การตรวจหล งแบบ dcap-btls ตรวจพบว าไม ม ร องรอยการบาดเจ บ

1.กา ร ติ ด ต า ม ป ร ะ เ มิ น อา กา ร กา ร เ ป ลี่ ย น แป ล ง ข อง ผู้ ป่ วยเ ป็ น ร ะ ย ะ ( monitoring

&reassessment) คือ

1.1 ระดับความร้สู ึกตวั หรือสัญญาณทางประสาทและสมอง

1.2 ทางเดนิ หายใจ โล่งสะดวกดีหรือไม่

181

1.3 การตรวจวัดสัญญาณชีพ ได้แก่ การประเมินหายใจเป็นอย่างไร หายใจช้า หายใจเร็ว หรอื ผดิ ปกตอิ ยา่ งอ่ืนหรือไม่ การประเมนิ การเต้นของชีพจร ทง้ั อตั ราและจงั หวะการเตน้ ของ ชีพจร ความแรง เบา รวมทัง้ การวัดความดนั โลหติ (ถ้าสามารถวดั ได้)

1.4 การเปลี่ยนแปลงอ่นื ๆ ท่สี ังเกตได้ ขณะใหก้ ารดูแลผ้ปู ว่ ย 2.การตรวจดูประสทิ ธภิ าพของการรกั ษาพยาบาลเมอ่ื แรกรับ ได้แก่

2.1 การเปิดทางเดินหายใจ และการช่วยการหายใจ มีความเหมาะสม ถูกต้อง และมี ประสทิ ธภิ าพหรอื ไม่ เช่น การจัดท่าเปิดทางเดนิ หายใจ การใหอ้ อกซเิ จนเพยี งพอหรือไม่

2.2 การห้ามเลือด มีประสิทธิภาพหรือไม่ สามารถหยุดเลือดได้หรือไม่ หรือมีจุดเลือดออก บริเวณอืน่ ของร่างกายอกี หรือไม่ วธิ กี ารหา้ มเลอื ดเหมาะสมหรือไม่

2.3 การดามส่วนท่ีควรระมัดระวังการเคล่ือนไหว หรือส่วนท่ีมีกระดูกหัก เช่น ผู้บาดเจ็บท่ีไม่ รู้สึกตัวได้รับการใส่อุปกรณ์ดามคอหรือไม่ มีบริเวณใดที่มีอาการบวมผิดรูปบ้าง ได้รับ การดาม และใช้อุปกรณ์การดามทเี่ หมาะสมกับอวัยวะนั้นๆ หรือไม่

2.4 ประเมินและตรวจร่างกายซ้าในตาแหน่งท่ีผู้ป่วยมีอาการหรือได้รับบาดเจ็บในระหว่าง การนาส่ง นอกจากจะต้องทาการประเมินผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องดังกล่าวแล้ว ถ้ายังไม่ได้ ทาการซักประวัติผู้ป่วย หรือได้ประวัติยังไม่ครบถ้วน ก็สามารถซักประวัติเพ่ิมเติมได้ ในขณะนาสง่

182

บทท่ี 3-3 การซักประวัติและการประเมนิ ผูป้ ่วยฉุกเฉินทางอายุรกรรม

(focused history and assessment: Medical)

บทนา

ผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินทางอายุกรรมทุกราย ต้องได้รับการประเมินเบ้ืองต้น(primary assessment) เช่นเดียวกันกับผู้ป่วยฉุกเฉินจากอุบัติเหตุ สาหรับการประเมินผู้ป่วยทางอายุรกรรม หลังการประเมินเบ้ืองต้น และแก้ไขภาวะคุกคามชีวิตแล้ว พนักงานฉุกเฉินการแพทย์ต้องทาการซัก ประวัติและตรวจร่างกาย (focused history and physical exam) ซ่ึงการซักประวัติในผู้ป่วยทาง อายุรกรรมเป็นสิ่งท่ีเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการวินิจฉัยโรค ในการวินิจฉัยโรคทางอายุรกรรมน้ัน 80 % ใช้ข้อมูลท่ีได้จากการซักประวัติ และอีก 20 % เป็นข้อมูลจากการตรวจร่างกาย ดังนั้นพนักงาน ฉุกเฉินการแพทย์ จึงควรตระหนักและให้ความสาคัญกับข้ันตอนและกระบวนการในการซักประวัติ เพ่ือจะได้ทาให้ทราบปัญหาและความตอ้ งการของผู้ป่วย และสามารถให้การดูแลในเบื้องต้นได้ และมี ความสอดคล้องกับปญั หาและความตอ้ งการการดูแลของผู้ปว่ ยมากข้ึน การซกั ประวตั ผิ ูป้ ว่ ย (history taking)

เป็นขั้นตอนแรกที่มีความสาคัญท่ีสุดในการประเมินผู้ป่วย เพราะเป็นการเก็บข้อมูลเพื่อให้ ได้มาซึ่งการวินิจฉัยโรคเบื้องต้น ถ้าข้อมูลที่ได้รับมีความครบถ้วนและถูกต้องมากเท่าใด การวนิ ิจฉยั โรคก็จะมคี วามถกู ต้องมากเทา่ นั้น หลกั การซกั ประวตั ผิ ปู้ ่วย

