กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ สรุป pdf

Download สรุปหลักกฎหมายแพ่งและพาณิชย์.pdf...

1

สรุปหลักกฎหมายแพงและพาณิชย หลักทั่วไปเกี่ยวกับสิทธิและการใชสิทธิ 1.ในการใชสิทธิแหงตนก็ดี ในการชําระหนี้ก็ดี บุคคลทุกคนตองกระทําโดยสุจริต (มาตรา 5) 2. ถามิไดกําหนดดอกเบี้ยไว ใหใชอัตรารอยละเจ็ดครึ่งตอป (มาตรา 7) 3. ลายพิมพนิ้วมือ แกงได หรือเครื่องหมายอื่นทํานองเชนวานี้ก็ดี ทําลงในเอกสาร ถาไมไดทําตอหนาพนักงาน เจาหนาที่ หากมีพยานลงลายมือชื่อรับรอง 2 คนแลว เสมอกับลงลายมือชื่อ (มาตรา 9) 4. การลงจํานวนเงินในเอกสารดวยตัวอักษรและตัวเลข ถาไมตรงกันและมิอาจทราบเจตนาที่แทจริงได ใหใช จํานวนเงินที่เขียนเปนตัวอักษรเปนประมาณ ถาไมตรงกันหลายแหง ใหเอาจํานวนเงินหรือปริมาณนอยที่สุดเปน ประมาณ (มาตรา 12 , 13 ) 5. ถาเอกสารทําไวสองภาษา เปนภาษาไทยภาษาหนึ่งดวย หากมีความแตกตางกันและไมอาจทราบเจตนาของ คูกรณีไดวาจะใหใชภาษาใดบังคับ ใหใชภาษาไทยบังคับ (มาตรา 14) บุคคล ☺ บุคคลธรรมดา สภาพบุคคล ยอมเริ่มแตเมื่อคลอด การคลอดนั้นหมายถึง การที่ทารกออกมาจากครรภมารดาหมดทั้งตัวแลว แมจะยังไมตัดสายสะดือ และตองรอดอยูดวย แมเพียงชั่วระยะเวลานิดเดียวก็มีสิทธิตางๆ ในทรัพยสินยอนไปตั้งแตวัน แรกที่ปฏิสนธิในครรภมารดก เชน อาจรับมรดกของบิดาซึ่งตายกอนเด็กคลอดได เปนตน (มาตรา 15) ภูมิลําเนาของบุคคล มีหลักตามกฎหมายดังนี้ 1. ภูมิลําเนาของบุคคลธรรมดา ไดแก ถิ่นอันบุคคลนั้นมีสถานที่อยูเปนหลักแหลงสําคัญ (ม.37) 2. ถาบุคคลมีถิ่นที่อยูหลายแหงสับเปลี่ยนกัน หรือมีแหลงที่ทํามาหากินเปนปกติหลายแหง ก็ใหถือเอาแหงใด แหงหนึ่งเปนภูมิลําเนาของบุคคลนั้น (ม. 38) 3. ถาภูมิลําเนาไมปรากฏ ใหถือวาถิ่นที่อยูเปนภูมิลําเนา (ม.39) 4. ถาไมมีถิ่นที่อยูเปนปกติ หรือไมมีที่ทําการงานเปนหลักแหลง ถาพบตัวในถิ่นไหนก็ใหถือวาถิ่นนั้นเปน ภูมิลําเนา (ม. 40) 5. บุคคลอาจแสดงเจตนากําหนดภูมิลําเนา ณ ถิ่นใดเพื่อกระทําการใด ก็ถือวาถิ่นนั้นเปนภูมิลําเนาเฉพาะการ นั้น (ม. 42) 6. ภูมิลําเนาของบุคคลบางประเภท เชน ผูเยาว หรือผูไรความสามารถ กฎหมายใหใชภูมิลําเนาของผูแทนโดย ชอบธรรมหรือของผูอนุบาล (ม.44,45) 7. ขาราชการ ภูมิลําเนาไดแกถิ่นที่ทํางานตามตําแหนงหนาที่อยูประจํา ถาเปนเพียงแตไดรับคําสั่งใหไปชวย ราชการชั่วคราวไมถือวาที่นั้นเปนภูมิลําเนา (ม. 46) 8. ผูที่ถูกจําคุกตามคําพิพากษาถึงที่สุดหรือตามคําสั่งโดยชอบดวยกฎหมาย ภูมิลําเนาไดแก เรือนจําหรือทัณฑ สถานที่ถูกจําคุกอยู จนกวาจะไดรับการปลอยตัว (ม. 47) *** การเปลี่ยนภูมิลําเนากระทําไดโดยการแสดงเจตนาวาจงใจจะเปลี่ยนภูมิลําเนาและยายถิ่นที่อยู (ม. 41) ความสามารถของบุคคล

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

2 บรรลุนิติภาวะเมื่ออายุครบ 20 ปบริบูรณ (ม. 19) ทําการสมรสโดยชอบดวยกฎหมาย (ม.20) สมรสเมื่อชายและหญิงมีอายุ 17ปบริบูรณ หรือ เมื่อศาลอนุญาตใหทําการสมรส (ม. 1448) จําไววา “บรรลุแลวบรรลุเลย” ผูเยาวจะทํานิติกรรมใดๆ ตองไดรับความยินยอมของ “ผูแทนโดยชอบธรรม” กอน มิฉะนั้นนิติกรรมนั้นๆ เปน โมฆียะ คืออาจถูกบอกลางไดในภายหลัง (ม.21) ผูเยาวอาจทํานิติกรรมที่สมบูรณไดเอง โดยไมตองขอความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม คือ 1. ทําพินัยกรรมไดเมื่อมีอายุ 15 ปบริบูรณ (ม.25) 2. นิติกรรมที่เปนประโยชนแกผูเยาวฝายเดียว (ม. 22) เชน รับการใหโดยไมมีขอผูกพัน 3. นิติกรรมที่ตองทําเองเฉพาะตัว (ม. 23) เชน การรับรองบุตร กรณีตาม มาตรา 1548 4. นิติกรรมที่สมควรแกฐานานุรูป และเปนการจําเปนในการดํารงชีพตามควร (ม.24) 5. เมื่อผูเยาวไดรับอนุญาตจากผูแทนโดยชอบธรรมใหประกอบการคา (ม.27) 1. ผูเยาว

2. คนไรความสามารถ คือ คนวิกลจริตที่คูสมรส บุพการี ผูสืบสันดาน ของผูนั้น หรือพนักงานอัยการไดรอง ขอตอศาลใหสั่งใหบุคคลนั้นเปนคนไรความสามารถ (ม. 28) และจัดใหอยูในความอนุบาล นิติกรรมที่คนไรความสาม รถกระทําลงยอมตกเปนโมฆียะทั้งสิ้น แมจะไดรับความยินยอมจาก “ผูอนุบาล” ก็ไมได (ม. 29) สวนคนวิกลจริตที่ศาลยังไมไดสั่งใหเปนคนไรความสามารถ หากไปทํานิติกรรม ยอมตองถือวามีผลสมบูรณ เวนแตวา ไดกระทําในขณะจริตวิกล + คูกรณีอีกฝายหนึ่งไดรูอยูแลว นิติกรรมนั้นจึงตกเปนโมฆียะ (ม.30) 3. คนเสมือนไรความสามารถ คือบุคคลที่ปรากฏวา ไมสามารถจัดทําการงานของตนเองได เพราะมีกายพิการ จิตฟนเฟอน ไมสมประกอบ แตไมถึงขนาดวิกลจริต ประพฤติสุรุยสุราย เสเพลเปนอาจิณ ติดสุรายาเมา เมื่อคูสมรส บุพการี ผูสืบสันดาน หรือพนักงานอัยการรองขอตอศาล ศาลจะสั่งใหบุคคลนั้นเปนคนเสมือนไรความสามารถ โดยให อยูใน “ความพิทักษ” ก็ได (ม. 32)

การสิ้นสภาพบุคคล 1. ตาย (ม.15) 2. สาบสูญ (โดยผลของกฎหมาย) ไดแก 2.1 บุคคลไปจากภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยู โดยไมมีใครทราบวาเปนตายรายดีอยางไรตลอดระยะเวลา 5 ป (ม.61 วรรคแรก) 2.2 บุคคลไปทําการรบหรือสงคราม หรือตกไปอยูในเรือเมื่ออับปราง หรือตกไปในฐานะที่จะเปน ภยันตรายแกชีวิตประการอื่นใด หากนับแตเมื่อภยันตรายประการอื่นๆ ไดผานพนไปแลวนับไดเวลาถึง 2 ป ยังไมมีใคร ทราบวาบุคคลนั้นเปนตายรายดีอยางไร (ม.61 วรรคสอง) ☺ นิติบุคคล เกิดขึ้นตามกฎหมาย เชน 1. ทบวงการเมือง ไดแก กระทรวง ทบวง กรมในรัฐบาล เทศบาลและสุขาภิบาลทั้งหลาย กรมตํารวจ กองทัพบก/เรือ/อากาศ แตกรมในกองทัพนั้นไมเปนนิติบุคคล 2. วัดวาอาราม เฉพาะวัดในพระพุทธศาสนา ที่เรียกกันวาเปนวัดที่ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา สวนถาเปนมัสยิดหรือวัดของศาสนาคริสต ตองจดทะเบียนเปนนิติบุคคลจึงจะเปนเจาของที่ดินได

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

3 3. หางหุนสวนที่จดทะเบียนแลว / บริษัทจํากัด / สมาคม และมูลนิธิ สวนสาขาของนิติบุคคลตางประเทศที่เขา มาประกอบการในประเทศไทยก็เปนนิติบุคคลเชนเดียวกับนิติบุคคลในประเทศนั้น แมนิติบุคคลในตางประเทศนั้นจะมิ ไดมาจดทะเบียนในประเทศไทยก็ตาม เมื่อนิติบุคคลดังกลาวไดเปนนิติบุคคลโดยชอบดวยกฎหมายของประเทศนั้นๆ แลว ทรัพย ☺ ความหมาย “ทรัพย” หมายความวา วัตถุมีรูปราง (ม.137) “ทรัพยสิน” หมายความรวมทั้งทรัพยและวัตถุไมมีรูปราง ซึ่งอาจมีราคาและถือเอาได (ม. 138) ☺ ประเภทของทรัพย 1.อสังหาริมทรัพย คือ ทรัพยที่เคลื่อนที่ไมได เชน 1.1 ที่ดิน หมายถึง พื้นแผนดิน รวมตลอดถึง ภูเขา เกาะ และที่ชายทะเลดวย 1.2 ทรัพยที่ติดกับที่ดินมีลักษณะเปนการถาวร 1.3 ทรัพยซึ่งประกอบเปนอันเดียวกับที่ดิน 1.4 สิทธิอันเกี่ยวกับ 1.1, 1.2 และ 1.3 อันไดแก สิทธิในกรรมสิทธิ์ (ม.1336), สิทธิครอบครอง (ม. 1367), สิทธิจํานอง, สิทธิเก็บกิน (ม.1417) ภาระจํายอม (ม.1387) เปนตน 2. สังหาริมทรัพย ไดแก 2.1 ทรัพยสินอื่นนอกจากอสังหาริมทรัพย 2.2 สิทธิทั้งหลายอันเกี่ยวกับสังหาริมทรัพย เชน สิทธิจํานอง สิทธิยึดหนวง เปนตน 3. ทรัพยแบงได (ม.141) ไดแกทรัพยอันอาจแยกออกจากกันเปนสวนๆ ได โดยยังคงสภาพเดิมอยู 4. ทรัพยแบงไมได (ม.142) ไดแก 4.1 ทรัพยท่ไี มอาจแยกออกจากกันไดโดยสภาพ เชน บาน โตะ เกาอี้ เปนตน 4.2 ทรัพยที่กฎหมายถือวาแบงไมได เชน หุนของบริษัท สวนควบของทรัพย เปนตน 5. ทรัพยนอกพาณิชย (ม.143) ไดแก 5.1 ทรัพยที่ไมอาจถือเอาได เชน กอนเมฆ ดวงอาทิตย เปนตน 5.2 ทรัพยที่ไมอาจโอนกันไดโดยชอบดวยกฎหมาย เชน ที่ดินธรณีสงฆ ยาเสพติด เปนตน ☺ สวนประกอบของทรัพย 1. สวนควบ (ม.144) ไดแก สวนซึ่งวาโดยสภาพแหงทรัพย หรือโดยจารีตประเพณีแหงทองถิ่น เปนสาระสําคัญ ในความเปนอยูของทรัพยนั้น และไมอาจจะแยกจากกันได นอกจากทําลาย ทําใหบุบสลาย หรือทําใหทรัพยนั้น เปลี่ยนแปลงรูปทรงหรือสภาพไป ขอยกเวนในเรื่องสวนควบมีดังนี้ (ม.145, 146) 1.1 ไมลมลุกหรือธัญชาติ 1.2 ทรัพยอันติดกับที่ดิน หรือโรงเรือนชั่วคราว 1.3 โรงเรือนหรือการปลูกสรางอยางอื่น ซึ่งผูมีสิทธิในที่ดินของผูอื่นไดใชสิทธิปลูกทําลงไว 2. อุปกรณ (ม.147) ไดแก สิ่งที่ใชบํารุงดูแลรักษาทรัพยประธาน และสามารถแยกออกจากทรัพยประธานได โดยไมทําใหเปลี่ยนแปลงรูปทรง ตางจากการเปนสวนควบ

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

4 3. ดอกผล คือ ผลประโยชนที่ไดงอกเงยจากทรัพยสิ่งใดสิ่งหนึ่งนั้นเองโดยสม่ําเสมอ แบงออกเปน 2 ประเภท คือ (ม.148) 3.1 ดอกผลธรรมดา คือ สิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของทรัพยซึ่งไดมาจากตัวทรัพย โดยการมีหรือใช ทรัพยนั้นตามปกตินิยม เชน ผลไม น้ํานม ขนสัตว และลูกของสัตว เปนตน 3.2 ดอกผลนิตินัย ซึ่งเกิดขึ้นโดยผลของกฎหมาย เชน ดอกเบี้ย กําไร คาเชา คาปนผล ฯ บุคคลสิทธิและทรัพยสิทธิ ☺ “บุคคลสิทธิ” คือ สิทธิหรือบุคคลที่จะบังคับใหกระทําการ งดเวนกระทําการหรือสงมอบทรัพยสินให ไดแกสิทธิตางๆ ที่เจาหนี้จะบังคับเอาไดจากลูกหนี้นั่นเอง ☺ “ทรัพยสิทธิ” คือ สิทธิเหนือทรัพยสิน สามารถบังคับไดโดยตรงเอากับตัวทรัพยสินได ทรัพยสิทธิ เกิดขึ้น ไดก็แตอาศัยอํานาจของกฎหมายเทานั้น ไดแก กรรมสิทธิ์ สิทธิอาศัย ภาระจํายอม สิทธิเหนือพื้นดิน สิทธิเก็บกิน และ ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย (ม.1387-1434) เปนตน ☺ การไดมาซึ่งทรัพยสิทธิ 1. ผลของนิติกรรม เชน สัญญาซื้อขาย เปนตน 2. ผลของกฎหมาย ไดแก การครอบครองปรปกษ / การไดรับมรดก / การรับรองลิขสิทธิ์ เปนตน นิติกรรม ☺ หลักเกณฑสําคัญของนิติกรรม (ม.149) 1) ตองมีการแสดงเจตนา 2) ตองกระทําโดยใจสมัคร 3) มุงใหมีผลผูกพันทางกฎหมาย 4) เปนการทําลงโดย ชอบดวยกฎหมาย และ 5) ผูที่ทํานิติกรรมตองมี “ความสามารถ” ในการทํานิติกรรมดวย ☺ ประเภทของนิติกรรม 1. นิติกรรมฝายเดียว เชน การทําพินัยกรรม / การปลดหนี้ (ม.340) / การบอกเลิกสัญญา (ม.386) / โฆษณาจะ ใหรางวัล (ม.362 และ 365) เปนตน นิติกรรมฝายเดียวนี้ มีผลตามกฎหมายแลว แมจะยังไมมีผูรับก็ตาม 2. นิติกรรมหลายฝาย คือ มีฝายที่ทําคําเสนอและอีกฝายทําคําสนอง เมื่อคําเสนอและคําสนองตรงกัน ก็เกิด สัญญา เชน สัญญาซื้อขาย / สัญญาเชา / สัญญาค้ําประกัน เปนตน ☺ ความไมสมบูรณของนิติกรรม 1. ความสามารถในการทํานิติกรรม กลาวคือ ถานิติกรรมไดกระทําลงโดยผูหยอนความสามารถ คือ 1.1) ผูเยาว 1.2) คนไรความสามารถ 1.3) คนเสมือนไรความสามารถ ( เปนโมฆียะ (ม.153) 2. วัตถุประสงคแหงนิติกรรม 2.1) เปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย เปนโมฆะ 2.2) เปนการพนวิสัย (ม.150) 2.3) เปนการขัดความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน 3. แบบแหงนิติกรรม 3.1) การทําเปนหนังสือ เชน การโอนหนี้ (ม.306) / สัญญาเชาซื้อ (ม.572) / สัญญาตัวแทนบาง ประเภท (ม.798) ถาตกลงเพียงวาจา สัญญานั้น ( เปนโมฆะ

