่ีปฏิบตั ิงาน 6. ทาความสะอาดบริเวณพ้นื ที่ปฏิบตั ิงาน - ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง ตรงต่อเวลา มวี นิ ยั มคี วามรับผดิ ชอบ ละเอยี ดรอบคอบ สนใจใฝ่ รู้ มคี วามซื่อสตั ย์ มีเหตุผล ประหยดั และปฏิบตั ิตนในแนวทางที่ดี

สื่อและแหล่งการเรียนรู้

1. หนงั สืองานฝึกฝีมือ 1 รหสั 2100-1003 หน่วยท่ี 4 2. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้และแบบประเมนิ พฤติกรรม หน่วยที่ 4 3. ใบงานท่ี 4/เครื่องมอื วสั ดุอุปกรณ์ในการปฏบิ ตั ิงาน 4. หอ้ งสมดุ วทิ ยาลยั ศนู ยว์ ทิ ยบริการ หอ้ ง Internet

เนือ้ หาสาระ

4.1 ตะไบและชนิดของตะไบ 4.1.1 ตะไบ (Files) ตะไบ คือ เครื่องมือสาหรับลดขนาดของวสั ดุใหม้ ีผิวเรียบไดข้ นาดตามตอ้ งการ โดยใช้

ฟันตะไบตดั ชิ้นงาน ตะไบทามาจากเหลก็ กลา้ คาร์บอนสูง

4.1.2 ชนิดของตะไบ ตะไบแบน ตะไบทอ้ งปลงิ ตะไบกลมหรือตะไบหางหนู ตะไบสี่เหลย่ี ม ตะไบสามเหลีย่ ม

4.2 ชนิดของคมตะไบ ลกั ษณะคมตดั เดี่ยว ลกั ษณะคมตดั คู่และลกั ษณะคมตดั โคง้

4.3 หลกั ของการตะไบ 4.3.1 วธิ ีจบั ตะไบ 4.3.2 วิธีการใชต้ ะไบ 4.3.3 การใส่และถอดดา้ มตะไบ

4.4 ท่าตะไบ 4.5 การกาหนดความถ–ี่ หยาบของตะไบ 4.6 ขอ้ ควรระวงั ในการตะไบและบารุงรักษา

1. ควรใชต้ ะไบที่มดี า้ ม เพราะตะไบท่ีไม่มดี า้ มทาใหเ้ กิดอนั ตรายแก่ผปู้ ฏิบตั ิงานได้ 2. ควรทาความสะอาดตะไบดว้ ยแปรงเหลก็ ตามแนวร่องฟันคมตะไบเสมอ ฯลฯ

กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 4 คาบที่ 19–24/108)

ข้ันเตรียม 1. ครูขานชื่อผเู้ รียน 2. ครูทบทวน ใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั เกี่ยวกบั ส่ิงแวดลอ้ มและความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน

ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 3. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบก่อนเรียน หน่วยท่ี 4 4. ครูต้งั คาถามเพือ่ นาเขา้ สู่บทเรียนเรื่อง การตะไบ (โดยมุ่งเนน้ ส่ิงท่ีนกั เรียนไดป้ ฏิบตั ิไปแลว้

ตามใบงานที่ 1) 5. นกั เรียนตอบคาถามที่ครูถาม

ข้ันเรียนรู้ 6. ครูอธิบาย ถาม-ตอบเน้ือหาเก่ียวกบั งานตะไบ 7. นกั เรียนจดบนั ทึกสาระสาคญั ท่ีครูอธิบาย 8. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน่วยที่ 4 9. ครูสาธิตการลบั คมตดั ดอกสวา่ นและใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิงานตามใบงานที่ 4 (หากผลการปฏิบตั ิตามใบงานท่ี 1-2 ยงั ไม่เรียบร้อย ใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิอยา่ งต่อเนื่องต่อไป)

ข้ันสรุป 10. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคญั ในบทเรียนใหน้ กั เรียนตระหนกั ถงึ ความสาคญั ปัญหาที่เกิดข้ึน

และแนวทางการแกไ้ ขปัญหาท้งั ทฤษฎีและปฏบิ ตั ิ 11. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 4

การวดั ผลและประเมินผล

ก่อนเรียน 1) ใชส้ มดุ บนั ทกึ เวลาเรียนฯ ขานช่ือผเู้ รียนและตรวจการตรงต่อเวลา

  1. ใชแ้ บบสงั เกตความพร้อมในการเรียน ประเมินความพร้อม เช่น มีเครื่องมอื หนงั สือ สมดุ ปากกา การแต่งกาย เป็นตน้

ขณะเรียน 1) ใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรม สงั เกตการตอบคาถาม ความสนใจใฝ่ รู้ ความรับผดิ ชอบ ต่อการปฏบิ ตั ิงาน