ประวตั ิการเจ็บป่วยเปน็ เรื่องราวของเหตุการณ์สาคัญท่เี กิดขึ้น ซ่ึงสัมพันธ์กับปัญหาปัจจุบนั ของผู้ป่วยและมีผลทาให้ผู้ป่วยต้องขอความช่วยเหลือ ผู้ป่วยมักจะเร่ิมต้นด้วยการอธิบายถึงปัญหา หลักของผู้ป่วย ซึ่งเรียกว่าอาการสาคัญ เช่น “ฉันหายใจไม่ออกมาประมาณ 10 นาทีก่อนมา ” หลังจากนั้น ควรจะซักถามอาการเจ็บป่วยปัจจุบันตามระบบอวัยวะต่างๆตามลาดับก่อนหลัง ซ่ึง สัมพันธก์ ับอาการสาคญั และรวมถึงประวัติการเจ็บปว่ ยในอดตี หลักในการซักประวตั ิผู้ปว่ ยทั่วไป ใช้ หลักการ “SAMPLE “ เช่นเดยี วกบั ผู้ป่วยฉกุ เฉิน ทไ่ี ดร้ ับอุบตั ิเหตุ ดงั น้ี 1. อาการและการแสดง (signs and symptoms)

- อะไรเป็นส่งิ ท่ีทาให้คุณไม่สบาย - ทาไมคุณถงึ ต้องตามหน่วยแพทยฉ์ กุ เฉิน - นอกจากอาการสาคัญทค่ี ุณบอกแล้ว มอี าการอนื่ ๆ อกี หรอื ไม่ ทผี่ ิดปกติ เช่น อ่อนเพลีย ไอ เจ็บหน้าอก ไข้ บวม โดยพยายามเรียงลาดับเหตุการณ์ก่อนหลัง อาจจะใช้หลัก O P Q R S T ในการช่วยจากไ็ ด้ กลา่ วคือ

- O = Onset อาการนน้ั เกดิ ข้นึ เมอื่ ใด - P = Provocation อาการนนั้ ๆ ถกู กระตุ้นด้วยอะไร - Q = Quality ลักษณะของอาการเปน็ อยา่ งไร เกิดทตี่ าแหนง่ ใด - R = Radiation อาการนั้น ๆ มีการย้ายหรอื ลามไปตาแหนง่ อ่นื หรอื ไม่

183

- S = Severity อาการเปน็ มากน้อยเพยี งใด ในกรณที ผี่ ้ปู ่วย เคยมี อาการเป็น ๆ หาย ๆ ก็ให้เทยี บกบั อาการคร้งั กอ่ น ๆ

- T = Time ระยะเวลาที่มอี าการนนั้ นานเพียงใด นานเท่าใด 2. ประวตั เิ ก่ยี วกบั การแพส้ ารตา่ งๆ (allergies) อาจช่วยแยกสาเหตุของโรคได้ เช่น ผปู้ ว่ ยภมู ิแพ้มกั สมั พันธ์กับหอบหืด การสมั ผสั สารน้าทผ่ี ู้ป่วยแพ้ อาจกระตุ้นใหผ้ ้ปู ว่ ยมีอาการได้ นอกจากนค้ี วรซักวา่ ผ้ปู ่วยแพ้อะไรมาหรอื ไม่ 3. ยาท่ีไดร้ ับประจา (medications) และถ้าผู้ป่วยเอายาให้ดูกค็ วรจดบนั ทกึ หรือนาไปโรงพยาบาล ดว้ ย 4. ประวตั ิการเจ็บปว่ ยในอดีต (past pertinent history) คุณมีโรคประจาตัวอะไรหรอื ไม่ เชน่ หอบ หดื ถุงลมโปง่ พอง โรคหัวใจ วณั โรค 5. อาหารมอ้ื สดุ ท้ายที่ไดร้ บั (last meal) เป็นการซักถามถึงสิง่ ท่ีผ้ปู ่วยรับประทานก่อนเกดิ การ เจ็บปว่ ยครงั้ นี้ 6. เหตกุ ารณท์ น่ี ามาสกู่ ารเจ็บป่วยครัง้ น้ี (event leading to illness) เปน็ การซักถามถงึ เหตุการณ์ ก่อนการเกดิ การเจบ็ ปว่ ยในครั้งนี้ เช่น ขณะว่ิงออกกาลังกายแล้วมีอาการเจ็บหนา้ อก

ในการออกปฏิบัติการฉุกเฉินทุกคร้ัง ก่อนออกไป ณ จุดเกิดเหตุ ชุดปฏิบัติการฉุกเฉินต้องมี ข้อมูลอาการนาของผู้ป่วยในเบ้ืองต้นท่ีอาจได้รับแจ้งจากศูนย์รับแจ้งเหตุและส่ังการ หรือจากญาติ ผู้ป่วย ดงั น้ันเพื่อให้ผู้ปฏิบัตกิ ารได้มีแนวทางในการซักประวัติเพื่อให้ไดข้ ้อมูลที่เป็นประโยชน์มากท่ีสุด จึงขอยกตัวอย่างการต้งั คาถามเพอื่ เปน็ แนวในการซกั ประวัติ ตามกลมุ่ อาการนา เชน่

184

อาการนา ตัวอยา่ งคาถาม

ผู้ป่วยที่มีระดับความรู้สึกตัวเปล่ียนแปลง - เคยเปน็ มาก่อนหรือไม่

(Altered Mental Status) - ระยะเวลาที่เปน็

- เร่มิ เป็นเมอ่ื ใด

- มอี าการอื่นร่วมด้วยหรอื ไม่

- มอี บุ ัตเิ หตุร่วมด้วหรือไม่

- มีอาการชกั หรือมีไขร้ ่วมดว้ ยหรอื ไม่

ผู้ ป่ ว ย ก ลุ่ ม อ า ก า ร ป ฏิ กิ ริ ย า แ พ้ ( Allergic - มีประวัติการแพ้หรือไม่ เช่น แพ้ยา อาหาร