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

5 3.2) การทําเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ เชน การคัดคานตั๋วแลกเงิน (ม.961) / การทํา พินัยกรรมแบบเอกสารฝายเมือง (ม.1658) เปนตน ถาไมไดทําเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ ยอมใชบังคับไมได 3.3) การทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ เชน สัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย (ม. 456) / สัญญาขายฝาก (ม.491) / สัญญาจํานอง (ม.714) เปนตน ถาไมทําตามแบบ ( เปนโมฆะ 4. การแสดงเจตนา 4.1 เจตนาอยางหนึ่งแตแสดงออกอีกอยางหนึ่ง นิติกรรมนั้นมีผลใชบังคับได เวนแตอีกฝายหนึ่งจะได รูถึงเจตนาที่แทจริง (ม.154) หรือ การแสดงเจตนาลวง โดยสมรูกับคูกรณีอีกฝายหนึ่ง (ม.155) หรือนิติกรรมอําพราง (ม. 155 ว.สอง) ( เปนโมฆะ 4.2 การแสดงเจตนาโดยสําคัญผิด (1) สําคัญผิดในสาระสําคัญของนิติกรรม - สําคัญผิดในประเภทของนิติกรรม เปนโมฆะ - สําคัญผิดในตัวบุคคลซึ่งเปนคูสัญญา (ม.156) - สําคัญผิดในวัตถุแหงนิติกรรม (2) สําคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพย ถาคุณสมบัติดังกลาว เปนสาระสําคัญของ นิติกรรม กลาวคือ ถารูวา บุคคลหรือทรัพยไมไดคุณสมบัติที่ตองการ ก็คงไมทํานิติกรรมดวย ( นิติกรรมนั้นเปน โมฆียะ (ม. 157) (3) สําคัญผิดเพราะกลฉอฉล ไดแก การที่คูกรณีฝายหนึ่งใชอุบายหลอกลวง ใหเขาหลงเชื่อ แลวเขาทํานิติกรรม ซึ่งถามิไดใชอุบายหลอกเชนวานั้น เขาคงไมทํานิติกรรมดวย ( นิติกรรมนั้นเปนโมฆียะ (ม. 159) (4) การแสดงเจตนาเพราะถูกขมขู ( นิติกรรมนั้นเปนโมฆียะ (ม. 164) ถาการขมขูนั้นถึง ขนาดที่ทําใหผถู ูกขูกลัวจริงๆ แตการขูวาจะใชสิทธิตามปกตินิยมก็ดี หรือความกลัวเพราะนับถือยําเกรงก็ดี ไมถือวาเปน การขู (ม.165) ☺ ผลแหงความไมสมบูรณของนิติกรรม “โมฆะ” หมายถึง นิติกรรมนั้นเสียเปลามาตั้งแตตน ไมมีผลบังคับตามกฎหมาย คือ เสมือนวาไมมีการทํานิติ กรรมนั้นๆ เลย จะฟองรองบังคับกันไมได จะใหสัตยาบันก็ไมได (ม.172) “โมฆียะ” หมายถึง นิติกรรมที่สมบูรณตามกฎหมายจนกวาจะมีการบอกลาง (ม.176) ถาไมมีการบอกลาง ภายในระยะเวลา ( 1 ป นับแตเวลาที่อาจใหสัตยาบันไดหรือ 10 ป นับแตไดทํานิติกรรม ม. 181) หรือมีการใหสัตยาบัน (ม.179) โดยบุคคลที่กฎหมายกําหนด นิติกรรมนั้นเปนอันสมบูรณตลอดไป สัญญา ☺ สาระสําคัญของสัญญา 1. ตองมีบุคคลตั้งแต 2 ฝายขึ้นไป 2. ตองมีการแสดงเจตนาตองตรงกัน (คําเสนอ+คําสนองตรงกัน) “คําเสนอ” เปนคําแสดงเจตนาขอทําสัญญา คําเสนอตองมีความชัดเจน แนนอน ถาไมมีความชัดเจน แนนอน เปนแตเพียงคําเชิญชวน “คําสนอง” คือ การแสดงเจตนาของผูสนองตอผูเสนอ ตกลงรับทําสัญญาตามคําเสนอ คําสนองตองมี ความชัดเจน แนนอน ปราศจากขอแกไข ขอจํากัด หรือขอเพิ่มเติมใดๆ 3. ตองมีวัตถุประสงคในการทําสัญญา

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

6 ☺ ประเภทของสัญญา 1. สัญญาตางตอบแทนกับสัญญาไมตางตอบแทน “สัญญาตางตอบแทน” ไดแก สัญญาที่ทําใหคูสัญญาตางเปนเจาหนี้และลูกหนี้ซึ่งกันและกัน (ม. 369) กลาวคือ คูสัญญาตางมีหนี้ หรือหนาที่จะตองชําระใหแกกันเปนการตอบแทน “สัญญาไมตางตอบแทน” คือ สัญญาที่กอหนี้ฝายเดียว เชน สัญญายืม (ม.640, 650) 2. สัญญามีคาตอบแทนกับสัญญาไมมีคาตอบแทน 3.สัญญาประธานกับสัญญาอุปกรณ “สัญญาประธาน” หมายถึง สัญญาที่เกิดขึ้นและเปนอยูไดโดยลําพัง ไมขึ้นอยูกับสัญญาอื่น “สัญญาอุปกรณ” นอกจากสัญญาอุปกรณจะตองสมบูรณตามหลักความสมบูรณของตัวเองแลว ยัง ขึ้นอยูกับความสมบูรณของสัญญาประธานอีกดวย กลาวคือ ถาสัญญาประธานไมสมบูรณ สัญญาอุปกรณยอมไม สมบูรณดวยเชนกัน เชน สัญญาค้ําประกัน (ม.680) / สัญญาจํานอง (ม.702) / สัญญาจํานํา (ม.747) 4. สัญญาเพื่อประโยชนบุคคลภายนอก โดยคูสัญญาตกลงวาจะชําระหนี้ใหแกบุคคลภายนอกโดยที่ บุคคลภายนอกนั้นไมไดเขามาเปนคูสัญญาดวย เชน สัญญาประกันชีวิต 5. เอกเทศสัญญาตาม ป.พ.พ. บรรพ 3 กับสัญญาไมมีชื่อ ☺ สิทธิในการบอกเลิกสัญญา 1. สิทธิบอกเลิกสัญญาโดยบทบัญญัติแหงกฎหมาย 1.1 เมื่อคูสัญญาฝายหนึ่งไมชําระหนี้ คูสัญญาอีกฝายหนึ่งจะกําหนดระยะเวลาพอสมควร แลวบอก กลาวใหฝายนั้นชําระหนี้ภายในระยะเวลานั้นก็ได ถาฝายนั้นไมชําระหนี้ภายในระยะที่กําหนดให อีกฝายหนึ่งจะเลิก สัญญาเสียก็ได (ม.387) 1.2 เมื่อคูสัญญาฝายหนึ่งไมชําระหนี้ซึ่งโดยสภาพหรือโดยเจตนาที่คูสัญญาไดแสดงไว วัตถุประสงค แหงสัญญาจะเปนผลสําเร็จไดก็แตดวยการชําระหนี้ ณ เวลาที่กําหนดหรือภายในระยะเวลาซึ่งกําหนดไว เจาหนี้มีสิทธิ บอกเลิกสัญญาไดทันที โดยไมจําเปนตองบอกกลาวกําหนดระยะเวลาชําระหนี้กอน (ม.388) 1.3 เมื่อการชําระหนี้ทั้งหมดหรือแตบางสวนกลายเปนพนวิสัย เพราะเหตุอยางใดอยางหนึ่งอันจะ โทษลูกหนี้ได เจาหนี้จะเลิกสัญญาเสียก็ได (ม.389) 2. สิทธิบอกเลิกสัญญาโดยขอสัญญา หมายความวา คูสัญญาไดตกลงกันกําหนดสิทธิในการเลิกสัญญาไว ลวงหนา ถามีเหตุการณอยางใดอยางหนึ่งตามที่กําหนดไวเกิดขึ้น ก็ใหสิทธิบอกเลิกสัญญาแกคูกรณี ☺ ผลของการเลิกสัญญา 1. คูสัญญาแตละฝายตองใหอีกฝายหนึ่งกลับคืนสูฐานะเดิม (ม.391 วรรคหนึ่ง) เชน - ทรัพยสินที่ไดสงมอบหรือโอนใหแกกันไปตามสัญญา ก็ตองคืนทรัพยสินนั้นในสภาพที่เปนอยูเดิม ขณะมีการสงมอบหรือโอนไปตามสัญญา และถาเปนการพนวิสัยที่จะคืนไดทั้งหมดหรือบางสวน ก็ตองชดใชคาเสียหาย แทน - หากทรัพยสินที่จําตองสงคืนนั้นเปนเงินตรา กฎหมายกําหนดใหบวกดอกเบี้ย คิดตั้งแตเวลาที่ไดรับ เงินไปดวย (ม.391 วรรคสอง) อัตราดอกเบี้ยนั้น ถามิไดกําหนดเอาไว ใหใชอัตรารอยละเจ็ดครึ่งตอป (ม.7) - อยางไรก็ตาม การเลิกสัญญาอันมีผลทําใหคูสัญญากลับคืนสูฐานะเดิมนี้ จะเปนสาเหตุทําให บุคคลภายนอกเสื่อมเสียสิทธิไมได 2. การเลิกสัญญาไมกระทบกระเทือนถึงสิทธิของเจาหนี้ที่จะเรียกคาเสียหาย (มาตรา 391 วรรคทาย)

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

7 หนี้ ☺ ลักษณะสําคัญของหนี้ ตองประกอบดวย 1. การมีนิติสัมพันธ (ความผูกพันกันในทางกฎหมาย) 2. การมีเจาหนี้และลูกหนี้ (สิทธิเหนือบุคคล) 3. ตองมีวัตถุแหงหนี้ (การกระทํา / งดเวนกระทําการ / สงมอบทรัพยสิน) 3.1 ทรัพยซึ่งเปนวัตถุแหงการชําระหนี้ ไดระบุไวเปนประเภทและตามสภาพแหงนิติกรรม หรือตาม เจตนาของคูกรณี ไมอาจกําหนดไดวา ทรัพยนั้นจะพึงเปนชนิดอยางไรแลว กฎหมายกําหนดใหลูกหนี้ตองสงมอบชนิด ปานกลาง (ม.195 วรรคหนึ่ง) เวนแต หากเปนกรณีที่อาจสันนิษฐานเจตนาของคูกรณีไดแลว เชน ในครั้งกอนๆ นั้นไดสง มอบของชนิดที่ดีที่สุดเสมอมา ดังนี้ ลูกนี้จะสงมอบชนิดปานกลางไมได 3.2 วัตถุแหงการชําระหนี้เปนเงินตรา ถาหนี้เงินไดแสดงไวเปนเงินตางประเทศ จะสงใชเปนเงินไทย ก็ได การแลกเปลี่ยนเงินนี้ใหคิดตามอัตราแลกเปลี่ยนเงิน ณ สถานที่และในเวลาที่ใชเงิน (ม.196) 3.3 กรณีวัตถุแหงการชําระหนี้มีหลายอยาง โดยหลักกฎหมาย ใหสิทธิลูกหนี้ที่จะเลือก (ม.198) วิธีเลือกนั้น ใหทําโดยแสดงเจตนาแกอีกฝายหนึ่ง (ม.199 วรรคหนึ่ง) และตองแสดงเจตนาเลือกภายใน ระยะเวลาที่กําหนดไวดวย ถาไมเลือกภายในเวลาที่กําหนด สิทธิที่จะเลือกนั้นก็จะตกไปอยูแกอีกฝายหนึ่ง (ม. 200 ว. หนึ่ง) - ในกรณีที่กําหนดใหบุคคลภายนอกเปนผูมีสิทธิเลือก บุคคลภายนอกตองแสดงเจตนาเลือกตอ ลูกหนี้ และลูกหนี้ตองแจงความนั้นแกเจาหนี้ แตถาบุคคลภายนอกไมประสงคจะเลือกหรือไมเลือกภายในระยะเวลาที่ กําหนดไว สิทธิเลือกนั้นยอมตกแกฝายลูกหนี้ (ม.201) - ในกรณีที่การอันพึงตองชําระหนี้มีหลายอยาง และอยางใดอยางหนึ่งตกเปนอันพนวิสัยที่จะกระทํา ไดมาตั้งแตตน หรือกลายเปนพนวิสัยในภายหลัง ใหจํากัดการชําระหนี้นั้นไวเพียงการชําระหนี้อยางอื่นที่ไมพนวิสัย แต การจํากัดหนี้ในกรณีเชนนี้ไมอาจใชบังคับได หากวาการชําระหนี้ที่กลายเปนพนวิสัยนั้น เกิดขึ้นเพราะพฤติการณอันใด อันหนึ่ง ซึ่งฝายที่ไมมีสิทธิเลือกนั้นตองรับผิดชอบ (ม.202) ☺ บอเกิดแหงหนี้ 1. นิติกรรม-สัญญา 2. นิติเหตุ หมายถึง เหตุที่มิไดเกิดขึ้นจากการแสดงเจตนาเขาผูกพันตนเพื่อกอหนี้ แตกฎหมายเปน กําหนด ซึ่งอาจเปนเหตุธรรมชาติ หรือ อาจเปนเหตุที่กอขึ้นโดยการกระทําของบุคคล โดยเขามิไดมุงใหมีผลในกฎหมาย แตกฎหมายก็กําหนดใหตองมีหนี้หรือหนาที่ตอบุคคลอื่น ไดแก 2.1 ละเมิด (ม.420) 2.2 จัดการงานนอกสั่ง (ม.395, 401) 2.3ลาภมิควรได (ม.406) 2.4 ตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เชน บุตรจําตองอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดา (ม.1563) ☺ การบังคับชําระหนี้ 1. กําหนดชําระหนี้ ถาเปนกรณีที่คูกรณีไมไดตกลงกําหนดเวลาชําระหนี้ไวแนนอนแลว กฎหมาย ถือวา หนี้ นั้นถึงกําหนดชําระโดยพลัน (ม. 203) 2. การผิดนัดของลูกหนี้ 2.1 เมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระแลว และภายหลังแตนั้น เจาหนี้ไดใหคําเตือนลูกหนี้แลว ลูกหนี้ยังไม ชําระหนี้ ลูกหนี้ไดชื่อวาผิดนัด เพราะเขาเตือนแลว (ม. 204 วรรคหนึ่ง)