หลงั เรียน 1) ภาคทฤษฎี แบบประเมนิ ผลหลงั การเรียนรู้ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน 50%

  1. ภาคปฏบิ ตั ิ ประเมินการฝึกปฏิบตั ิตามใบงานท่ี 4 ส่งงานตามขอ้ กาหนด

งานทีม่ อบหมาย

ตรวจสอบ/จดั ทาแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 4 และใบงานที่ 4 ใหเ้ สร็จสมบูรณ์ ส่งในคร้ังต่อไป

ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสาเร็จของผู้เรียน

1. ผลการปฏบิ ตั ิตามใบงานท่ี 4 งานร่างแบบ 2. ผลจากการทาแบบฝึกหดั หน่วยที่ 4 3. ผลจากการทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 4

เอกสารอ้างองิ

ประสาน คงจนั ทร์. (2556). งานฝึ กฝี มอื 1. นนทบุรี: ศนู ยห์ นงั สือเมอื งไทย.

บนั ทึกหลงั การสอน

1. ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................

2. ผลการเรียนของนกั เรียน/ผลการสอนของครู/ปัญหาท่พี บ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................

3. แนวทางการแก้ปัญหา ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................

ลงชื่อ............................................... ลงชื่อ............................................... (...............................................) ( ชนินทร ต่อพงศกร ) ตวั แทนนกั เรียน ครูผสู้ อน

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 หน่วยที่ 5

ชื่อวชิ า งานฝึกฝีมือ 1 รหสั 2100–1003 เวลาเรียนรวม 108 คาบ ชื่อหน่วย งานร่างแบบ สอนสปั ดาหท์ ี่ 5/18 ช่ือเร่ือง งานร่างแบบ จานวน 6 คาบ

หัวข้อเรื่อง

5.1 ความหมายของการร่างแบบ 5.2 ชนิดของเครื่องมอื ร่างแบบ 5.3 การระวงั รักษาและความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องมือร่างแบบ แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 5 ใบงานท่ี 5 งานเจาะ

สาระสาคญั /แนวคดิ สาคญั

ในอตุ สาหกรรมการผลติ จะมีการข้ึนรูปชิ้นงานใหเ้ ป็นผลิตภณั ฑแ์ ละเคร่ืองมือต่าง ๆ ก่อนการข้ึนรูป ให้ไดร้ ูปร่างและขนาดท่ีกาหนด ส่ิงที่จะช่วยให้ทราบตาแหน่งท่ีแน่นอนได้จะตอ้ งมีการร่างแบบก่อน ในงานเขียนแบบอาจใชม้ าตราส่วนย่อหรือขยายก็ได้ สาหรับงานร่างแบบน้ันจะตอ้ งร่างบนงานจริงและ ขนาดจริง

สมรรถนะ

1. แสดงความรู้เกีย่ วกบั งานร่างแบบ 2. ลบั คมตดั ดอกสว่าน

จดุ ประสงค์การปฏิบัติ

- ด้านความรู้ 1. บอกความหมายของการร่างแบบ 2. บอกชนิดของเครื่องมือร่างแบบ 3. อธิบายวิธีการใชเ้ ครื่องมือร่างแบบอยา่ งถกู ตอ้ งและปลอดภยั 4. อธิบายข้นั ตอนการใชเ้ ครื่องมอื ร่างแบบ 5. บอกการระวงั รักษาเคร่ืองมือร่างแบบ

- ด้านทักษะ 1. เจาะรูคอ้ นเดินสายไฟไดถ้ กู ตอ้ งและปลอดภยั 2. ตะไบคอ้ นเดินสายไฟใหม้ ขี นาดตามท่ีกาหนด 3. ตรวจสอบขนาดรูคอ้ นเดินสายไฟตามแบบท่ีกาหนด

4. ทาความสะอาดบริเวณพ้นื ที่ปฏิบตั ิงาน - ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง

ตรงต่อเวลา มีวนิ ยั มคี วามรับผดิ ชอบ ละเอียดรอบคอบ สนใจใฝ่ รู้ มีความซื่อสตั ย์ มีเหตุผล ประหยดั และปฏิบตั ิตนในแนวทางท่ีดี

สื่อและแหล่งการเรียนรู้

1. หนงั สืองานฝึกฝีมอื 1 รหสั 2100-1003 หน่วยที่ 5 2. แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้และแบบประเมนิ พฤติกรรม หน่วยท่ี 5 3. ใบงานที่ 4/เคร่ืองมอื วสั ดุอปุ กรณ์ในการปฏบิ ตั ิงาน 4. หอ้ งสมุดวิทยาลยั ศนู ยว์ ิทยบริการ หอ้ ง Internet

เนือ้ หาสาระ

5.1 ความหมายของการร่างแบบ การร่างแบบ หมายถึง การเขียนแบบงานที่มีรายละเอียดเกี่ยวกบั ลกั ษณะ รูปร่าง และขนาดของ