Reaction) หรอื อ่นื ๆ

- ท่ีมีอาการในคร้ังนี้ มีประวัติการสัมผัสกับส่ิง

กระตุ้นอะไรบ้างกอ่ นจะมีอาการแพ้ ถ้ามีสมั ผัส

อย่างไร เช่น กิน ทา หรือสูดดม แล้วหลังการ

สัมผัสกับสิ่งกระตุ้นเหล่าน้ันแล้วมีอาการ

อยา่ งไร

ผู้ป่วยกลุ่มอาการของโรคระบบหัวใจและการ O-P-Q-R-S-T

หายใจ(Cardiac/Respiratory)

ผปู้ ว่ ยหมดสติ (Loss of Consciousness: LOC) - ระยะเวลาทห่ี มดสตินานเทา่ ไร

- มีประวตั อิ บุ ตั ิเหตหุ รอื ไม่

- เหตุการณ์ก่อนท่ีจะหมดสติ และช่วงที่หมด

สตผิ ปู้ ว่ ยอยู่ในลกั ษณะทา่ ทางอย่างไร เช่น เดิน

อยู่แล้วเป็นลมหมดสติ หรือ นั่งทางานอยู่แล้ว

ฟบุ อยูก่ บั โตะ๊ เปน็ ตน้

ผูป้ ว่ ยทางสูตกิ รรม (Obstetrics) - ประวัติการตั้งครรภ์ อายุครรภ์ ประจาเดือน

คร้ังสุดท้าย การฝากครรภ์ กาหนดคลอด การ

แทง้ บุตร

- มีอาการท้องแข็งจากมดลูกบีดรัดตัวหรอื ไม่

- เจ็บครรภห์ รือไม่

- มีมกู หรอื เลอื ดออกทางช่องคลอดหรือไม่

ผู้ป่วยที่มีอาการปวดทอ้ ง (Ac abdomen) - ตาแหนง่ ที่ปวด ลักษณะการปวด

- มีอาการอ่ืนร่วมด้วยหรือไม่ เช่น คลื่นไส้

อาเจยี น มไี ข้ ท้องเสยี

- มีเลือดออกจากสว่ นไหนหรือไม่

- ประวัติการขับถ่ายอุจจาระ ปสั สาวะ

185

การประเมนิ ผู้ป่วยฉุกเฉนิ ทางอายรุ กรรม ในการปฏบิ ตั ิงานของชุดปฏิบัติการฉกุ เฉินระดับต้น(BLS) ถ้าพนักงานฉกุ เฉนิ การแพทยไ์ ด้รบั

แจ้งเหตุเป็นผปู้ ว่ ยไมร่ ู้สึกตวั ให้ทาการประสานขอการสนบั สนนุ จากชุดปฏบิ ตั กิ ารระดับสูงเสมอ และ ในระหว่างรอการสนับสนนุ จากชุดปฏบิ ตั ิการในระดับสงู ใหพ้ นกั งานฉุกเฉนิ การแพทย์ ปฏบิ ัติดงั นี้

หลักการในการประเมินผู้ป่วยฉุกเฉินทางอายุรกรรม สามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ ตาม ระดับความรุนแรงของการเจ็บป่วย ซ่ึงได้ข้อมูลจากการประเมินเบื้องต้น (primary assessment) ดังน้ี

1. ผู้ป่วยท่ีรู้สึกตัวดีและทราบประวัติการเจ็บป่วยท่ีชัดเจน (responsive medical patient)

2. ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว สับสนหรือไม่สามารถบอกอาการนาของการเจ็บป่วยได้ (unresponsive medical patient/unknown history)

กรณผี ู้ป่วยรสู้ ึกตวั และทราบประวัติการเจบ็ ป่วยทช่ี ัดเจน ในผู้ป่วยทางอายุรกรรมในกรณีผู้ป่วยรู้สึกตัวและทราบประวัติการเจ็บป่วยที่ชัดเจน ควรให้

ความสาคัญกับการซักประวัติ โดยเฉพาะอาการสาคัญท่ีผู้ป่วยหรือญาติบอก และให้ทาการตรวจ ร่างกายในสว่ นท่ีผปู้ ว่ ย มอี าการ รวมทงั้ ตรวจวัดสัญญาณชพี และการตรวจพเิ ศษเพิม่ เตมิ ดังน้ี

2.1 ซกั ประวตั ิ “SAMPLE” 2.2 ตรวจร่างกายในส่วนทมี่ ีอาการ (Focused medical assessment) 2.3 Baseline Vital signs 2.4 การตรวจพเิ ศษเพิ่มเติมที่เกยี่ วข้อง

กรณผี ้ปู ว่ ยไมร่ ู้สึกตวั สบั สน หรอื ไมส่ ามารถบอกอาการนาของการเจบ็ ป่วยได้

การประเมินให้ปฏบิ ัติเชน่ เดยี วกับผปู้ ่วยฉกุ เฉนิ ท่ไี ดร้ ับอบุ ัติเหตุ(Trauma) รว่ มกบั การค้นหา สาเหตขุ องการไม่รู้สึกตวั ท่ีอาจเปน็ ไปได้ ดงั นี้

1.1 ตรวจร่างกายตามระบบ (Rapid Physical Exam Head to toe) : Head, neck, chest, abdomen, pelvis, extremities, posterior โดยใชห้ ลกั DCAP-BTLS เชน่ เดยี วกบั ผู้บาดเจบ็

1.2 ตรวจวัดสญั ญาณชีพ (Baseline vital sign) 1.3 ตรวจพิเศษท่จี าเปน็ ตามข้อมูลปัญหาของผูป้ ่วย เช่น เจาะเลอื ดตรวจระดบั นา้ ตาลใน

เลือด วัดค่าความอ่ิมออกซิเจนตามชพี จร 1.4 ซักประวัติ (Focused history) จากญาต,ิ ผพู้ บเห็น,เพ่ือน (ถ้าม)ี

เอกสารอ้างอิง

186

Mick JS. Mosby’s paramedic textbook. 4thed. Burlington: Ascend learning company; 2012