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

8 2.2 เมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระตามวันแหงปฏิทินแลว และลูกหนี้มิไดชําระหนี้ตามกําหนด ลูกหนี้ไดชื่อ วาตกเปนผูผิดนัดแลว โดยมิตองเตือนกอนเลย (ม. 204) 2.3 ถาเปนหนี้อันเกิดแตมูลละเมิด ลูกหนี้ไดชื่อวาผิดนัดมาแตเวลาที่ทําละเมิด (ม. 206) ☺ ผลของการที่ลูกหนี้ผิดนัด 1. เจาหนี้มีสิทธิเรียกคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิดจากการนั้นได (ม.215) 2. ถาโดยเหตุที่ผิดนัดนั้น ทําใหการชําระหนี้กลายเปนอันไรประโยชนแกเจาหนี้ เจาหนี้มีสิทธิที่จะบอกปดไม รับการชําระหนี้นั้น และมีสิทธิเรียกคาสินไหมทดแทนเพื่อการไมชําระหนี้ได (ม. 216) 3. ลูกหนี้จะตองรับผิดชอบในความเสียหายบรรดาที่เกิดแตความประมาทเลินเลอในระหวางที่ตนผิดนัด ทั้ง จะตองรับผิดชอบในการที่การชําระหนี้กลายเปนพนวิสัยเพราะอุบัติเหตุอันเกิดขึ้นในระหวางผิดนัดดวย เวนแตความ เสียหายนั้นถึงอยางไรก็จะเกิดมีขึ้นอยูดีถึงแมวาตนจะไดชําระหนี้ทันกําหนดเวลา (ม.217) 4. ในระหวางผิดนัด ถาไมมีการกําหนดไวเปนอยางอื่น ในกรณีของหนี้เงินใหคิดดอกเบี้ยรอยละเจ็ดครึ่งตอป (ม. 224) ☺ ขอแกตัวของลูกหนี้ ถาการชําระหนี้นั้นยังมิไดกระทําลง เพราะพฤติการณอันใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนี้ไมตอง รับผิดชอบ ลูกหนี้ก็ยังหาไดชื่อวาเปนผูผิดนัด (ม.205) ☺ การผิดนัดของเจาหนี้ 1. ถาลูกหนี้ไดขอปฏิบัติการชําระหนี้ และเจาหนี้ไมรับชําระหนี้นั้น โดยปราศจากมูลเหตุอันจะอางกฎหมายได เจาหนี้ตกเปนผูผิดนัด (ม.207) 2. ในกรณีของสัญญาตางตอบแทน ซึ่งลูกหนี้จะตองชําระหนี้สวนของตนตอเมือเจาหนี้ชําระหนี้ตอบแทนดวย นั้น ถึงแมวาเจาหนี้จะไดเตรียมพรอมที่จะรับชําระหนี้ตามที่ลูกหนี้ขอปฏิบตั ิการชําระหนี้ก็ตาม แตถาเจาหนี้ไมเสนอที่ จะทําการชําระหนี้ตอบแทนตามที่พึงตองทําแลว เจาหนี้ก็เปนอันไดชื่อวาผิดนัด (ม.210) - เหตุแหงความผิดนัดในขอนี้ เนื่องมาจากหนี้อันเกิดจากสัญญาตางตอบแทนซึ่งมีลักษณะที่คูสัญญา ฝายหนึ่งจะไมยอมชําระหนี้จนกวาอีกฝายหนึ่งจะชําระหนี้หรือขอปฏิบัติการชําระหนี้ก็ได (ม.369) ☺ ผลของการที่เจาหนี้ผิดนัด 1. ปลดเปลื้องความรับผิดในอันที่จะตองใชคาสินไหมทดแทน เพราะเหตุชําระหนี้ลาชา 2. ปลดเปลื้องความรับผิดในกรณีที่การชําระหนี้นั้นกลายเปนอันไรประโยชนแกเจาหนี้ 3. ปลดเปลื้องความรับผิดในความเสียหายอยางใดๆ ที่เกิดแกตัวทรัพยอันเปนวัตถุแหงหนี้นั้น 4. ปลดเปลื้องความรับผิดในดิกเบี้ยสําหรับกรณีที่เปนหนี้เงิน ☺ ขอแกตัวของเจาหนี้ 1. ในเวลาที่ลูกหนี้ขอปฏิบัติการชําระหนี้นั้น (ไมวาเจาหนี้พรอมที่จะรับชําระหนี้นั้นหรือยัง) หากลูกหนี้มิได อยูในฐานะที่จะสามารถชําระหนี้ไดจริงๆ เจาหนี้ก็หาตกเปนผูผิดนัดไม (ม.211) 2. ในกรณีที่มิไดกําหนดเวลาชําระหนี้ไว หรือลูกหนี้มีสิทธิที่จะชําระหนี้ไดกอนเวลากําหนด การที่เจาหนี้มี เหตุขัดของชั่วคราวไมอาจรับชําระหนี้ไดนั้น หาทําใหเจาหนี้ตกเปนผูผิดนัดไม (ม.212) ☺ การชําระหนี้กลายเปนพนวิสัย 1. ถาการชําระหนี้กลายเปนพนวิสัยจะทําได เพราะพฤติการณอันใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนี้ตองรับผิดชอบลูกหนี้ จะตองใชคาสินไหมทดแทนใหแกเจาหนี้เพื่อคาเสียหายอยางใด ๆ อันเกิดแตการไมชําระหนี้นั้น (ม.218) กรณีที่การชําระหนี้กลายเปนพนวิสัยแตเพียงบางสวน และสวนที่ยังเปนวิสัยจะทําไดนั้นเปนอันไรประโยชน

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

9 แกเจาหนี้แลว เจาหนี้จะไมยอมรับชําระหนี้นั้น และเรียกคาสินไหมทดแทนเพื่อการไมชําระหนี้เสียทั้งหมดทีเดียวก็ได (ม.218 วรรคสอง) 2. ถาการชําระหนี้กลายเปนพนวิสัย เพราะพฤติการณอันใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนี้ไมตองรับผิดชอบแลว ลูกหนี้เปน อันหลุดพนจากการชําระหนี้นั้น (ม. 219 วรรคสอง) ถาภายหลังที่ไดกอหนี้ขึ้นแลวนั้น ลูกหนี้กลายเปนคนไมสามารถจะชําระหนี้ได ก็ใหถือเสมือนวาเปน พฤติการณที่ทําใหการชําระหนี้ตกเปนอันพนวิสัย (ม.219 วรรคสอง) ☺ ความรับผิดของลูกหนี้เพื่อคนที่ตนใชในการชําระหนี้ ลูกหนี้สามารถตั้งผูใดผูหนึ่งเปนตัวแทนในการชําระหนี้ก็ได เวนแตสภาพแหงหนี้จะไมเปดชองใหกระทําได หรือขัดตอเจตนาที่คูกรณีตกลงกันไว (ม.314) เมื่อลูกหนี้ไดมอบหมายใหตัวแทนจัดการชําระหนี้ ลูกหนี้ตองรับผิดชอบ ในความผิดของบุคคลที่ลูกหนี้มอบหมายนั้นเสมือนกับวาเปนความผิดของตนเอง (ม.220) ☺ สิทธิของเจาหนี้ที่จะบังคับชําระหนี้จากทรัพยสินของลูกหนี้ ดวยอํานาจแหงมูลหนี้ เจาหนี้มีสิทธิเรียกรองใหลูกหนี้ชําระหนี้ได หากลูกหนี้ไมชําระ เจาหนี้ชอบที่จะ ฟองรองตอศาลขอใหศาลบังคับคดีให โดยการบังคับชําระหนี้เอาจากทรัพยสินของลูกหนี้จนสิ้นเชิง รวมทั้งเงินและ ทรัพยสินอื่นๆ ซึ่งบุคคลภายนอกคางชําระแกลูกหนี้ดวย (ม.214) ☺ การบังคับชําระหนี้โดยเฉพาะเจาะจง หากลูกหนี้ละเลยไมยอมชําระหนี้ เจาหนี้ยอมมีสิทธิรองขอตอศาลบังคับใหลูกหนี้ชําระหนี้ได การบังคับ ชําระหนี้นี้ จะกระทําไมไดหากสภาพแหงหนี้ไมเปดชองใหบังคับได (ม.213 วรรคหนึ่ง) ในกรณีที่สภาพแหงหนี้ไมเปดชองใหบังคับชําระหนี้ได ถาวัตถุแหงหนี้เปนอันใหกระทําการอันใดอันหนึ่ง เจาหนี้จะรองขอตอศาลใหบังคับบุคคลภายนอกกระทําการอันนั้นโดยใหลูกหนี้เสียคาใชจายแทนก็ได (ม.213 วรรค สอง) และในกรณีที่วัตถุแหงหนี้เปนอันใหกระทํานิติกรรมอยางใดอยางหนึ่ง ศาลอาจสั่งใหถือเอาคําพิพากษาแทนการ แสดงเจตนาของลูกหนี้ได ในกรณีที่สภาพแหงหนี้ไมเปดชองใหบังคับชําระหนี้ได ถาวัตถุแหงหนี้เปนการใหงดเวนการอันใด เจาหนี้จะ เรียกรองใหรื้อถอนการที่ไดกระทําลงแลวนั้น โดยใหลูกหนี้เสียคาใชจาย และใหจัดการอันควรเพื่อกาลภายหนาดวยก็ได (ม.213 วรรคสาม) ☺ การควบคุมทรัพยสินของลูกหนี้ 1.การใชสิทธิเรียกรองของลูกหนี้ (ม. 233) 1.1 ลูกหนี้ตองขัดขืนไมยอมใชสิทธิเรียกรองหรือเพิกเฉยไมใชสิทธิเรียกรอง 1.2 การที่ลูกหนี้ขัดขืนหรือเพิกเฉยนั้น เปนเหตุใหเจาหนี้ตองเสียประโยชน 1.3 สิทธิเรียกรองที่เจาหนี้จะเขาใชแทนลูกหนี้ ตองมิใชการสวนตัวของลูกหนี้โดยแท 2. การเพิกถอนกลฉอฉล (ม.237) 2.1 ลูกหนี้ไดทํานิติกรรมอันมีผลเปนการจําหนายจายโอนทรัพยสินของลูกหนี้ใหแกบุคคลอื่น 2.2 การกระทํานิติกรรมดังกลาวนั้น ลูกหนี้รูอยูวาเปนทางทําใหเจาหนี้เสียเปรียบ 2.3 ในการเพิกถอนนิติกรรมซึ่งลูกหนี้ไดกระทําลงไป เจาหนี้ตองพิสูจนวาในขณะที่ทํานิติกรรมนั้น บุคคลซึ่งเปนผูไดลาภงอกจากการทํานิติกรรมนั้นไดรูความจริงดวยวาเปนการทําใหเจาหนี้เสียเปรียบ แตถาเปนการที่ ลูกหนี้ทําใหโดยเสนหาแลว เพียงแตลูกหนี้รูถึงการฉอฉลนั้นฝายเดียวก็เพียงพอแลวที่จะขอเพิกถอนได 3. การรับชวงสิทธิ ถามีบุคคลภายนอกที่ไมไดเปนฝายในมูลหนี้มาแตเดิม แตเปนผูมีสวนไดเสียเปนพิเศษ อาจ

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

10 เขามาเกี่ยวของโดยการเขามาใชหนี้แทนลูกหนี้ได และโดยผลของกฎหมายบุคคลภายนอกนั้นก็จะเปนผูเขามาสวม ตําแหนงเปนเจาหนี้แทนตอไป เรียกวา “การรับชวงสิทธิ” (ม.226) 4. การโอนสิทธิเรียกรอง คือ ขอตกลงซึ่งเจาหนี้เรียกวา “ผูโอน” ยินยอมโอนสิทธิของตนอันมีตอลูกหนี้ใหแก บุคคลภายนอกเรียกวา “ผูรับโอน” เฉพาะเจาหนี้เทานั้นที่สามารถโอนสิทธิเรียกรองของตนใหบุคคลภายนอกได สวน ลูกหนี้นั้นจะโอนหนี้ของตนใหบุคคลภายนอกไมได (ม.303) - สิทธิเรียกรองที่โอนไมได 1) สภาพของสิทธินั้นไมเปดชองใหโอน (ม.303 วรรคหนึ่ง) 2) สิทธิเรียกรองที่คูกรณีไดแสดงเจตนาหามโอนกัน แตการแสดงเจตนาเชนวานี้จะยกขึ้น เปนขอตอสูบุคคลภายนอกผูกระทําการโดยสุจริตไมได (ม.303 วรรคสอง) 3) สิทธิเรียกรองใดที่ตามกฎหมาย ศาลจะสั่งยึดไมได สิทธิเรียกรองเชนนั้นยอมโอนกัน ไมได (ม.304) สิทธิเรียกรองเชนนี้ตองมีกฎหมายบัญญัติไววาไมอยูในขายแหงการบังคับคดีหรือไมอยูในความรับผิด แหงการบังคับคดี - แบบของการโอนสิทธิเรียกรอง 1) ตองทําเปนหนังสือ มิฉะนั้นการโอนจะไมสมบูรณ 2) จะยกการโอนขึ้นเปนขอตอสูลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกได ตอเมื่อ ก. บอกกลาวการโอนเปนหนังสือไปยังลูกหนี้ หรือ ข. ใหลูกหนี้ยินยอมดวยในการโอนเปนหนังสือ ☺ ลูกหนี้และเจาหนี้หลายคน ผลแหงการเปนลูกหนี้รวม มีดังนี้ 1. เจาหนี้มีสิทธิเรียกใหลูกหนี้คนใดคนหนึ่งชําระหนี้ไดสิ้นเชิง (ม.291) 2. การที่ลูกหนี้รวมคนหนึ่งชําระหนี้ ยอมไดประโยชนแกลูกหนี้อื่นๆ ดวย (ม.292) 3. การปลดหนี้ใหแกลูกหนี้รวมคนใด ยอมเปนประโยชนแกลูกหนี้รวมคนอื่นๆ เพียงเทาสวนของลูกหนี้ที่ได ปลดหนี้ให (ม.293) 4. การที่เจาหนี้ผิดนัดตอลูกหนี้รวมคนหนึ่งนั้นยอมไดประโยชนแกลูกหนี้คนอื่นๆ ดวย (ม.295) 5. การอันเปนคุณหรือเปนโทษเฉพาะตัวลูกหนี้รวม ยอมไมมีผลไปถึงลูกหนี้รวมคนอื่น (ม.295 วรรคหนึ่ง) 6. ในระหวางลูกหนี้รวมกันทั้งหลายนั้น ตางคนตางตองรับผิดเปนสวนเทาๆ กัน เวนแตจะไดกําหนดไวเปน อยางอื่น (ม.296) ผลแหงการเปนเจาหนี้รวม มีดังนี้ 1. การที่เจาหนี้รวมคนหนึ่งผิดนัดนั้น ยอมเปนโทษแกเจาหนี้คนอื่นๆ ดวย (ม.299 วรรคหนึ่ง) 2. ถาสิทธิเรียกรองและหนี้สินเปนอันเกลื่อนกลืนกันไปในเจาหนี้รวมกันคนหนึ่ง สิทธิของเจาหนี้คนอื่นๆ อันมีตอลูกหนี้ก็ยอมเปนอันระงับสิ้นไป (ม.299 วรรคสอง) 3. เมื่อลูกหนี้ชําระหนี้หรือปฏิบัติการอยางอื่นตอเจาหนี้รวมคนใดคนหนึ่งอันมีผลใหหนี้ระงับสิ้นไปแลว ลูกหนี้ยอมหลุดพนจากหนี้นั้นไป (ม.299 วรรคสาม) 4. เมื่อเจาหนี้รวมคนใดคนหนึ่งปลดหนี้ใหแกลูกหนี้แลว ยอมเปนโทษแกเจาหนี้รวมคนอื่นเทาสวนที่ไดปลด หนี้ใหนั้น (ม.299 วรรคสาม) 5. ในระหวางเจาหนี้รวมกันนั้น เจาหนี้แตละคนชอบที่จะไดรับชําระหนี้เปนสวนเทาๆ กัน เวนแตจะไดกําหนด ไวเปนอยางอื่น (ม.300)