ช้ินงานจากแบบสงั่ งานลงบนพ้ืนผิววสั ดุงาน เพ่ือนาวสั ดุงานไปทาการตดั เฉือน ข้ึนรูปให้เป็ นช้ินส่วนของ ผลติ ภณั ฑ์

5.2 ชนิดของเครื่องมอื ร่างแบบ 5.2.1 โต๊ะระดบั (Surface Plate) 5.2.2 แท่นประคองมมุ ฉาก (Angle Plate) 5.2.3 เวอร์เนียร์ไฮเกจ (Vernier Height Gauge) 5.2.4 ฉากผสม (Combination Square) 5.2.5 เหลก็ ขีด (Scribers) 5.2.6 เหลก็ ตอกร่างแบบ (Prick Punch) 5.2.7 เหลก็ ตอกนาศนู ย์ (Center Punch) 5.2.8 วงเวยี นเหลก็ (Dividers) 5.2.9 บรรทดั เหลก็ (Steel Rule) 5.2.10 แท่งวี–บลอ็ ก (V–Block)

5.3 การระวงั รักษาและความปลอดภยั ในการใชเ้ ครื่องมอื ร่างแบบ 1. ศึกษาวิธีการใชง้ านของเคร่ืองมอื อปุ กรณ์ก่อนนาไปใชง้ าน 2. วางเคร่ืองมือร่างแบบแยกออกจากเครื่องมืออน่ื ๆ 3. ไม่วางเครื่องมือหรืออุปกรณ์ร่างแบบอ่ืน ๆ บนโต๊ะระดบั ยกเวน้ เคร่ืองมือที่เก่ียวขอ้ ง เช่น

เวอร์เนียร์ไฮเกจ แท่งประคองฉาก แท่งวี–บลอ็ ก เพราะจะทาใหผ้ วิ โต๊ะระดบั เป็นรอยขีดข่วน ฯลฯ

กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 5 คาบท่ี 25–30/108)

ข้ันเตรียม 1. ครูขานชื่อผเู้ รียน 2. ครูทบทวนความรู้เดิม และใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั เก่ียวกบั งานตะไบ

ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 3. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 5 4. ครูต้งั คาถามเพ่อื นาเขา้ สู่บทเรียนเร่ือง การร่างแบบ (โดยมุ่งเนน้ สิ่งที่นักเรียนไดป้ ฏิบตั ิไป

แลว้ ตามใบงานท่ีผา่ นมา) 5. นกั เรียนตอบคาถามที่ครูถาม

ข้ันเรียนรู้ 6. ครูอธิบาย ถาม-ตอบเน้ือหาเก่ียวกบั งานร่างแบบ 7. นกั เรียนจดบนั ทึกสาระสาคญั ที่ครูอธิบาย 8. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 5 9. ครูสาธิตการเจาะช้ินงานและใหน้ กั เรียนปฏบิ ตั ิงานตามใบงานที่ 5 (หากผลการปฏิบตั ิตามใบงานท่ีผา่ นมายงั ไม่เรียบร้อย ให้นักเรียนปฏิบตั ิงานน้ันอย่าง

ต่อเนื่องต่อไป) ข้นั สรุป 10. ครูสรุปเน้ือหาสาระสาคญั ในบทเรียนใหน้ กั เรียนตระหนกั ถึงความสาคญั ปัญหาท่ีเกิดข้ึน

และแนวทางการแกไ้ ขปัญหาท้งั ทฤษฎีและปฏบิ ตั ิ 11. ครูใหน้ กั เรียนทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 5

การวดั ผลและประเมินผล

ก่อนเรียน 1) ใชส้ มดุ บนั ทกึ เวลาเรียนฯ ขานชื่อผเู้ รียนและตรวจการตรงต่อเวลา

  1. ใชแ้ บบสงั เกตความพร้อมในการเรียน ประเมนิ ความพร้อม เช่น มีเครื่องมือ หนงั สือ สมุด ปากกา การแต่งกาย เป็นตน้

ขณะเรียน 1) ใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรม สงั เกตการตอบคาถาม ความสนใจใฝ่ รู้ ความรับผดิ ชอบ ต่อการปฏิบตั ิงาน

หลงั เรียน 1) ภาคทฤษฎี แบบประเมนิ ผลหลงั การเรียนรู้ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน 50%

  1. ภาคปฏบิ ตั ิ ประเมินการฝึกปฏิบตั ิตามใบงานท่ี 5 ส่งงานตามขอ้ กาหนด

งานทมี่ อบหมาย

ตรวจสอบ/จดั ทาแบบฝึกหดั หน่วยที่ 5 และใบงานท่ี 5 ใหเ้ สร็จสมบรู ณ์ ส่งในคร้ังต่อไป