Sinclair community college. Paramedic nurse practical skill. Dayton OH: United states

of America; 2016

187

หนว่ ยการเรียนท่ี 4 การช่วยฟื้นคืนชพี ข้ันพนื้ ฐาน

บทท่ี 4-1 การช่วยฟ้นื คืนชพี ขั้นพืน้ ฐาน

คนปกตมิ ีชวี ิตอยู่ได้ดว้ ยระบบสาคัญ2ระบบคือ ระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต ระบบ หายใจมีปอดเป็นอวัยวะสาคัญที่จะทางานโดยหายใจเอาอากาศจากอากาศภายนอกท่ีมีออกซิเจนสูง

188

ประมาณ 21% ผ่านจมูกและหลอดลมเข้าไปในปอดแล้วหายใจเอาอากาศท่ีมีคาร์บอนไดออกไซด์ สูงขึ้นจากในปอดผา่ นหลอดลมและจมกู ออกมาสู่ภายนอก

ระบบไหลเวียนโลหิตมีหัวใจเป็นอวัยวะสาคัญทางานโดยหัวใจจะสูบฉีดเลือดที่รับออกซิเจน จากปอดไปเล้ียงเซลล์ต่างๆของร่างกายเช่น สมอง ลาตัว แขนขา แล้วรับคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็น ของเสียจากการทางานของเซลลม์ าทปี่ อดเพอื่ ให้ระบบหายใจนาออกนอกรา่ งกายโดยการหายใจออก

ภาวะหยุดหายใจเกิดขึ้นได้จากหลายเหตุเชน่ ส่ิงแปลกปลอมอดุ กั้นทางเดินหายใจ จมน้า สูด ดมควันเข้าไปมากได้รับยาเกินขนาด ไฟฟ้าดูด อยู่ในที่ไม่มีอากาศหายใจ ได้รับบาดเจ็บ กล้ามเนื้อ หัวใจตายเฉยี บพลัน ฟ้าผา่ เปน็ ตน้

ภาวะหัวใจหยุดเต้น หมายถงึ ภาวะทก่ี ารไหลเวียนโลหิตหยุดการทางานลงอย่างสนิ้ เชิง ซ่ึงจะ แสดงอาการให้ทราบ เช่น หมดสติ ไม่มีการเคล่ือนไหว ไม่มีอาการไอ ไม่มีชีพจร ไม่หายใจ ตามปกติ ภาวะหัวใจหยุดเต้นเกิดข้ึนจากสาเหตุหลายอย่างเช่น ภาวะกล้ามเน้ือหัวใจตายเฉียบพลันจากหลอด เลือดหัวใจตบี หรือทเ่ี รยี กกนั วา่ หวั ใจวายหรืออาจเกดิ ข้นึ ตามหลงั ภาวะหยุดหายใจ

คนที่หยุดหายใจและหัวใจหยุดเต้นหากมีใครสักคนรีบทาการช่วยชีวิตขั้นพ้ืนฐาน (Basic Life Support) ตามหลักการที่ถูกต้องก็จะทาให้เกิดการแลกเปล่ียนออกซิเจนท่ีปอดและมีการ ไหลเวยี นนาออกซิเจนไปเลี้ยงสมองเพยี งพอที่จะทาให้สมองยังทางานต่อไปได้ โดยไม่เกิดภาวะสมอง ตาย ก็จะทาให้มีโอกาสที่จะกลับฟ้ืนขึ้นมามีชีวิตปกตไิ ด้ ท้ังนี้การชว่ ยฟืน้ คืนชพี ขั้นพน้ื ฐานน้ันจะส่งผล ดี จะตอ้ งทาภายใน 4 นาทแี รกท่หี ยดุ หายใจและหัวใจหยดุ เตน้ ซงึ่ ขน้ั ตอนการช่วยเหลอื ได้ถกู รวบรวม จดั เป็นกลมุ่ และลาดบั ขัน้ ตอนการช่วยเหลือ เปน็ chain of survival ดังนี้

ห่วงโซ่ของการรอดชีวติ นอกโรงพยาบาล (Out-of-hospital chain of survival) 1. วินิจฉัยภาวะหัวใจหยดุ เต้นใหเ้ ร็ว และตามทีมชว่ ยชวี ติ ใหไ้ ด้ในระยะเวลาที่รวดเร็ว 2. เรม่ิ ทาการชว่ ยชวี ิตโดยการนวดหัวใจ 3. ทาการชอ็ คไฟฟา้ ตามขอ้ บ่งชอ้ี ย่างรวดเร็ว 4. ทาการชว่ ยชีวติ ขน้ั สูงอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 5. ใหก้ ารดูแลรักษาผปู้ ว่ ยหลงั จากหวั ใจหยดุ เตน้ อย่างเหมาะสม

ขนั้ ตอนการชว่ ยฟ้นื คนื ชีพข้ันพืน้ ฐาน (สาหรบั บุคลากรทางการแพทย)์

189

ก่อนทาการประเมนิ และช่วยเหลอื ผ้ปู ่วยฉกุ เฉนิ จะตอ้ งประเมนิ ความปลอดภยั ของสถานท่ี เกดิ เหตุ สภาพแวดล้อมตอ้ งปลอดภัยทั้งตอ่ ผชู้ ่วยเหลือและผู้ป่วยฉกุ เฉนิ โดยมลี าดบั และขั้นตอนการ ปฏบิ ัติ ดงั นี้

ทีม่ า : ……………………………….