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

11 ☺ ความระงับแหงหนี้ 1. การชําระหนี้ 1.1 ผูชําระหนี้ บุคคลภายนอกจะเปนผูชําระหนี้แทนลูกหนี้ก็ได เวนแตสภาพแหงหนี้นั้นจะไมเปด ชองใหบุคลภายนอกชําระ หรือขัดเจตนาของคูกรณี (ม.314) 1.2 ผูรับชําระหนี้ ลูกหนี้ตองชําระหนี้ใหแกผูที่มีสิทธิไดรับชําระหนี้ตามกฎหมายเทานั้น ถาลูกหนี้ ชําระหนี้ใหแกผูที่ไมมีสิทธิโดยชอบที่จะรับชําระหนี้แลว หนี้นั้นก็หาระงับลงไม “ผูรับชําระหนี้” คือบุคคลดังตอไปนี้ (ม.315) (1) เจาหนี้ (2) ผูมีอํานาจชําระหนี้แทนเจาหนี้ (3) ผูที่ไมมีอํานาจรับชําระหนี้ แตเจาหนี้ไดใหสัตยาบันแลว (4) การชําระหนี้แกผูครองตามปรากฏแหงสิทธิในมูลหนี้ คือ ผูที่มีหลักฐานเบื้องตนวาเปน เจาหนี้ ถาผูชําระหนี้กระทําไปโดยสุจริตแลว หนี้ยอมระงับ (ม.316) (5) การชําระหนี้ใหแกผูถือใบเสร็จโดยสุจริต (ม.318) (6) การชําระหนี้ใหแกเจาหนี้ โดยฝาฝนคําสั่งศาล (ม.319) หนี้นั้นไมระงับ (7) การชําระหนี้ใหแกผูไมมีสิทธิรับชําระหนี้ แตเจาหนี้ไดลาภงอกจากการนั้น (ม.317) 1.3 วัตถุในการชําระหนี้ หากเปนการตกลงใหชําระหนี้ดวยการสงมอบทรัพยสินอยางใดอยางหนึ่ง แลว ลูกหนี้ตองชําระหนี้ดวยทรัพยสินอยางนั้นโดยตรง จะนําทรัพยสินอื่นมาชําระแทนไมได และจะบังคับใหเจาหนี้รับ ชําระหนี้แตเพียงบางสวนก็ไมได (ม.320) อยางไรก็ตาม หากเจาหนี้ยินยอมรับชําระเปนอยางอื่นผิดไปจากที่ตกลงกัน หรือยินยอมรับชําระหนี้แตเพียงบางสวนก็ยอมทําได ซึ่งอาจทําใหหนี้นั้นระงับไปทั้งหมด หรือบางสวนแลวแตกรณี (ม. 321) - ในกรณีที่วัตถุแหงการชําระหนี้เปน “เงินสด” และมีการชําระหนี้ดวยเช็คหรือตั๋วเงิน ประเภทอื่นแทนนั้น ยังไมถือวาหนี้ระงับลง จนกวาเช็คหรือตั๋วเงินนั้นจะไดขึ้นเงินแลวเทานั้น (ม.321 ว.สาม) 1.4 สถานที่ชําระหนี้ หากคูกรณีไมไดตกลงกันไวเกี่ยวกับสถานที่ชําระหนี้ ถาเปนการชําระหนี้ดวย การสงมอบทรัพยเฉพาะสิ่ง กฎหมายใหสงมอบกัน ณ สถานที่ซึ่งทรัพยนั้นไดอยูในเวลาเมื่อกอใหเกิดหนี้นั้นขึ้น สวน สําหรับสถานที่ชําระหนี้ในกรณีอื่นๆ นั้น หากไมไดตกลงกันไวกฎหมายกําหนดใหตองชําระหนี้ ณ สถานที่ซึ่งเปน ภูมิลําเนาปจจุบันของเจาหนี้ (ม.324) 1.5 คาใชจายในการชําระหนี้ หากไมไดตกลงกันเอาไว กฎหมายกําหนดใหฝายลูกหนี้เปนผูออก คาใชจาย (ม.325 1.6 หลักฐานในการชําระหนี้ ลูกหนี้จะไดรับอยางใดอยางหนึ่งดังตอไปนี้ (ม.326) (1) ใบเสร็จ (2) ไดรับเวนคืนเอกสารอันเปนหลักฐานแหงหนี้ (3) ขอใหทําลายหลักฐานแหงหนี้ หรือ (4) ขีดฆาเอกสารนั้นเสีย 2. การปลดหนี้ คือ การที่เจาหนี้ยอมสละสิทธิเรียกรองอันมีตอลูกหนี้ใหแกลูกหนี้ไปโดยเสนหา ซึ่งมีผลทําให หนี้นั้นระงับลง (ม.340) ถาหากหนี้นั้นมีหนังสือเปนหลักฐาน การปลดหนี้ก็ตองทําเปนหนังสือดวย หรือตองเวนคืน เอกสารอันเปนหลักฐานแหงหนี้ใหแกลูกหนี้ หรือขีดฆาเอกสารนั้นเสีย (ม.340 วรรคสอง) 3. การหักกลบลบหนี้ (ม.341) มีหลักดังนี้

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

12 3.1 การหักกลบลบหนี้เปนกรณีที่บุคคลสองคนตางมีความผูกพันซึ่งกันและกันโดยมูลหนี้ 3.2 มูลหนี้ตองมีวัตถุเปนอยางเดียวกัน 3.3 หนี้ทั้งสองรายนั้นถึงกําหนดชําระหนี้แลว และทั้งสภาพแหงหนี้ก็เปดชองใหหักกลบลบหนี้กัน ได 4. การแปลงหนี้ใหม คือ การที่คูกรณีที่เกี่ยวของไดทําสัญญาเปลี่ยนสิ่งซึ่งเปนสาระสําคัญแหงหนี้กัน หนี้นั้น เปนอันระงับไปดวย “แปลงหนี้ใหม” (ม.349) เชน การเปลี่ยนวัตถุแหงหนี้ 5. หนี้เกลื่อนกลืนกัน ถาสิทธิและความรับผิดในหนี้รายใด ตกอยูแกบุคคลคนเดียวกันแลว หนี้นั้นเปนอันระงับ ไปดวยหนี้เกลื่อนกลืนกัน (ม.353) ละเมิด ☺ องคประกอบมี ดังนี้ 1. เปนการกระทําตอบุคคลอื่นโดยมิชอบดวยกฎหมาย 2. เปนการกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอ ม. 420 3. การกระทํานั้นเปนเหตุใหบุคคลอื่นไดรับความเสียหาย ขอสังเกต การยอมใหบุคคลอื่นกระทําตอตนดวยความสมัครใจกลาวคือ ปราศจากการขมขูกลฉอฉลหรือ สําคัญผิดและความยินยอมที่ใหนี้จะตองมีอยูตลอดเวลาในที่ทําละเมิดดวย ☺ ความรับผิดเนื่องจากการแสดงความเท็จ ผูใดกลาวหรือไขขาวแพรหลายซึ่งขอความอันฝาฝนตอความจริง โดยรูวาขอความนั้นไมจริง หรือควรจะรูได วาขอความนั้นไมจริง เปนเหตุใหเกิดความเสียหายแกชื่อเสียงหรือเกียรติคุณของบุคคลอื่นก็ดี หรือเปนที่เสียหายแกทาง ทํามาหาได หรือทางเจริญของเขาโดยประการอื่นก็ดี ผูนั้นจะตองชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกเขาเพื่อความเสียหาย อยางใดๆ อันเกิดแตการนั้น (ม.423) แตมีขอยกเวน คือ หากผูกลาวหรือผูรับขอความนั้นมีทางไดเสียโดยชอบในการ นั้นดวยแลว (ม. 423 วรรคสอง) การกลาวในลักษณะหมิ่นประมาทดังกลาวยอมไมเปนละเมิด ☺ ความรับผิดในการทําละเมิดของบุคคลอื่น 1. ความรับผิดในการทําละเมิดของลูกจาง หลัก นายจางตองรวมกันรับผิดกับลูกจางในผลแหงละเมิด ซึ่ง ลูกจางไดกระทําไปในทางการที่จางนั้น (ม.425) นายจางและลูกจางตองมีความสัมพันธกันตามสัญญาจางแรงงาน “ทางการที่จาง” หมายถึง การกระทําใดๆ ที่เปนสวนหนึ่งของงานหรืออยูในขอบเขตของงานที่จาง รวมตลอดถึงการกระทําใดๆ ที่อยูภายใตคําสั่งหรือความควบคุมดูแลของนายจาง เมื่อนายจางชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกบุคคลภายนอกไปแลว นายจางมีสิทธิไลเบี้ยเอาจากลูกจางได (ม. 426) 2. ความรับผิดในการทําละเมิดของผูเยาวหรือบุคคลวิกลจริต กฎหมายสันนิษฐานใหบิดามารดา ผูอนุบาล หรือผูที่รับดูแลผูเยาวหรือบุคคลวิกลจริตอยูตองรับผิดรวมดวย เวนแตจะพิสูจนไดวาตนไดใชความระมัดระวังตาม สมควรแกหนาที่ดูแลนั้นแลว (ม.429 , 430) 3. ความรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นจากยานพาหนะหรือทรัพยอันตราย กฎหมายกําหนดไววา บุคคลใด ครอบครองหรือควบคุมดูแลยานพาหนะอยางใดๆ อันเดินดวยกําลังเครื่องจักรกล หรือครอบครองทรัพยซึ่งเปนของเกิด อันตรายไดโดยสภาพ หรือโดยความมุงหมายที่จะใช บุคคลนั้นตองรับผิดชอบตอความเสียหายอันเกิดจากยานพาหนะ

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

13 หรือทรัพยนั้นๆ (ม.437) ผูครอบครองจะหลุดพนจากความรับผิดดังกลาวได ตอเมื่อพิสูจนไดวา ความเสียหายนั้นเกิด จากเหตุสุดวิสัยหรือเกิดจากความผิดของผูเสียหายเอง 4. ความรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นเพราะสัตว กฎหมายใหสันนิษฐานใหเจาของสัตวหรือบุคคลที่รับเลี้ยง ดูแลสัตวนั้นไวแทนเจาของเปนผูรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูที่ตองเสียหายนั้น อยางไรก็ดี หากเจาของสัตว หรือบุคคลที่รับเลี้ยงรับดูแลสัตวนั้นไวแทนเจาของ พิสูจนไดวา ตนไดใชความระมัดระวังอันสมควรแกการเลี้ยงการ รักษาตามชนิดและวิสัยของสัตวหรือตามพฤติการณอยางอื่นหรือพิสูจนไดวา ความเสียหายนั้นยอมจะตองเกิดมีขึ้นทั้งที่ ไดใชความระมัดระวังแลว (ม.433) 5. ความรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นเพราะโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสรางอื่น กฎหมายกําหนดใหผูครอบครอง โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสรางอยางอื่นนั้นเปนผูรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้น อยางไรก็ดี หากผูครอบครองสามารถพิสูจน ไดวา ตนไดใชความระมัดระวังตามสมควร เพื่อปดปองมิใหเกิดความเสียหายแลว ผูครอบครองไมตองรับผิด และใน กรณีเชนนี้กฎหมายกําหนดใหผูที่เปนเจาของโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสรางอยางอื่นนั้น เปนผูรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน (ม.434) ☺ คาสินไหมทดแทน ศาลจะเปนผูวินิจฉัยตามควรแกพฤติการณและความรายแรงแหงละเมิด (ม.438) คือ 1. กรณีทําทรัพยสินเสียหาย คาสินไหมทดแทน ไดแก การคืนทรัพยสิน ที่เสียไป ถาคืนไมไดก็ใหใชราคา ทรัพยนั้น รวมถึงคาเสียหายอื่นๆ 2. กรณีเกี่ยวกับชีวิตรางกาย 2.1 ถาถึงตาย (ม.443) คาสินไหมทดแทนไดแก คาปลงศพ / คาขาดไรอุปการะ ถาไมตายทันที ไดแก คารักษาพยาบาลกอนตาย รวมทั้งคาเสียหายที่ตองขาดประโยชนทํามาหา ได เพราะไมสามารถประกอบการงานนั้นดวย 2.2 ถาไมถึงตาย คาสินไหมทดแทน ไดแก คารักษาพยาบาล รวมตลอดทั้ง คาเสียหายที่ตองขาด ประโยชนทํามาหาได เพราะไมสามารถประกอบการงานนั้น ทั้งในปจจุบันและในอนาคตดวย นอกจากนี้ผูเสียหายยังอาจเรียกคาเสียหาย อันไมอาจคํานวณเปนตัวเงินไดอีกดวย เชน ความเจ็บปวด ทุกขทรมานในระหวางการรักษา แตคาเสียหายนี้เปนการเฉพาะตัว ไมสามารถโอนกันได และไมสืบทอดไปถึงทายาท (ม.446) ☺ นิรโทษกรรม (ม. 438) ถาการทําละเมิดดังกลาว ผูกระทําไดทําไปเพื่อปองกันก็ดี เพราะมีเหตุจําเปนก็ดี หรือเพื่อบําบัดปดปอง ภยันตรายสาธารณะซึ่งมีมาโดยฉุกเฉินก็ดี ผูกระทําละเมิดโดยเหตุดังกลาวนั้นไมจําตองชดใชคาสินไหมทดแทน จัดการงานนอกสั่ง หมายถึง การที่บุคคลใดเขาทํากิจการแทนผูอื่น โดยเขามิไดวานขานวานใชใหทํา หรือไมมีสิทธิจะทําการงาน นั้นแทนผูอื่นดวยประการใดก็ดี ตองจัดการงานนั้นใหเปนประโยชนตามความตองการแทจริงของผูอื่นนั้น หรือตามที่พึง จะสันนิษฐานไดวา เปนความประสงคของเขา ผูที่เขาจัดการก็มีสิทธิเรียกรองคาใชจายนั้นได (ม.395) ถาการเขาจัดการงานนั้น ขัดความประสงคของเขา ผูเขาจัดการไมสามารถเรียกคาใชจายใดๆ ได และถาเกิด ความเสียหายแกทรัพยสินของบุคคลอื่นนั้นแลว ก็ตองชดใชใหกับเขาดวย (ม.396)