1.ประเมนิ ผปู้ ว่ ยฉุกเฉนิ และเรียกขอความช่วยเหลืออย่างทันทว่ งที กรณีผู้พบเหตุเป็นประชาชนทั่วไป เมื่อสถานการณ์ปลอดภัยแล้ว เข้าทาการประเมินระดับ

ความรู้สึกตัวของผู้ป่วย(Level of consciousness)โดยการเรียกผู้ป่วยด้วยเสียงดังๆ ร่วมกับ การ ปลุกบรเิ วณไหล่ผปู้ ่วย ดวู ่าผู้ปว่ ยมีการตอบสนองหรือไม่ หากพบว่าผู้ป่วยไม่มีการตอบสนองใดๆ ให้ เรม่ิ ตามทมี ช่วยเหลือ และทาการช่วยชีวติ ผปู้ ่วยทนั ที

สาหรับบุคลากรทางการแพทย์ นอกจากประเมินดังกล่าวแล้ว อาจต้องพิจารณาว่าผู้ป่วยไม่ หายใจ หรือหายใจผิดปกตริ ว่ มด้วยหรือไม่ ซ่ึงจะตอ้ งใชเ้ วลาไม่นาน หากผู้ปว่ ยไม่ตอบสนองร่วมกบั ไม่ หายใจหรือหายใจผิดปกติ ให้ถอื ว่ามีภาวะ cardiac arrest ใหต้ ามทมี ช่วยเหลือพรอ้ มขอเครื่องกระตกุ ไฟฟา้ หวั ใจอัตโนมัติ (AED) 2.คลาชีพจร

สาหรับประชาชนท่ัวไป ไม่แนะนาให้ทาให้คลาชีพจร กล่าวคือ เมื่อประเมินพบว่าผู้ป่วยไม่ ตอบสนอง ไมห่ ายใจหรือหายใจเฮือกใหท้ าการกดหน้าอกทันที พรอ้ มตามทีมช่วยเหลอื และให้ทาการ กดหน้าอกไปเรอื่ ยๆ จนกว่าทีมชว่ ยชีวติ มาถงึ และทาการดูแลตอ่

สาหรบั บุคลากรทางการแพทย์ ใหค้ ลาชพี จรทบี่ ริเวณลาคอ (carotid pulse) และตรวจการ หายใจไปพร้อมกัน โดยใชเ้ วลาไม่เกิน 10 วนิ าที หากผู้ประเมินไมม่ ่ันใจวา่ ผู้ป่วยมีชีพจรหรือไม่ ให้ทา การกดหน้าอกในทันที

190

3.ทาการกดหน้าอก หลงั การคลาชพี จรตามขัน้ ตอนท่ี 2 พบวา่ ผู้ปว่ ยไม่มีชพี จร ใหท้ าการกดหน้าอกทันที ดงั น้ี

  1. จดั ผปู้ ว่ ยให้อยู่ในทา่ นอนหงายบนพื้นผิวที่แขง็ ในสถานที่ปลอดภยั
  2. ผู้ช่วยเหลือคุกเขา่ อยูท่ างด้านขา้ งของผู้ปว่ ย
  3. วางส้นมือข้างหน่ึง บริเวณคร่ึงล่างของกระดูกหน้าอก และวางมืออีกข้างหน่ึงทาบหรือ ประสานลงไป แล้วออกแรงกดหน้าอก ให้แขนดงึ ตรงในลกั ษณะตงั้ ฉากกับลาตวั ผปู้ ว่ ย ซึ่งการกดหน้าอกให้มีประสิทธิภาพน้ัน จะทาให้มีการเพิ่มข้ึนของความดันภายในช่อง ทรวงอกและเพ่ิมแรงดันท่ีหัวใจโดยตรง ส่งผลทาให้เกิดการไหลเวียนโลหิตและขนส่ง ออกซเิ จนไปยังบริเวณกลา้ มเนอ้ื หัวใจและสมอง

การกดหน้าอกท่มี ีประสทิ ธภิ าพ การกดหน้าอกที่มีประสิทธิภาพ จะทาให้เพ่ิมการไหลเวียนโลหิตในขณะทาการช่วยฟ้ืนคืน

ชพี ดังน้ี 3.1 การกดหน้าอกต้องแรงและเร็ว โดยกดหน้าอกให้ลึก 2นิ้ว (5 เซนติเมตร) แต่ไม่เกิน 2.4

นิ้ว (6 เซนติเมตร) กดอย่างต่อเน่ืองที่อัตราเร็ว 100-120 ครั้ง/นาที ให้หน้าอกคืนตัว (fully chest recoil ) ปล่อยให้มีการขยายของทรวงอกกลับคืนจนสุด เพื่อให้หัวใจรับเลือดสาหรับการสูบฉีดครั้ง ตอ่ ไป ซ่งึ พบว่าการกดหนา้ อกทไ่ี มป่ ล่อยใหท้ รวงอกกลับคนื จนสุด จะทาให้เกดิ การเพิ่มข้ึนของแรงดัน

191

ในทรวงอก ส่งผลให้ลดปริมาณเลือดที่ไปเล้ียงกล้ามเนื้อหัวใจ สมองและหลอดเลือดส่วนต่างๆของ ร่างกาย

3.2 รบกวนการกดหนา้ อกใหน้ ้อยทส่ี ุด โดยสามารถหยุดการกดหน้าอกไดไ้ ม่เกิน 10 วนิ าที ในกรณตี อ่ ไปน้ี