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

14 ลาภมิควรได ไดแก กรณีที่บุคคลใดไดมาซึ่งทรัพยสินใด เพราะการที่บุคคลอีกคนหนึ่งกระทําเพื่อการชําระหนี้ก็ดี หรือไดมา ดวยประการอื่นก็ดี โดยปราศจากมูลหนี้อันจะอางกฎหมายใด และการไดมานั้นทําใหบุคคลอีกคนหนึ่งเสียเปรียบ สิ่งที่ ไดมานั้นเปนลาภมิควรได ตองคืนใหผูมีสิทธิไป (ม.406) อยางไรก็ตาม ผูที่ไดทรัพยสินมานั้นไมจําตองคืนทรัพยสินนั้น ใหแกบุคคลตอไปนี้คือ ผูที่ชําระหนี้โดยรูอยูวาไมมีความผูกพัน / ผูชําระหนี้ตามหนาที่ศีลธรรม หรือหนี้ที่ฝาฝนกฎหมาย (ม.408 , 411) เมื่อมีการเรียกคืนลาภมิควรไดนั้น ผูที่รับทรัพยไวโดยสุจริต ตองคืนลาภมิควรได เพียงเทาที่มีอยูหรือตามสภาพ ที่เปนอยูในขณะเมื่อเรียกคืน (ม.412 , 413) สัญญาซื้อขาย ☺ ความหมายของสัญญาซื้อขาย มีลักษณะดังนี้ (ม.453) 1. สัญญาซื้อขายเปนสัญญาที่ตองมีการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยนั้นใหแกผูซื้อ เมื่อคูสัญญาไดแสดงเจตนาตก ลงทําสัญญาซื้อขายแลว กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินนั้นตองโอนไปยังผูซื้อตั้งแตเวลาที่ไดทําสัญญาซื้อขายกันทันที (ม.458) 2. ผูซื้อตกลงจะใชราคาทรัพยสินนั้นใหแกผูขาย “ราคา” ในที่นี้หมายความถึง เงินตราปจจุบันที่สามารถชําระ หนี้ไดตามกฎหมาย มิใชทรัพยสินอยางอื่น เพราะถาหากเปนทรัพยสินอยางอื่นแลว ก็อาจกลายเปนสัญญาแลกเปลี่ยนไป (ม. 518) ☺ สัญญาซื้อขายที่ตองทําตามแบบ 1. อสังหาริมทรัพย (ม.139) ตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ 2. สังหาริมทรัพยชนิดพิเศษ (ม.456) มิฉะนั้น สัญญาซื้อขายจะตกเปนโมฆะ (ม.456) 3. สังหาริมทรัพยราคา 500 บาทขึ้นไป ตองมีหลักฐานเปนหนังสือลงลายมือชื่อฝายผูตองรับผิด หรือตองไดมี การวางมัดจํา หรือไดชําระหนี้บางสวนแลว จึงจะฟองรองบังคับคดีได (ม.456 วรรคทาย) ☺ หนาที่และความรับผิดของผูขาย 1. การสงมอบทรัพยสิน โดยปกติผูขายก็ตองสงมอบใหผูซื้อทันทีเมื่อเกิดสัญญาซื้อขายขึ้น เวนแตคูสัญญาจะ ไดตกลงไวประการอื่น 2. ความรับผิดในความชํารุดบกพรอง เปนเหตุทําใหทรัพยนั้นเสื่อมราคาหรือเสื่อมความเหมาะสมที่จะนํามาใช ประโยชนตามปกติ ผูขายตองรับผิดชอบ (ม. 472) ทั้งนี้โดยผูขายจะรูอยูแลวหรือไมรูวาความชํารุดบกพรองมีอยู เวนแต กรณีดังตอไปนี้ ผูขายไมตองรับผิด (ม.473) 2.1 ถาผูซื้อไดรูอยูแลวแตในเวลาซื้อขายวามีความชํารุดบกพรองหรือควรจะไดรูเชนนั้นหากไดใช ความระมัดระวังอันจะพึงคาดหมายไดแตวิญูชน 2.2 ถาความชํารุดบกพรองนั้นเปนอันเห็นประจักษแลวในเวลาสงมอบ และผูซื้อรับเอาทรัพยสินนั้น ไวโดยมิไดอิดเอื้อน 2.3 ถาทรัพยสินนั้นไดขายทอดตลาด 3. ความรับผิดในการรอนสิทธิ หากมีผูอื่นซึ่งมีสิทธิตามกฎหมาย มารบกวนสิทธิของผูซื้อแลว ผูขายตองรับผิด (ม.475) เวนแตกรณีดังตอไปนี้ ผูขายไมไดรับผิด 3.1 ถาสิทธิของผูกอการรบกวนนั้นผูซื้อรูอยูแลวในเวลาซื้อขาย (ม.476) 3.2 ถาไมมีการฟองคดี และผูขายพิสูจนไดวาสิทธิของผูซื้อไดสูญไปโดยความผิดของผูซื้อเอง (ม.473) 3.3 ถาผูซื้อไมไดเรียกผูขายเขามาในคดี และผูขายพิสูจนไดวา ถาไดเรียกเขามาผูซื้อจะชนะ

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

15 3.4 ถาผูขายไดเขามาในคดี แตศาลไดยกคําเรียกรองของผูซื้อเสียเพราะความผิดของผูซื้อเอง ☺ ขอแตกตางระหวางสัญญาจะซื้อจะขายกับสัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาด “สัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาด” เปนการซื้อขายที่กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินเปลี่ยนมือ หรือโอนไปยังผูซื้อทันที อยางเด็ดขาด เมื่อการซื้อขายสําเร็จบริบูรณ สวนการซื้อขายจะสําเร็จบริบูรณเมื่อใดนั้น นอกจากการตกลงกันแลว ตอง พิจารณาถึงแบบของสัญญาดวย ถาเปนการซื้อขายทรัพยสินชนิดที่กฎหมายกําหนดใหมีแบบแลว ตองทําตามแบบดวย มิฉะนั้น สัญญาซื้อขายก็ตกเปนโมฆะ “สัญญาจะซื้อจะขาย” เปนสัญญาจะโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินจากผูขายไปยังผูซื้อในเวลาภายหนา ขอสังเกต สัญญาจะซื้อจะขายอสังหาริมทรัพย หรือสังหาริมทรัพยชนิดพิเศษนั้น กฎหมายไดกําหนดใหตองมี หลักฐานเปนหนังสือ หรือไดวางมัดจําไว หรือไดชําระหนี้บางสวนแลว จึงจะฟองรองบังคับคดีได (ม.456) สัญญาขายฝาก ☺ ลักษณะของสัญญาขายฝาก (ม.491) มีดังนี้ 1. เปนสัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาด ทําใหกรราสิทธิ์ในทรัพยสินนั้นโอนเปลี่ยนมือจากผูขายไปยังผูซื้อฝากทันที แมจะยังไมมีการสงมอบหรือชําระราคาก็ตาม 2. มีขอตกลงใหผูขายฝากอาจไถทรัพยสินนั้นคืนได ในการทําสัญญาขายฝากไมจําเปนตองใชคําวา “ไถ” อาจ ใชคําอื่นๆ ที่มีความหมายทํานอเดียวกันก็ได เชน “ซื้อกลับคืน” หรือ “ซื้อคืน” เปนตน ☺ แบบของสัญญาขายฝาก ใหนําบทบัญญัติในลักษณะซื้อขายมาใชบังคับ ☺ ระยะเวลาในการใชสิทธิไถคืน (ม.494) มีดังนี้ 1. ถาเปนอสังหาริมทรัพย คูกรณีจะกําหนดระยะเวลาไถคืนไวเกินกวา 10 ปไมได 2. ถาเปนสังหาริมทรัพย คูกรณีจะกําหนดระยะเวลาไถเกินกวา 3 ปไมได 3. ถาคูกรณีกําหนดระยะเวลาไถคืนไวเกิน 10 ป หรือ 3 ป ก็ตองลดลงมาเหลือเพียง 10 ป หรือ 3 ป แลวแต ประเภททรัพย (ม.495) - ในกรณีที่ไมมีขอตกลงเกี่ยวกับระยะเวลาไถไว หรือมีการขยายระยะเวลาไถ แตกําหนดเวลาไถ รวมกันทั้งหมดจะตองไมเกินระยะเวลาตามกฎหมาย คือ 10 ป หรือ 3 ป แลวแตกรณี (ม.496) “สินไถ” คือ ราคาไถถอน ซึ่งตองเปนเงินตราเทานั้น จะเอาทรัพยสินอยางอื่นมาไถแทนไมได และถาหากไมได กําหนดสินไถไวในสัญญา กฎหมายถือวา สินไถมีจํานวนเทากับราคาที่ขายฝากไว แตถามีการกําหนดราคาขายฝาก หรือ สินไถไวสูงกวาราคาขายฝากที่แทจริงเกินอัตรารอยละ 15 ตอป กฎหมายกําหนดใหไถได ตามราคาขายฝากที่แทจริง รวมถึงประโยชนตอบแทนอีกรอยละ 15 ตอป (ม.499) ☺ บุคคลผูมีสิทธิไถคืนทรัพยสินและบุคคลผูมีหนาที่รับไถคืนทรัพยสิน โดยปกติบุคคลผูมีสิทธิไถทรัพยสินก็คือ ผูขายฝาก สวนบุคคลผูมีหนารับไถทรัพยสินก็คือ ผูซื้อฝากนั้นเอง อยางไรก็ตาม ทายาทของบุคคลดังกลาวยอมเปนบุคคลผูมีสิทธิไถหรือบุคคลผูมีหนาที่รับการไถดวย นอกจากนี้ บุคคลซึ่งในสัญญาขายฝากไดกําหนดไวใหเปนผูไถได (ม.497 ,498) ถามีการขอไถทรัพยภายในเวลาที่กําหนดไวในสัญญาหรือเวลาที่กําหนดตามกฎหมาย แตผูรับซื้อฝากไมยอม หรือไมอยูรับไถ ผูไถสามารถนําสินไถไปวางไวยังสํานักงานวางทรัพยภายในกําหนดเวลาดังกลาว กฎหมายใหถือวา ทรัพยสินซึ่งขายฝากไวน้ัน ตกเปนกรรมสิทธิ์ของผูไถ ตั้งแตเวลาที่ไดชําระสินไถ หรือวางทรัพยอันเปนสินไถ แลวแต กรณี (ม.492)

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

16 สัญญาเชาทรัพย ☺สัญญาเชาทรัพยมีลักษณะดังนี้ (ม. 537) คือ 1. เปนสัญญาตางตอบแทน สัญญาเชารายใดที่กําหนดใหผูเชาไดประโยชนในทรัพยสินฝายเดียว โดยผูเชาไม ตองมีหนาที่อยางใดๆ แลว สัญญานั้นก็หาเปนสัญญาเชาไม แตอาจเปนสัญญายืม (ม.369) หรือเปนผูอาศัย 2. ผูเชามีสิทธิไดใชหรือไดรับประโยชนจากทรัพยสินที่เชา “ทรัพยสิน” (ม. 138) ที่เปนวัตถุแหงสัญญาเชานี้ จะเปนอสังหาริมทรัพย สังหาริมทรัพยหรือสิทธิใดๆ ก็ได และสิทธิที่จะใชหรือไดรับประโยชนจากทรัพยสินตามสัญญา เชานั้น กฎหมายไดกําหนดไวชัดเจนวาตองเปนระยะเวลาอันมีจํากัด หรือแมจะกําหนดระยะเวลาเชาไวตลอดอายุของผู เชาหรือผูใหเชาก็ได (ม.541) เพราะเทากับเปนการกําหนดระยะเวลาอันมีจํากัดแลว 3. ผูเชาตกลงใหคาเชาเพื่อตอบแทนการใชทรัพยสิน “คาเชา” โดยปกติจะเปนเงินตรา แตคูสัญญาจะตกลงกัน กําหนดคาเชาเปนทรัพยสินอยางอื่นก็ได เพราะไมมีกฎหมายกําหนดหามไวแตอยางใด ☺ แบบการทําสัญญาเชาทรัพย กฎหมายไมไดกําหนดแบบของสัญญาไวแตอยางใด ดังนั้นเพียงแตคูกรณีได มีเจตนาตกลงกัน สัญญาเชาทรัพยก็เกิดขึ้นแลว แตในเรื่องนี้มีกรณียกเวน หากเปนการเชาอสังหาริมทรัพย กฎหมาย กําหนดใหตองมีหลักฐานเปนหนังสือ มิฉะนั้นจะฟองรองบังคับคดีไมได (ม. 538) แบงไดดังนี้ 1. การเชาอสังหาริมทรัพยที่กําหนดระยะเวลาเชาไวไมเกิน 3 ป ตองมีหลักฐานเปนหนังสืออยางใดอยางหนึ่ง ลงลายมือชื่อฝายที่ตองรับผิด มิฉะนั้นจะฟองรองบังคับคดีไมได 2. การเชาอสังหาริมทรัพยที่กําหนดระยะเวลาเชาไวเกิน 3 ป หรือตลอดอายุของผูเชาหรือผูใหเชา ตองทําเปน หนังสือ+จดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ ซึ่งหากไมทําตามก็จะฟองรองบังคับคดีไดแคเพียง 3 ปเทานั้น ☺ หนาที่และความรับผิดของผูใหเชา 1. การสงมอบทรัพยสินที่ใหเชา กฎหมายกําหนดใหผูใหเชาตองสงมอบทรัพยสินที่เชาในสภาพอันซอมแซมดี แลว (ม. 546) และจะตองอยูในสภาพที่เหมาะแกการที่จะใชประโยชนตามสัญญาเชาดวย (ม.548) 2. การจัดใหผูเชาไดใชหรือไดรับประโยชนจากทรัพยสินที่เชาตลอกเวลาการเชา ผูใหเชามีหนาที่ตองดูแล บํารุงรักษา เวนแตการซอมแซมที่มีกฎหมายหรือจารีตประเพณีกําหนดใหผูเชาเปนผูซอมแซมเอง (ม.550) กรณีที่กฎหมายกําหนดใหผูเชาเปนผูรักษาและซอมแซม ไดแกการบํารุงรักษาตามปกติ และการซอมแซมเล็กๆ นอยๆ (ม. 553) ☺ หนาที่และความรับผิดของผูเชา 1. หนาที่ในการชําระคาเชา หากไมมีการตกลงกันไว ใหชําระเมื่อสิ้นระยะเวลาการเชาแตละคราว (ม.559) 2. หนาที่ในการสงวนรักษาทรัพยสินที่เชานั้นเสมอกับวิญูชนจะพึงสงวนทรัพยสินของตนเอง เชน 2.1 ในการใชประโยชนจากทรัพยสินที่เชานั้น ผูเชาตองใชตามที่กําหนดไวในสัญญาหรือตามปกติ ประเพณีเทานั้น (ม.552) 2.2 ในการใชทรัพยสิน ผูเชาตองสงวนรักษาทรัพยสินนั้นเสมอที่วิญูชนจะพึงสงวนทรัพยสินของ ตนเอง (ม.553) 3. หนาที่ในการคืนทรัพยสินที่เชา มีขอยกเวน คือ การเชาที่นา และสัญญาไดครบกําหนดลงในขณะที่ผูเชาได เพราะปลูกขาวแลว ผูเชาก็มีสิทธิที่จะครอบครองใชประโยชนในนานั้นตอไปจนกวาจะเก็บเกี่ยวเสร็จ แตทั้งนี้ผูเชาก็ตอง ชําระคาเชาในระหวางนั้นดวย (ม.571) ในการสงคืนทรัพยสินที่เชานั้น กฎหมายกําหนดใหผูเชาตองสงทรัพยสินคืนใน สภาพอันซอมแซมดีแลวเชนกัน (ม.561) ☺ การสิ้นสุดของสัญญาเชาทรัพย