- การคลาชพี จร - ช็อกไฟฟา้ 3.3 ทาการกดหน้าอก 30 ครัง้ สลับกับการชว่ ยหายใจ 2 ครัง้ ในผู้ใหญ่ จนกว่าจะมีการใส่ อุปกรณ์เปิดทางเดินหายใจขั้นสูง เช่น ท่อช่วยหายใจ หลังจากใส่ท่อช่วยหายใจเรียบร้อยแล้วให้ เปลี่ยนวิธีการช่วยหายใจ เปน็ ชว่ ยหายใจ 1 คร้ังทุก 6 วินาที (10 ครั้ง/นาที) โดยไม่ต้องสัมพันธ์ กับการกดหน้าอกควรเพิ่มความระมัดระวังการรบกวนการกดหน้าอกและหลีกเลี่ยงการช่วยหายใจท่ี มากเกนิ ไป กรณมี ผี ชู้ ่วยเหลอื 2 คน แนะนาใหม้ ีการสลบั หน้าที่ในการกดหนา้ อกทุก 2 นาที หรือ หลังจากครบ 5 รอบของการกดหนา้ อกต่อการช่วยหายใจ ในอตั รา 30:2 4.เปดิ ทางเดินหายใจ ทาการเปิดทางเดินหายใจ โดยวธิ ี Head Tilt-Chin Lift หรือวิธี Jaw thrust (ดูวธิ กี ารเปดิ ทางเดนิ หายใจในบทที่ ………. …………………. 5. ช่วยหายใจ จุดประสงค์หลกั ในการช่วยหายใจคือ เพอ่ื รักษาระดับออกซเิ จนใหเ้ พยี งพอและขับกา๊ ซ คารบ์ อนไดออกไซดอ์ อก ในผปู้ ว่ ยท่ีมีภาวะหวั ใจหยุดเตน้ มีวธิ ใี นการชว่ ยหายใจ ดงั นี้ 5.1. การช่วยหายใจด้วยวิธี Mouth to Mask

รปู ที่ 3-1-6 การชว่ ยหายใจแบบ Mouth to Mask วธิ ีปฏิบัตใิ นการช่วยหายใจแบบ Mouth to Mask โดยการใช้ Pocket mask

  1. ครอบหนา้ กาก (Mask) ลงบนปากและจมูก โดยให้สันจมูกเป็น guide เลอื กขนาดให้ พอเหมาะ เพือ่ ปอ้ งกนั ลมรั่วขณะเปา่ ชว่ ยหายใจ
  2. ปอ้ งกันลมร่วั ออกโดยใช้โคนน้วิ หัวแมม่ อื ประกบ 2 ดา้ น แลว้ กดลงไปท่ีขอบของ Maskให้ แน่น
  3. ใชน้ ิว้ ชีว้ างบนขอบของ Mask ทคี่ รอบอย่บู นคาง ส่วนนิ้วอนื่ ๆ เก่ยี วกระดกู ขากรรไกรทงั้ 2 ข้าง ยกขากรรไกรลา่ งขน้ึ แลว้ จัดให้ศรี ษะแหงนไปดา้ นหลงั

192

  1. ช่วยหายใจโดยการเป่าลมผ่านทางหน้ากาก จนหน้าอกผู้ป่วยยกข้ึน ใช้เวลาประมาณ 1 วินาที รอจนหน้าอกยุบลงและเป่าปากอีก 1 คร้ัง หากมีการอุดตันทางเดินหายใจ จะไม่ สามารถเป่าลมเข้าไปได้ ต้องทาทางเดินหายใจให้โล่งก่อนวิธีตรวจสอบว่าลมท่ีเป่าเพียงพอหรือไม่ โดยให้สังเกตการขยับข้ึนลงของทรวงอก ขณะทาการเป่าหากมีการขยับขึ้นลงของทรวงอก แสดงว่า ปริมาตรอากาศท่ีเข้าไปเพียงพอ ซ่ึงการช่วยหายใจท่ีมากเกินไป อาจทาให้เกิดผล เสียได้กล่าวคือ ทาให้กระเพาะอาหารมีการโป่งพองมากข้ึนจากอากาศที่ช่วยหายใจเข้าไป และอาจเกิดอาการสูดสาลักเศษอาหารเข้าสู่ปอดได้ และท่สี าคญั คือทาให้ความดันในชอ่ งอก เพิ่มขึ้น ปริมาณเลือดที่จะไหลกลับเข้ามายังหัวใจลดลง ส่งผลให้เลือดที่จะถูกบีบออกจาก หัวใจไปยังอวยั วะตา่ งๆ ลดลงตามไปดว้ ย

5.2. การช่วยหายใจดว้ ย Self Inflating Bag เปน็ วิธีการช่วยหายใจท่บี คุ ลากรทางการแพทย์หรือเจา้ หนา้ ท่ีกู้ชพี ใช้ช่วยหายใจบ่อย

รปู ท่ี ……….

แสดงสว่ นประกอบต่างของ Self Inflating Bag

การใช้ Self Inflating Bag

กรณผี ชู้ ว่ ยเหลอื คนเดียว 6. ผู้ทาการชว่ ยหายใจอยูเ่ หนอื ศีรษะผูป้ ว่ ย 7. เปดิ ทางเดนิ หายใจด้วยวธิ ี jaw thrust กรณผี ูป้ ว่ ยมีอาการบาดเจ็บบรเิ วณกระดูก

ตน้ คอ หรือ head tilt – chin lift กรณไี ม่มีการบาดเจ็บทกี่ ระดูกตน้ คอ 8. ครอบ Mask บนปากและจมกู ผปู้ ่วยโดยให้สว่ นแหลมอยูด่ ้านจมูก 9. วางหัวแม่มอื และนิว้ ช้ีรอบ mask ดา้ นบน น้ิวทเี่ หลือยกขากรรไกรลา่ งขนึ้ เปน็ รปู

ตัว EC clamp technique 10. มอื ข้างท่เี หลอื บีบ Self Inflating Bag ชา้ ๆ ครงั้ ละ 1 วนิ าที ควรสงั เกตการ

เคล่อื นไหวของทรวงอก (chest rise) ขณะช่วยหายใจ

กรณีผชู้ ่วยเหลอื 2 คน

  1. ผูช้ ว่ ยเหลือคนท่ี 1 ใช้ มือทัง้ สองข้าง จับ mask โดยใชห้ ัววางหัวแม่มือและนว้ิ ชีร้ อบ

mask ดา้ นบน นวิ้ ท่เี หลือยกขากรรไกรล่างขึ้น เป็นรปู ตัว EC clamp technique

193

  1. ผ้ชู ่วยเหลอื คนท่ี 2 บีบ Self Inflating Bag โดยใช้มือท้ังสองขา้ งบีบ bag ช้าๆ ครั้งละ 1 วนิ าที ควรสังเกตการเคลื่อนไหวของทรวงอก (chest rise) ขณะช่วยหายใจ

ขอ้ ควรระวังกรณบี บี Self Inflating Bag แลว้ หนา้ อกไม่ขยับขนึ้ ลงตามจงั หวะการบบี Self Inflating Bag

- ถา้ สงั เกตเหน็ หนา้ ทอ้ งขยบั ข้ึนลง โดยท่ีทรวงอกไม่ขยับ ใหต้ รวจสอบการเปดิ ทางเดนิ หายใจหรือการยกขากรรไกรลา่ ง

- ตรวจสอบการอุดกนั้ ทางเดินหายใจ - กรณที ่ีมลี มรั่วออกข้าง Mask ขณะบบี Self Inflating Bag ใหต้ รวจสอบการจบั

Mask ใหม่วา่ แนบสนทิ กบั หนา้ ผปู้ ว่ ยหรอื ยัง - อาจใช้ Oropharyngeal airway ร่วมด้วย - อาจเปลย่ี นมาใช้ Pocket mask กรณสี งสัยวา่ มีอาการบาดเจ็บท่กี ระดูกคอ เช่น การตกจากท่สี ูงหรืออบุ ตั เิ หตุจราจร ผู้ช่วยเหลอื ต้อง ตรงึ ศีรษะผปู้ ว่ ยใหอ้ ยูก่ ับท(่ี immobilization) หรือใส่ Cervical Hard collarและเปดิ ทางเดิน หายใจแบบ jaw thrust

รูปท…่ี …………แสดง เทคนิคการจับ Self Inflating Bag

6. ทาการช็อกไฟฟา้ ด้วยเครอื่ งชอ็ คไฟฟ้าหัวใจแบบอัตโนมัติ (Automated External Defibrillation :AED)

ชนดิ ของ Automated External Defibrillation

1.1 Fully autometed เปน็ เคร่อื ง Defibrillator ท่ที างานโดยไมต่ ้องควบคุม โดยผู้ใช้

เพยี งแตเ่ ปิดสวิทซ์เทา่ นัน้ กส็ ามารถใชง้ านไดท้ นั ที

194

1.2 Semi-automated เป็นเครือ่ ง defibrillator ท่ใี ชเ้ สียงสงั เคราะห์จากคอมพวิ เตอร์ใน การแนะนา ตามทไ่ี ดว้ ิเคราะหจ์ งั หวะการเต้นของหัวใจผูป้ ว่ ย ขั้นตอนการใชเ้ ครอื่ งช็อกไฟฟ้าหัวใจแบบอตั โนมตั ิ (Automated External Defibrillator: AED)

ขัน้ ตอนการใช้เครื่องชอ็ กไฟฟ้าหวั ใจแบบอัตโนมัติ ซึ่งเป็นที่ยอมรบั กันเปน็ สากล (universal steps ) ใหป้ ฏบิ ตั ติ าม 4 ขั้นตอน ดงั ตอ่ ไปนี้

1. เปิดสวิทซ์เคร่ือง AED (Power on the AED) ซึ่งอาจเป็นการเปิดฝาเคร่ืองหรือกดปุ่ม เปิดสวิทซ์ onแล้วแต่รุ่นของเครื่อง AED หลังจากนั้นจะมีคาสั่งใช้เครื่องในข้ันตอน ตอ่ ๆไป ซ่งึ สามารถทาตามคาสั่งทีไ่ ด้มีการตงั้ โปรแกรมไว้ในเคร่ืองได้

2. ตดิ แผ่นชอ็ กไฟฟ้า (Attach AED pads) บนผนงั ทรวงอกผปู้ ว่ ย ขณะท่เี พือ่ นในทีมทาการ CPR ผู้ป่วย อยา่ งต่อเนื่อง  แผ่นชอ็ กจะมีสติ๊กเกอร์ตดิ อยู่ ให้ลอกสต๊ิกเกอรอ์ อกแลว้ ตดิ แผน่ บนผวิ ทรวงอกผูป้ ่วย  ตาแหน่งในการติดแผ่น แผ่นแรกติดบนหน้าอกด้านขวาบน แผ่นที่สอง ติดบริเวณ ดา้ นขา้ งซา้ ยใตร้ าวนม  ต่อสายแผน่ ช็อกไฟฟา้ เข้ากับเครื่อง AED

3. รอให้เครื่องทาการวิเคราะห์จังหวะการ เตน้ ของหวั ใจ (“clear” and analyze the rhythm) หากจาเปน็ ตอ้ งทาการชอ็ กไฟฟา้ เครื่องจะสั่งให้ทุกคนถอย ออกห่างจากผู้ป่วย และเตรียมทาการช็อก เคร่ืองจะทาการ ประจุไฟฟ้าเองโดยอัตโนมัติ

ทาการ กดชอ็ ค (Shock) เม่อื เครอ่ื ง วิเคราะหแ์ ละแนะนาใหท้ าการช็อค(แสดงว่าเป็น shockable rhythm)

195

4. จะมีสญั ญาณไฟกระพริบตรงปมุ่ “shock” ซ่งึ จะแสดงถงึ พร้อมสาหรับการชอ็ ค ใหผ้ ้ทู า การชว่ ยเหลอื กดปุม่ “Shock”เพื่อปล่อยพลังงานสผู่ ้ปู ่วย หลงั การกดชอ็ คไฟฟ้า ให้ กลบั มาทาการกดหนา้ อกตอ่ ทนั ที