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

17 1. กรณีที่สัญญาเชาระงับไปดวยผลของกฎหมาย อาจมีไดโดยเหตุตอไปนี้ คือ 1.1 เมื่อสิ้นกําหนดเวลาเชาตามที่ตกลงไวในสัญญา กฎหมายกําหนดใหสัญญาเชาระงับเมื่อสิ้น กําหนดเวลาที่ไดตกลงกันไว โดยมิพักตองบอกกลาว (ม.564) 1.2 เมื่อผูเชาตาย สัญญาเชาทรัพยนั้นคุณสมบัติของผูเชาเปนสาระสําคัญ สิทธิการเชาจึงเปนสิทธิ เฉพาะตัวของผูเขา อันไมอาจตกทอดเปนมรดกแกทายาทได 1.3 เมื่อทรัพยที่เชานั้นสูญหายไปทั้งหมด (ม.567) 2. กรณีที่สัญญาเชาระงับไปดวยการบอกเลิกสัญญา อาจมีไดโดยเหตุตอไปนี้ คือ 2.1 กรณีที่มีขอตกลงในสัญญาเชาระบุใหสิทธิบอกเลิกสัญญาแกคูสัญญาเอาไวโดยเฉพาะ 2.2 เมื่อคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งปฏิบัติผิดหนาที่ตามสัญญาเชาในขอสําคัญ เชน ถาผูเชาไมชําระคาเชา ผูใหเชาจะบอกเลิกสัญญาเสียก็ได (ม.560) 2.3 กรณีที่ไมไดกําหนดระยะเวลาสิ้นสุดของสัญญาไว และไมอาจสันนิษฐานไดวาระยะเวลาเชาจะ สิ้นสุดลงเมื่อใดแลว กฎหมายไดกําหนดใหสิทธิในการบอกเลิกสัญญาแกคูกรณีทั้งสองฝายไว แตในการบอกเลิกสัญญา เชานั้นตองบอกกลาวใหอีกฝายหนึ่งรูตัวกอนชั่วกําหนดเวลาชําระคาเชาระยะหนึ่งเปนอยางนอย แตไมจําตองบอกกลาว ลวงหนาเกินกวา 2 เดือน (ม.566) สัญญาตางตอบแทนพิเศษยิ่งกวาสัญญาเชาธรรมดา คือ นอกจากจะตองชําระคาเชาเพื่อตอบแทนการไดใชหรือไดรับประโยชนจากทรัพยสินที่เชาแลว ผูเชายังตอง ชําระหนี้อยางใดอยางหนึ่งเปนการตอบแทนที่ไดเขาทําสัญญาเชานั้นยิ่งไปกวาการชําระคาเชาธรรมดาอีกดวย ดังนั้น แม ไมไดทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ ก็ใชบังคับตามขอตกลงได ขอสังเกต คาเชาที่มีเงินกินเปลาหรือเงินแปะเจี๊ยะ นั้น ถือวาเปนสวนหนึ่งของเงินคาเชา จึงไมใชสัญญาตาง ตอบแทนพิเศษยิ่งกวาสัญญาเชาธรรมดา ผลทางกฎหมายของสัญญาเชาตางตอบแทนพิเศษ การทําสัญญาเชาตางตอบแทนพิเศษ แมจะเปนการเชาอสังหาริมทรัพย ก็ไมจําเปนตองมีหลักฐานเปนหนังสือ แตอยางใด และสัญญาเชาตางตอบแทนพิเศษนี้ แมผูเชาตาย สัญญาเชาก็ไมระงับ ทายาทของผูเชามีสิทธิเชาตอไปได จนกวาจะครบกําหนดสัญญา สัญญาเชาซื้อ มีลักษณะดังนี้ คือ (ม.572) 1. เปนสัญญาซึ่งเจาของทรัพยสินนําทรัพยสินออกใหเชา 2.มีคํามั่นของเจาของทรัพยสินวาจะขายหรือใหทรัพยสินนั้นตกเปนกรรมสิทธิ์แกผูเชาซื้อ หากไดปฏิบัติตาม เงื่อนไขที่กําหนดไวในสัญญาครบถวนแลว แบบของสัญญาเชาซื้อ ไมวาจะเปนการเชาซื้อสังหาริมทรัพยหรืออสังหาริมทรัพยก็ตาม กฎหมายไดกําหนด แบบของสัญญาเชาซื้อไว คือ ตองทําเปนหนังสือลงลายมือชื่อของคูสัญญาในสัญญาทั้งสองฝาย ถาฝายใดมิไดลงลายมือ ชื่อ จะถือวาฝายนั้นทําหนังสือดวยมิได มิฉะนั้นสัญญาตกเปนโมฆะ (ม.572 วรรคสอง) ความระงับแหงสัญญาเชาซื้อ 1. โดยการบอกเลิกของผูเชาซื้อ โดยการสงมอบทรัพยสินกลับคืนใหแกเจาของ (ม.573) 2. โดยการบอกเลิกสัญญาของผูใหเชาซื้อ มีสาเหตุ 2 ประการ คือ

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

18 2.1 เมื่อผูเชาซื้อผิดนัดไมใชเงินสองคราวติดๆ กัน (ม.574) หากเปนการผิดนัดไมใชเงินในงวดสุดทาย ผูใหเชาซื้อจะตองบอกเลิกสัญญาไดตอเมื่อระยะเวลาการใชเงินไดพนกําหนดไปอีกงวดหนึ่งแลว (ม.574) 2.2 เมื่อผูเชาซื้อกระทําผิดสัญญาในขอที่เปนสวนสําคัญ (ม.574) ผลของการบอกเลิกสัญญา ผูใหเชาซื้อซึ่งเปนเจาของทรัพยสินชอบที่จะกลับเขาครอบครองทรัพยสินนั้น และ ริบเงินทั้งหมดที่ผูเชาซื้อไดชําระมาแลว (ม.574) ขอแตกตางระหวางสัญญาเชาซื้อกับสัญญาเชาทรัพย 1. สัญญาเชาทรัพย ผูเชามีสิทธิครอบครองใชประโยชนจากทรัพยสินที่เชาโดยไมมีทางจะไดกรรมสิทธิ์เลย ไม วาจะเชากันนานเทาใด / แตสัญญาเชาซื้อ ผูเชาซื้อนอกจากมีสิทธิครอบครองใชประโยชนจากทรัพยสินที่เชาแลว ยังอาจ ไดสิทธิในทรัพยสินนั้นหากไดชําระเงินครบจํานวนครั้งตามที่กําหนดในสัญญา 2. คาเชาในสัญญาเชาทรัพยนั้น จะเปนเงินหรือทรัพยสินอยางอื่นก็ได / แตคาเชาซื้อนั้นกฎหมายระบุไวชัดเจน วาตองเปนเงินเทานั้น (ม.572) 3. สัญญาเชาซื้อเปนสัญญาที่ตองทําตามแบบ คือ ตองทําเปนหนังสือ มิฉะนั้นตกเปนโมฆะ / แตสัญญาเชา ทรัพยไมตองทําตามแบบแตอยางใด สัญญาจางแรงงาน คือ สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งรียกวา ลูกจาง ตกลงจะทํางานใหแกบุคคลอีกบุคคลหนึ่ง เรียกวา นายจาง และนายจาง ตกลงจะใหสินจางตลอดเวลาที่ทํางานให (ม.575) การจางแรงงานนี้ รวมถึงการใชความรูความสามารถดวย เชน จางครู มาสอนหนังสือ เปนตน ☺สัญญาจางแรงงานมีลักษณะดังนี้ 1. ตองมีการตกลงเปนนายจางและลูกจางกัน 2. เปนสัญญาตางตอบแทน 3. สาระสําคัญอยูที่คูสัญญา นายจางจะโอนสิทธิของตนใหแกบุคคลภายนอกไดก็ตอเมื่อลูกจางยินยอมพรอมใจ ดวย ทํานองเดียวกัน ลูกจางจะใหบุคคลภายนอกทํางานแทนตนไมไดถานายจางไมยินยอมดวย ถาคูสัญญาฝายใดทําการ ฝาฝนความยินยอมนี้ คูสัญญาอีกฝายหนึ่งจะบอกเลิกสัญญาเสียก็ได (ม.577) 4. เปนสัญญาไมมีแบบ เพียงตกลงดวยวาจาก็ใชไดแลว ☺หนาที่ของลูกจาง 1. ตองทํางานดวยตนเอง จะใหคนอื่นทํางานแทนไมได ถานายจางไมยินยอมดวย (ม.577) 2. ตองทําการใหไดตามที่ตนรับรองไว เมื่อไดแสดงออกโดยชัดแจง หรือโดยปริยายวาเปนเปนผูมีฝมือพิเศษ (ม. 578) 3. ตองปฏิบัติตามและเชื่อฟงคําสั่งของนายจางที่ชอบดวยกฎหมาย และตองปฏิบัติงานดวยความซื่อสัตยสุจริต รักษาความลับในการงานของนายจาง ☺ หนาที่ของนายจาง 1. ตองใหสินจางแกลูกจาง แมวาจะมิไดตกลงกันไววามีสินจางหรือไม ถาตามพฤติการณไมอาจคาดหมายไดวา งานนั้นจะพึงทําใหเปลา ตองถือวา มีคํามั่นวาจะใหสินจาง (ม. 576) สวนการจายสินจางนั้น ถาไมไดกําหนดไวโดย สัญญาหรือจารีตประเพณีใหจายเมื่อทํางานเสร็จ ถากําหนดไวเปนระยะเวลา ใหจายเมื่อสุดระยะเวลาเชนนั้นทุกคราวไป (ม.580) 2. ตองออกหนังสือรับรองผลงานและระยะเวลาที่ทํางานใหแกลูกจาง (ม.585)

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

19 3. ถาลูกจางมาจากตางถิ่น ซึ่งนายจางไดออกคาเดินทางมาให เมื่อการจางสิ้นสุดลงนายจางพึงออกคาเดินทาง กลับใหดวย เวนแตการเลิกจางนั้น เนื่องมาจากการกระทําหรือความผิดของลูกจาง (ม.586) ถานายจางไมทําตามหนาที่ ลูกจางชอบที่จะบอกเลิกสัญญาได และถาเกิดความเสียหายอยางใดๆ ลูกจางยอม เรียกคาเสียหายได (ม. 215) ☺ ความระงับแหงสัญญาจางแรงงาน 1.เมื่อครบกําหนดในสัญญาจาง หรือมีการบอกเลิกสัญญา 2. สัญญาจางแรงงานระงับเมื่อคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งถึงแกความตาย (ม.584) 3. การเลิกสัญญาตามกฎหมาย ซึ่งไดแก 3.1 เมื่อนายจางหรือลูกจางทําผิดหนาที่ อีกฝายหนึ่งบอกเลิกสัญญาได (ม.577 และ ม.583) 3.2 เมื่อลูกจางขาดคุณสมบัติที่ไดใหคํารับรองไวหรือไรฝมือ (ม.578) 3.3 เมื่อลูกจางขาดงานไปโดยไมมีเหตุอนั สมควร และเปนระยะเวลานานเกินสมควร 3.4 เมื่อมีการบอกกลาวเลิกสัญญาลวงหนา เมื่อถึงกําหนดหรือกอนจะถึงกําหนดจายสินจางคราวใด คราวหนึ่ง เพื่อใหเปนผลเลิกสัญญากัน เมื่อถึงกําหนดจายสินจางคราวถัดไปขางหนา (ม.582) 4. การทํางานของลูกจางตกเปนพนวิสัย ☺ อายุความในการฟองรองคดี เปนไปตามบทบัญญัติทั่วไป คือ 10 ป (ม.193/30) สัญญาจางทําของ ☺ หลักเกณฑที่สําคัญ (ม.587) มีดังนี้ 1. เปนสัญญาตางตอบแทน 2. เปนสัญญาที่มุงถือผลสําเร็จของงาน 3. ไมมีแบบ ☺ หนาที่และความรับผิดของผูรับจาง 1. ตองทํางานใหสําเร็จตามสัญญา (ม.587) 2. ตองจัดหาเครื่องมือตางๆ สําหรับใชในการทํางาน (ม.588) 3. ถาผูรับจางเปนผูจัดหาสัมภาระ ตองจัดหาชนิดที่ดี (ม.589) ถาผูวาจางเปนผูจัดหา ผูรับจางตองใชสัมภาระ ดวยความระมัดระวังและประหยัด เมื่อทําเสร็จแลวตองคืนสัมภาระที่เหลือ (ม.590) 4. ตองรับผิดชอบในความชักชาของงานที่ทํา เวนแตความชักชานั้นเกิดจากความผิดของผูวาจาง (ม.593) 5. ตองยอมใหผูวาจางหรือตัวแทนตรวจตราการงาน (ม.592) 6. ตองแกไขความบกพรองที่เกิดขึ้นในระหวางที่ทํางานนั้น (ม.594) 7. ตองรับผิดชอบในความชํารุดบกพรองภายหลังการสงมอบ เพียงที่ปรากฏขึ้นภายใน 1 ป นับแตวันสงมอบ หรือภายใน 5 ป ถาเปนสิ่งปลูกสรางบนพื้นดิน (ม.600) 8. ถาผูวาจางยอมรับการที่ทําบกพรองนั้น โดยไมอิดเอื้อน ผูรับจางไมตองรับผิด เวนแตความชํารุดบกพรองนั้น จะไมพึงพบไดในขณะรับมอบ หรือผูรับจางไดปดบังความนั้นเสีย (ม.598) 9. ตองทําการใหเสร็จและสงมอบใหตรงตามเวลาที่ตกลงกันไว ( ม. 596) หากสงมอบลาชา ผูวาจางชอบที่จะ ลดสินจางลง เวนแตความลาชาจะเกิดจากความผิดของผูวาจาง ☺ หนาที่และความรับผิดชอบของผูวาจาง