- กรณที ่เี คร่อื งวิเคราะหว์ า่ ไม่ต้องช็อกไฟฟา้ ใหเ้ รม่ิ ทาการกดหน้าอกต่อทนั ที (แสดงว่า เป็น non shockable rhythm)

- หลังทา CPR ครบ 5 รอบ หรือประมาณ 2 นาที ในชว่ งเวลาทีก่ ลบั มาประเมินผูป้ ่วย เครือ่ งจะทาการวเิ คราะห์จงั หวะการเต้นของหัวใจซา้ โดยอัตโนมัติ หากเครื่องให้ช็อก ไฟฟา้ ก็ให้กลบั มาทาตามข้นั ตอนที่ 3 และ 4 หากไม่ตอ้ งช็อคไฟฟ้า ให้เรมิ่ ทา CPR ทันที

ข้อควรระวังในการใช้ pads 1.กรณีผู้ป่วยมีขนหน้าอกหนา ให้ลองแปะแผ่นช็อกไฟฟา้ แล้วกดให้แน่นท่ีสุด แต่หากเครื่อง

เตือนว่า “shock pads” หรือ “shock electrodes” ให้รีบดึงแผ่นออกแล้วโกนขนหน้าอกบางส่วน แล้วแปะแผ่นใหม่ให้แนบผิวหนังผู้ป่วย แต่ถ้าเครื่องยังเตือนอยู่ อาจต้องโกนขนหน้าอกเพิ่มและ พิจารณาเปลี่ยนแผ่นช็อกไฟฟ้าอันใหม่ ถา้ บนแผ่นมีขนผู้ป่วยตดิ อยู่

2. กรณีผู้ป่วยอยู่ในน้า ให้นาผู้ป่วยข้ึนจากน้า เช็ดตัวผู้ป่วยให้แห้งโดยเฉพาะบริเวณหน้าอก กอ่ นทาการแปะแผน่ AED เนอื่ งจากนา้ เปน็ ตัวนาไฟฟา้ ทีด่ ี จงึ ห้ามใช้ AED ในน้า แต่ถ้าผู้ป่วยนอนอยู่ บนหิมะ บนทราย หรือโคลนท่ีชืน้ แฉะ หรือบริเวณที่มีน้าขังเล็กน้อย อาจใช้ AEDหลังจากเช็ดหน้า อกใหแ้ ห้งอย่างรวดเร็ว

3.กรณที ่ผี ูป้ ่วยมกี ารฝงั เครือ่ งช็อกไฟฟา้ หวั ใจ (ICD) หรือ เครื่องกระตนุ้ หวั ใจ (pacemaker) ควรหลกี เล่ยี งการตดิ pads ลงบนตาแหน่งของเครอ่ื งทฝ่ี งั

4.กรณีผ้ปู ่วยมแี ผน่ transdermal medication patch เชน่ nitroglycerin patch อยู่ ก่อนใหด้ งึ patch ออกใชผ้ ้าเชด็ ทาความสะอาด และแปะแผน่ ช็อก AED อยา่ งรวดเรว็ การจัดทา่ พักฟื้น (Recovery Position)

ภายหลงั ทาการช่วยฟนื้ คนื ชพี แลว้ หากประเมินพบว่าผปู้ ่วยกลบั มามีชีพจร และหายใจเองได้ ในผ้ปู ่วยฉุกเฉนิ ที่ไม่ไดม้ ีสาเหตจุ ากอุบตั ิเหตุ ใหจ้ ัดท่าท่าพกั ฟนื้ โดยมีขัน้ ตอนการปฏิบัตดิ ังน้ี

196

ขนั้ ตอนปฏบิ ัตใิ นการจดั ท่าพักฟน้ื (1) ยกแขนผู้ป่วยด้านใกลต้ ัวผูช้ ว่ ยเหลือขึน้ วางเหนอื ศีรษะผูป้ ่วย ใหง้ อแขนอยู่ ในลกั ษณะตั้งฉาก (2) ผชู้ ่วยเหลอื ใชม้ ือข้างทีอ่ ยดู่ ้านศรี ษะผูป้ ว่ ย จับบริเวณไหลผ่ ปู้ ว่ ยดา้ นไกลตวั มืออีกข้างจบั บรเิ วณเขา่ ของผูป้ ว่ ยแลว้ ไขว้ขาข้างใกล้ตวั (3) ออกแรงดึงผูป้ ่วยเข้าหาตวั ผชู้ ่วยเหลือ โดยใหศ้ รี ษะ ลาตวั และไหล่ของ ผู้ปว่ ยจะต้องเคลอื่ นไปพร้อมกนั โดยไมบ่ ดิ หรอื เอี้ยวตัว (4) เมื่อพลกิ ตวั ผปู้ ่วยแล้ว ขาด้านลา่ งของผ้ปู ่วยอยูใ่ นลักษณะเหยยี ดตรง ขา ดา้ นบนอยใู่ นลักษณะงอเขา่ และใหจ้ ดั ศรี ษะใหอ้ ยู่ตรงกลางมากที่สุด (5) จดั วางมือผปู้ ่วยข้างที่อยดู่ ้านบนไวข้ า้ งๆใบหนา้ ให้ฝา่ มืออย่บู ริเวณปาก และแก้มของผปู้ ว่ ย

รูป …………….แสดง การจดั ท่าพักฟนื้

197

บทสรปุ ขององค์ประกอบของการนวดหวั ใจผายปอดกู้ชพี ทมี่ ีคุณภาพสงู สาหรับผู้ใหก้ ารชว่ ยชีวติ ขน้ั พ้ืนฐาน