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

20 1. หนาที่ในการจายสินจาง ตามจํานวนและเวลาที่ตกลงกัน เวนแตจะมีเหตุใหไมตองจายสินจาง หรือมีเหตุให ลดสินจาง 2. รับผิดเมื่อผูวาจางมีสวนผิดในกรณีสั่งใหทําหรือในการเลือกผูรับจาง หรือในคําสั่งที่ตนไดใหไว (ม.591) อนึ่ง เมื่อการงานที่ทําพังทลาย สูญหายไปกอนสงมอบโดยมิใชความผิดของฝายใด - ถาผูรับจางเปนผูจัดสัมภาระ ความวินาศนั้น ตกเปนพับแกผูรับจาง สินจางไมตองใช (ม.603) - ถาผูวาจางเปนผูจัดสัมภาระ ความวินาศนั้น ตกเปนพับแกผูวาจาง สินจางไมตองใช (ม.604) ☺ ความระงับแหงสัญญาจางทําของ 1. เมื่อผูรับจางทํางานเสร็จ แลวสงมอบใหแกผูวาจาง และไดรับคาจางครบถวนแลว 2. เมื่อคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งใชสิทธิเลิกสัญญา 3. สัญญาเลิกกันโดยผลของกฎหมาย 3.1 ผูวาจางบอกเลิกสัญญาเสียเมื่อใดก็ได ถาการที่จางยังไมเสร็จ แตตองชดเชยคาเสียหายที่จะพึงมี ใหแกผูรับจาง (ม.605) 3.2 เมื่อผูรับจางตายหรือตกเปนผูไมสามารถทําการงานนั้นได ถาสาระสําคัญของสัญญาอยูที่ความรู ความสามารถของผูรับจาง (ม.606) สัญญาจางระงับ แตตองใชสินจางตามสวนของการงานที่ทําไปแลว ☺ อายุความการฟองรองเพื่อใหผูรับจางรับผิดในความชํารุดบกพรอง ตองฟองภายใน 1 ปนับแตวันที่ความ ชํารุดบกพรองไดปรากฏขึ้น (ม.601) สัญญายืมใชคงรูป ☺ หลักเกณฑที่สําคัญ (ม.640) ดังนี้ คือ 1. เปนสัญญาไมมีคาตอบแทน 2. เปนสัญญาที่ไมโอนกรรมสิทธิ์ 3. วัตถุแหงสัญญายืมใชคงรูปคือทรัพยสิน ☺ หนาที่ของผูยืม 1. หนาที่ในการเสียคาใชจายตางๆ และคาบํารุงรักษาทรัพยสิน (ม.647) คาใชจายในการสงมอบทรัพยสินคืน (ม. 642) 2. หนาที่ในการใชสอยทรัพยสินและสงวนรักษาทรัพยสินที่ยืม และตองใชทรัพยสินดวยตนเอง จะนําไมให ผูอื่นใชไมได (ม.643) 3. หนาที่ในการสงคืนทรัพยสินที่ยืมเมื่อใชเสร็จ ☺ ความระงับแหงสัญญายืมใชคงรูป 1. ในกรณีที่สัญญาไดกําหนดระยะเวลายืมไว สัญญาจะระงับเมื่อสิ้นกําหนดระยะเวลาตามสัญญา 2. ในกรณีท่สี ัญญาไมไดกําหนดระยะเวลายืมไว ผูใหยืมมีสิทธิเรียกคืนเมื่อใดก็ได (ม.646 วรรคสอง) 3. สัญญายืมใชคงรูปจะระงับไปเมื่อผูยืมตาย (ม.648) 4. สัญญายืมใชคงรูปจะระงับไปเมื่อผูใหยืมบอกเลิกสัญญา ในกรณีที่ผูยืมผิดสัญญา (ม.645) สัญญายืมใชสิ้นเปลือง ☺ หลักเกณฑที่สําคัญ (ม.650) ดังนี้

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

21 1. สัญญายืมใชสิ้นเปลืองอาจเปนสัญญามีคาตอบแทนก็ได 2. เปนสัญญาที่มีการโอนกรรมสิทธิ์ 3. วัตถุแหงสัญญายืมใชสิ้นเปลืองคือทรัพยสินชนิดใชไปสิ้นไป ☺ หนาที่ของผูยืม ตองสงมอบทรัพยสินประเภท ชนิด และปริมาณเชนเดียวกันใหแกผูใหยืม เมื่อสัญญายืม ระงับสิ้นไป (ม.640) สัญญากูยืมเงิน ☺ มีหลักดังนี้ (ม.653) คือ ในการยืมเงินที่มีจํานวนเกินกวา 50 บาทขึ้นไปนั้น ตองมีหลักฐานเปนหนังสืออยาง ใดอยางหนึ่งลงลายมือชื่อผูยืมเปนสําคัญ มิฉะนั้นจะฟองรองบังคับคดีไมได ☺ สัญญากูยืมเงินที่คิดดอกเบี้ย ดอกเบี้ยนั้นจะเปนเงินตราหรือจะเปนทรัพยสินอยางอื่นก็ได ในการคิดดอกเบี้ยนั้นคูสัญญาจะคิดดอกเบี้ยเกิน กวารอยละ 15 ตอปไมได ถาคูสัญญาฝาฝนก็จะมีผลทําใหดอกเบี้ยทั้งหมดตกเปนโมฆะ แตในสวนของตนเงินนั้นยังคง ใชได เพราะสามารถแยกสวนตนเงินซึ่งสมบูรณออกจากสวนดอกเบี้ยได (ม.173) หากคูสัญญากําหนดใหคิดดอกเบี้ยแตไมไดกําหนดอัตราดอกเบี้ยไว ใหคิดรอยละ 7.5 ตอป (ม.7) การคิดดอกเบี้ยทบตน หากคูสัญญาไดตกลงกันไวเปนหนังสือวา ใหคดิ ดอกเบี้ยทบตนไดในกรณีที่ดอกเบี้ยได คางชําระไมนอยกวา 1 ปแลว (ม. 654) กับกรณีมีประเพณีการคาขายใหคิดดอกเบี้ยทบตนได สัญญาฝากทรัพย ☺ มีหลักดังนี้ (ม.657) 1. เปนสัญญาที่สมบูรณเมื่อสงมอบทรัพย (ถาไมมีการสงมอบ ถึงแมวาจะไดทําเปนหนังสือกันแลว สัญญานั้น ก็ไมสมบูรณ ฟองรองบังคับคดีกันไมได 2. วัตถุแหงสัญญาเปนทรัพยสิน 3. ผูรับฝากตองเก็บรักษาไวในอารักขาแหงตน ☺ คาบําเหน็จในการฝากทรัพย กฎหมายใหถือวาเปนการฝากทรัพยมีบําเหน็จ (ม.658) ฉะนั้นแมจะไมไดตก ลงคาฝากไวตอกัน ก็สามารถเรียกรองกันได ☺ หนาที่ของผูรับฝาก 1. หนาที่ใชความระมัดระวังในการสงวนทรัพยสิน แยกไดเปน 3 กรณี คือ (ม.659) 1.1 การรับฝากโดยไมมีบําเหน็จคาฝาก ผูรับฝากตองใชความระมัดระวังเหมือนเชนเคยประพฤติใน กิจการของตนเอง 1.2 การรับฝากโดยมีบําเหน็จคาฝาก ผูรับฝากตองใชความระมัดระวังเหมือนวิญูชนจะพึงกระทํา 1.3 การรับฝากโดยผูมีวิชาชีพเฉพาะ ตองใชความระมัดระวังเชนผูมีอาชีพเชนนั้นจะตองใชดวยหาก ใชความระมัดระวังธรรมดา ทรัพยที่ฝากเสียหายหรือสูญหายไป ผูรับฝากก็อาจไมพนความรับผิด 2. หนาที่เก็บรักรักษาทรัพยสินซึ่งฝากดวยตนเอง ถาผูฝากมิไดอนุญาต และผูรับฝากเอาทรัพยสินซึ่งฝากนั้น ออกใชสอยเอง หรือเอาไปใหบุคคลภายนอกใชสอย หรือใหบุคคลภายนอกเก็บรักษา ผูรับฝากจะตองรับผิดเมื่อทรัพยสิน ซึ่งฝากนั้นสูญหายหรือบุบสลายอยางหนึ่งอยางใด แมจะเปนเหตุสุดวิสัย เวนแตจะพิสูจนไดวา ถึงอยางไร ทรัพยสินนั้นก็ คงจะตองสูญหาย หรือบุบสลายอยูนั้นเอง (ม.660)

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

22 3. หนาที่ตองรีบบอกกลาวแกผูรับฝากโดยพลัน ถามีบุคลภายนอกมาอางวา มีสิทธิเหนือทรัพยสินซึ่งฝากและ ยื่นฟองผูรับฝากก็ดี หรือมายึดทรัพยสินนั้นก็ดี (ม.661) 4. หนาที่คืนทรัพยสินที่รับฝากไว 4.1 การคืนเมื่อถึงกําหนด (ม.662) เวนแตมีเหตุจําเปนอันมิอาจกาวลวงเสียได ถึงจะคืนกอน กําหนดได 4.2 การคืนกอนกําหนด (ม.663) หากผูรับฝากเรียกคืน 4.3 การคืนทรัพยสินไดทุกเมื่อ (ม.664) ถาคูสัญญาไมไดกําหนดเวลาสงคืนไว 4.4 ผูรับฝากมีหนาที่ตองคืนทรัพยสินใหแกบุคคลที่ควรเปนผูรับคืน (ม.665) 5. ตองคืนดอกผลอันเกิดแตทรัพยที่ฝาก (ม.666) ☺ หนาที่ของผูฝาก 1.หนาที่เสียคาใชจายในการคืนทรัพยสินซึ่งฝาก (ม.667) 2. หนาที่เสียคาใชจายอันควรแกการบํารุงรักษาทรัพยสินซึ่งฝาก (ม.668) 3. หนาที่เสียคาบําเหน็จ (ม.669) ☺ สิทธิยึดหนวงของผูรับฝาก ผูรับฝากชอบที่จะยึดหนวงเอาทรัพยสินซึ่งฝากนั้นไวได จนกวาจะไดรับเงิน บรรดาที่คางชําระแกตนเกี่ยวดวยการฝากทรัพยนั้น ☺ อายุความ 6 เดือน สําหรับ 3 กรณี คือ (ม.671) 1. เรียกรองใหใชเงินบําเหน็จคาฝากทรัพย 2. เรียกรองใหใชเงินคาใชจายที่เสียไปเกี่ยวกับทรัพย 3. เรียกรองใหใชคาสินไหมทดแทนเกี่ยวกับการฝากทรัพย ไดแกกรณีทรัพยสินที่ฝากบุบสลายโดยไมถึงกับ สูญหาย อันเปนความผิดของผูรับฝาก ถาเปนการฟองเรียกรองโดยอาศัยเหตุอื่น ใชอายุความ 10 ปตามหลักทั่วไป วิธีเฉาะการฝากเงิน เกี่ยวกับการฝากเงิน กฎหมายบัญญัติรายละเอียดไวเพียง 2 ประการเทานั้น (ม.672 และ 673) แตหลักใหญก็ยัง ตองใชหลักทั่วไปในเรื่องการฝากทรัพยประกอบดวย 1. ผูรับฝากไมตองคืนเงินตราอันเดียวกับที่ฝาก 2. ผูรับฝากใชเงินที่ฝากได สัญญาค้ําประกัน ☺ หลักมีดังนี้ (ม.680) 1. เปนเรื่องที่ผูค้ําประกันทําสัญญาผูกพันตนตอเจาหนี้วาจะชําระหนี้ใหเมื่อลูกหนี้ไมชําระหนี้ 2. สัญญาค้ําประกันเปนสัญญาอุปกรณ กลาวคือ จะตองมีหนี้ใหค้ําประกัน ดังนั้น ถาหนี้ดังกลาวไมชอบดวย กฎหมายก็ดี หรือระงับสิ้นไปดวยเหตุใดๆ ก็ดี สัญญาค้ําประกันยอมสิ้นผลไปดวย (ม.681 วรรคหนึ่ง) ☺ แบบของสัญญาค้ําประกัน ตองมีหลักฐานเปนหนังสือ ลงลายมือชื่อผูค้ําประกันเปนสําคัญ มิฉะนั้นจะฟองรองบังคับคดีไมได (ม.680 วรรคสอง) แตเจาหนี้ยังคงสามารถฟองใหลูกหนี้ชําระหนี้ใหตามมูลหนี้สัญญาประธานได

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

23 ☺ ความรับผิดของผูค้ําประกัน เมื่อถึงกําหนดชําระหนี้แลว ลูกหนี้ไมชําระหนี้ ก็ถือวาลูกหนี้ผิดนัด (ม.204) เจาหนี้ชอบที่จะเรียกใหผูค้ํา ประกันชําระหนี้ไดเมื่อนั้น (ม.686) แตผูค้ําประกันก็ยังสามารถเกี่ยงใหเจาหนี้ไปรับชําระหนี้จากทรัพยสินของลูกหนี้ กอนได หากผูค้ําประกันสามารถพิสูจนไดวาลูกหนี้นั้นมีทางที่จะชําระหนี้ได และการที่จะบังคับใหลูกหนี้ชําระหนี้นั้น ไมเปนการยาก (ม.689) ☺ ความระงับแหงสัญญาค้ําประกัน 1. เมื่อหนี้ของลูกหนี้ระงับสิ้นไป 2. เมื่อผูค้ําประกันบอกเลิกการค้ําประกันสําหรับกิจการที่ตอเนื่องกันหลายคราว ไมจํากัดเวลาเปนคุณแกเจาหนี้ (ม.699) 3. เมื่อเจาหนี้ยอมผอนเวลาใหกับลูกหนี้ โดยไมไดรับความยินยอมจากผูค้ําประกัน (ม.700) 4. เมื่อเจาหนี้ไมยอมรับชําระหนี้จากผูค้ําประกัน โดยไมมีเหตุอันจะอางกฎหมายไดแลว (ม.701) สัญญาจํานอง ☺ มีหลักดังนี้ (ม.702 วรรคหนึ่ง) 1. เปนเรื่องที่ผูจํานองนําทรัพยสินไปตราไวแกผูรับจํานองเพื่อประกันการชําระหนี้ ถาลูกหนี้ไมชําระหนี้เมื่อถึง กําหนด เจาหนี้ก็สามารถบังคับชําระหนี้จากทรัพยสินที่จํานองได (ม.702 วรรคสอง) 2. ผูจํานองไมตองสงมอบทรัพยสินใหแกผูรับจํานอง ผูจํานองยังคงมีกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินนั้นอยู 3. สัญญาจํานองเปนสัญญาอุปกรณ (ม.707) ☺ ทรัพยสินที่จํานองได (ม.703) 1. อสังหาริมทรัพย (ม.139) 2. สังหาริมทรัพยชนิดพิเศษที่ไดจดทะเบียนไวแลวตามกฎหมาย ไดแก (ก) เรือกําปน หรือเรือมีระวางตั้งแต 6 ตันขึ้นไป เรือกลไฟ หรือเรือยนตมีระวางตั้งแต 5 ตันขึ้นไป (ข) แพ (floating house) (ค) สัตวพาหนะ 3. สังหาริมทรัพยอื่นๆ ซึ่งกฎหมายหากบัญญัติไวใหจดทะเบียนเฉพาะการ เชน เครื่องจักรกลโรงงาน ☺ แบบของสัญญาจํานอง ตองทําเปนหนังสือ และจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ หากไมปฏิบัติตาม สัญญาจํานองเปนโมฆะ (ม.152) ☺ ความรับผิดชอบของผูจํานอง เมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระแลวและลูกหนี้ไมชําระหนี้นั้น เจาหนี้ก็มีสิทธิที่จะฟองรองบังคับจํานอง (ม.728) โดยนําทรัพยสินที่จํานองนั้นออกขายทอดตลาดเพื่อนําเงินมาชําระหนี้ได และจํานองนั้นครอบไปถึงทรัพยที่ติด อยูกับที่ดินที่จํานองดวย ☺ สิทธิของผูจํานอง ผูจํานองมีสิทธิที่จะไถถอนทรัพยสินที่จํานองได ถามีการจํานองซอนกันหลายราย ผูที่รับจดทะเบียนจํานอง กอนยอมมีสิทธิไดรับชําระหนี้กอนตามลําดับไป (ม.730) ถาหนี้ของผูรับจดทะเบียนจํานองรายหลังถึงกําหนดชําระกอน ผูรับจํานองรายหลังจะบังคับตามสิทธิของตนใหเสียหายแกผูรับจํานองรายแรก ซึ่งหนี้ยังไมถึงกําหนดชําระไมได หากผูจํานองเปนบุคคลภายนอกที่มิใชลูกหนี้แลว ผูจํานองยังมีสิทธิที่จะไดรับเงินใชคืนจากลูกหนี้ตามจํานวน เงินที่ชําระแทนลูกหนี้ไปดวย (ม.724)

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

24 ☺ ความระงับแหงสัญญาจํานอง (ม.744) 1. เมื่อหนี้ที่ประกันระงับ เชน การแปลงหนี้ใหม อยางไรก็ตาม หากหนี้นั้นไมสามารถพิจารณาบังคับคดีได เพราะขาดอายุความแลว ผูรับจํานองยังคงบังคับตามสัญญาจํานองไดอยู 2. เมื่อปลดจํานองใหแกผูจํานองดวยหนังสือเปนสําคัญ การปลดจํานอง คือ การที่เจาหนี้ยอมสละสิทธิที่จะบังคับจํานองเอาแกทรัพยสินที่จํานองนั้น แตการปลด จํานองนี้หาทําใหหนี้เดิมซึ่งเปนสัญญาประธานระงับไปไม หากจะใหการปลดจํานองนั้นมีผลตามกฎหมายถึง บุคคลภายนอกดวย ก็ตองนําเปนหนังสือปลดจํานองนั้นไปจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ดวย (ม.746) 3. เมื่อขายทอดตลาดทรัพยสินซึ่งจํานองตามคําสั่งศาลอันเนื่องจากการบังคับจํานอง และจะตองมีการจด ทะเบียนความระงับแหงสัญญาจํานองตอพนักงานเจาหนาที่ดวย จึงมีผลสมบูรณตามกฎหมาย สัญญาจํานํา ☺ มีหลักดังนี้ (ม.747) 1. ทรัพยสินที่จํานําตองเปนสังหาริมทรัพย แตสังหาริมทรัพยชนิดพิเศษก็นํามาจํานําได 2. ผูจํานําตองสงมอบทรัพยสินที่จํานําใหแกผูรับจํานํา ผูจํานําในสัญญาจํานํานั้นจะเปนตัวลูกหนี้หรือ บุคคลภายนอกก็ได ถาไมมีการสงมอบทรัพยสินที่จาํ นําสัญญาจํานําก็ไมเกิดขึ้น 3. สัญญาจํานําเปนสัญญาอุปกรณ ☺ ความรับผิดของผูจํานํา เมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระและลูกหนี้ไมชําระหนี้นั้น เจาหนี้ก็มีสิทธิที่จะบังคับจํานําไดตามกฎหมาย (ม.764) โดยนําเอาทรัพยสินที่จํานําไวนั้นออกขายทอดตลาดไดเอง โดยไมจําเปนตองอาศัยคําสั่งศาลใหขายทอกตลาด เพราะทรัพยสินที่จํานําอยูในความครอบครองของผูรับจํานําอยูแลว ☺ สิทธิของผูจํานํา ผูจํานําที่จะถูกบังคับจํานําทรัพยนั้น อาจเขาชําระหนี้ทั้งหมดเสียก็ได ซึ่งจะมีผลทําใหหนี้ประธานระงับไป และ สงผลใหสัญญาจํานําระงับลงดวย และหากเปนกรณีที่ผูจํานําเปนบุคคลภายนอก ผูจํานํายังมีสิทธิที่จะไดรับเงินใชคืนจาก ลูกหนี้ไดอีกดวย ☺ ความระงับแหงสัญญาจํานํา (ม.769) 1. เมื่อหนี้ซึ่งเปนประกันนั้นระงับสิ้นไป ที่ไมใชดวยเหตุอายุความ ถาเปนกรณีขาดอายุความแลว ทรัพยสินที่ จํานํายังอยูกับผูรับจํานํา ก็สามารถบังคับจํานําไดอยู 2. เมื่อผูรับจํานํายอมใหทรัพยสินที่จํานํากลับคืนไปสูความครอบครองของผูจํานํา สัญญาตัวแทน ☺ ความเปนตัวแทนอาจเกิดได 2 ประการ คือ (ม.797) 1. การเปนตัวแทนโดยชัดแจง 2. การเปนตัวแทนโดยปริยาย โดยเกิดจากพฤติการณทําใหเขาใจไดวามีการเปนตัวแทนกันแลว อนึ่ง ผูจะเปนตัวแทนนั้น ตองอาศัยอํานาจของตัวการ ดังนั้น ถาตัวการไมสามารถทํากิจการนั้นไดดวยตนเอง ตัวแทนก็ไมมีอํานาจจัดการ

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

25 ☺ แบบของการตั้งตัวแทน สัญญาตัวแทนตามปกติไมมีแบบ อยูที่ตัวการกับตัวแทนจะตกลงกันอยางไรก็ ตาม กฎหมายไดวางหลักไววา ถากิจการใด กฎหมายบังคับให ตองทําเปนหนังสือ การตั้งแตแทนเพื่อทํากิจการนั้น ตอง ทําเปนหนังสือดวย สวนถากิจการใดกฎหมายบังคับวา ตองมีหลักฐานเปนหนังสือ การตั้งตัวแทนเพื่อกิจการนั้นก็ตองมี หลักฐานเปนหนังสือดวย (ม.798) ถาตัวแทนกระทําไปโดยไมไดรับมอบหมายเปนหนังสือจากตัวการ การกระทํานั้น ยอมไมผูกพันตัวการ ☺ หนาที่ของตัวแทนตอตัวการ ในระหวางอายุสัญญา ตัวแทนมีหนาที่ดังนี้ 1. ตองทําตามที่ไดรับมอบหมาย จะทิ้งหรือเลิกกลางคันไมได 2. ตองทําตามคําสั่งของตัวการ ถาไมมีคําสั่งก็ตองดําเนินการตามธรรมเนียมที่เคยทํากันในกิจการที่เขาใหทํา (ม. 807) 3. ตองทํากิจการนั้นดวยตนเอง เวนแตจะมีอํานาจใหตั้งตัวแทนชวงได (ม.808) 4. ตองกระทําโดยใชความระมัดระวังและใชฝมือตามควร กลาวคือ ถาเปนตัวแทนที่มีบําเหน็จหรือโดยอาชีพ ตองใชฝมือระดับของผูมีวิชาชีพ (ม. 807 วรรคสอง) 5. ตองแจงถึงความเปนไปในกิจการที่ไดรับมอบหมายใหตัวการทราบ (ม.809) 6. ถาไดรับเงินหรือทรัพยสินอยางใดไวแทนตัวการ ตองสงมอบใหแกตัวการทั้งสิ้น (ม.810) 7. ตัวแทนจะทํานิติกรรมกับตัวแทนในนามของตนเองไมได เวนแตตัวการจะยินยอมดวย (ม.805) เมื่อสัญญาสิ้นสุดลง ตัวแทนมีหนาที่ดังนี้ 1.ตองแถลงบัญชี (ม.809) 2. ตองรักษาผลประโยชนของตัวการตามสมควร เมื่อสัญญาตัวแทนสิ้นสุดลง เนื่องมาจากตัวการตาย ตกเปนผู ไรความสามารถ หรือลมละลาย จนกวาทายาทหรือผูรับผิดชอบจะไดเขามาดูแลแทน (ม.828,829) ☺ ความรับผิดของตัวแทนตอตัวการ 1. ถาตัวแทนไดกระทําการไปโดยประมาทเลินเลอ หรือไมทําการเปนตัวแทน หรือทําไปนอกเหนืออํานาจ ตัวแทนตองรับผิดในความเสียหายอยางใดๆ ที่เกิดขึ้น (ม.812) 2. ถาตัวแทนเขาทําสัญญากับบุคคลภายนอก โดยเห็นแกอามิสสินจางหรือทรัพยสินอยางใดๆ สัญญาดังกลาว ไมผูกพันตัวการ เวนแตตัวการจะยินยอมดวย (ม.825) ☺ สิทธิของตัวแทนตอตัวการ 1. สิทธิในเงินที่ตัวแทนทดรองจาย เพื่อใหการทํางานไดลุลวงไป (ม.815) ถาตัวการไมให นอกจากตัวแทนจะ ฟองเรียกคาเสียหายไดแลว ยังอาจปฏิเสธไมทําหนาที่ตัวแทนตอไปได 2. ถาการทํากิจการที่ตัวการมอบหมายให เชน การใชตัวแทนตองเสียหาย โดยไมใชเปนความผิดของตนเอง แลว ตัวแทนจะเรียกคาสินไหมทดแทนจากตัวการก็ได (ม.816 วรรคทาย) 3. ถามีขอตกลงไววาจะใหบําเหน็จ ไมวาโดยตรงหรือโดยปริยาย หรือเคยเปนธรรมเนียมวาตองใหบําเหน็จ ตัวแทนก็มีสิทธิไดรับบําเหน็จ (ม.803) 4. สิทธิยึดหนวงทรัพยของตัวการ (ม.819) ที่อยูในความครอบครองของตนเอาไว จนกวาจะไดรับเงินที่คาง ชําระ เพราะ การเปนตัวแทน ☺ ความระงับแหงสัญญาตัวแทน 1. ตามความตกลงหรือเงื่อนไขในสัญญา 2. ตามกฎหมาย (ม.826) ไดแก กรณีฝายใดฝายหนึ่งตาย ลมละลาย หรือตกเปนผูไรความสามารถ

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

26 สัญญานายหนา “นายหนา” คือบุคคลซึ่งทําสัญญากับบุคคลหนึ่งที่เรียกวาตัวการ ตกลงทําหนาที่เปนคนกลางหรือเปนสื่อชี้ชอง ใหตัวการไดเขาทําสัญญา กับบุคคลภายนอก (ม.845) ☺ บําเหน็จของนายหนา สัญญานายหนานั้น ตามปกติตองถือวามีบําเหน็จ (ม.846) แมจะไมมีขอตกลงกันไว ก็ตองใหบําเหน็จตามธรรม เรียมคือรอยละ 5 สิทธิเรียกคาบําเหน็จเกิดขึ้นเมื่อตัวการกับบุคคลภายนอกไดตกลงกันทําสัญญาเสร็จ แมตอมาจะมีการ บอกเลิกสัญญาภายหลัง ก็ตองจายคาบําเหน็จให ☺ อายุความฟองรองเรียกคานายหนา ใชอายุความ 10 ป ตามบทบัญญัติทั่วไป

ประกันภัย ☺ หลักเกณฑเฉพาะของสัญญาประกันภัย มี 3 ประการ คือ (ม.861) 1. เปนสัญญาตางตอบแทน คือ ผูเอาประกันภัยเปนลูกหนี้ที่จะตองชําระเบี้ยประกันภัย และเปนเจาหนี้ที่จะ ไดรับชดใชคาสินไหมทดแทนหรือเงินจํานวนหนึ่ง เมื่อมีเหตุในอนาคตตามสัญญาไดเกิดขึ้น 2. เปนสัญญาที่มีเงื่อนไขอันไมแนนอน เพราะเปนภัยที่ไมมีใครคาดคิดลวงหนาไดวาจะเกิดแกใคร เมื่อใด 3. เปนสัญญาที่รัฐควบคุม สัญญาประกันวินาศภัย เปนสัญญาที่มุงหมายชดใชคาสินไหมทดแทน ความเสียหายที่เกิดขึ้นอันสามารถคํานวณเปนราคาเงินได (ม. 867 วรรคสอง) ☺ สิทธิของผูเอาประกันภัย 1. สิทธิขอลดเบี้ยประกัน ถาภัยนั้นไดหมดไป โดยมีความเสี่ยงลดลง (ม.864) 2. สิทธิขอลดจํานวนเงินซึ่งเอาประกันภัย ถามูลประกันภัยไดลดนอยถอยลงไปมาก (ม.873) 3. สิทธิที่จะเรียกใหผูรับประกันหาหลักประกัน หรือจะบอกเลิกสัญญา ในกรณีที่ผูรับประกันภัยตองคํา พิพากษาใหเปนคนลมละลาย (ม.876 วรรคหนึ่ง) 4. สิทธิที่จะไดรับชดใชคาสินไหมทดแทน (ม.877) 5. สิทธิบอกเลิกสัญญา ตามหลักเรื่องหนี้ (ม.987-389) และยังบอกเลิกสัญญากอนเริ่มเสียงภัย (ม.872) หรือเมื่อ ผูรับประกันภัยตองคําพิพากษาใหลมละลาย (ม.876) หรือเลิกสัญญาเมื่อบริษัทออกกรมธรรมประกันภัยโดยใชแบบหรือ ขอความที่นายทะเบียนไมเห็นชอบดวย เปนตน ☺ หนาที่ของผูเอาประกันภัย 1. หนาที่เปดเผยความจริง ผูเอาประกันภัยตองแถลงความจริงขณะทําสัญญา (ม.865) 2. หนาที่ชําระเบี้ยประกัน 3. หนาที่บอกกลาวเมื่อเกิดวินาศภัยแกผูรับประกันภัย โดยไมชักชา (ม.881) 4. หนาที่ปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญา ถาปฏิบัติ ผูรับประกันภัยอาจหลุดพนความรับผิดได ☺ สิทธิของผูรับประกันภัย

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

27 1. สิทธิเรียกเบี้ยประกัน แมวาเหตุที่ไดประกันภัยไว จะไมไดเกิดขึ้นเลยก็ตาม 2. สิทธิขอลดคาสินไหมทดแทน ในกรณีที่คูสัญญาไดกําหนดราคาแหงมูลประกันไวสูงเกินมาก (ม.874) 3. สิทธิเรียกคาสินไหมทดแทน เมื่อมีเหตุวินาศภัยตามสัญญาเกิดขึ้น ผูเอาประกันภัยหรือผูรับประโยชนที่ ทราบความวินาศภัยขึ้นแลว มีหนาที่ตองแจงใหผูรับประกันภัยทราบโดยมิชักชา ถาไมแจง แลวเกิดความเสียหายแกผูรับ ประกันภัย ผูรับประกันภัยชอบที่จะเรียกรองคาสินไหมทดแทนในสวนนั้นได (ม.881 วรรคสอง) อยางไรก็ตาม การที่ผู เอาประกันภัยแจงชักชาก็ไมทําใหผูรับประกันภัยหลุดพนความรับผิดไป และถาไมปรากฏวาการแจงชักชานั้น ทําใหผูรับ ประกันภัยเสียหายอยางใด ผูเอาประกันภัยก็ไมตองชดใชคาเสียหาย 4. สิทธิในการรับชวงสิทธิ ถาความวินาศภัยเกิดจากบุคคลภายนอก และผูรับประกันภัยไดใชคาสินไหม ทดแทนไปเปนจํานวนเทาใด ยอมรับชวงสิทธิของผูเอาประกันภัยและของผูรับประโยชน ซึ่งมีตอบุคคลภายนอกเพียง นั้น (ม.880 วรรคหนึ่ง) 5. สิทธิในซากทรัพย 6. สิทธิบอกเลิกสัญญา ในกรณีที่ผูเอาประกันภัยตองคําพิพากษาใหลมละลาย เวนแตผูเอาประกันภัยไดสงเบี้ย ประกันเต็มจํานวนแลว (ม.876 วรรคสอง) หรือบอกเลิกสัญญาตามเงื่อนไขและวิธีการที่ระบุไวในกรมธรรม โดยบอก กลาวการเลิกสัญญานั้นเปนหนังสือใหทราบลวงหนาตามควร ☺ หนาที่ของผูรับประกันภัย 1. หนาที่สงมอบกรมธรรมประกันภัย อันมีเนื้อความถูกตองตามสัญญา มีขอความและเปนไปตามแบบที่นาย ทะเบียนเห็นชอบ รวมทั้งเอกสารประกอบหรือแนบทายกรมธรรมประกันภัยดวย (ม.867 วรรคสอง) 2. หนาที่ชดใชคาสินไหมทดแทน เมื่อมีเหตุวินาศภัยเกิดขึ้นตามจํานวนเงินที่ตกลงกันไว 3. หนาที่คืนเบี้ยประกัน ในกรณีตอไปนี้ คือ 3.1 เมื่อมีการบอกเลิกสัญญากอนเริ่มเสี่ยงภัย (ม.872) 3.2 เมื่อผูเอาประกันภัยขอลดจํานวนเงินซึ่งเอาประกันภัย (ม.873) 3.3 เมื่อผูรับประกันภัยขอลดคาสินไหมทดแทน (ม.874) 3.4 เมื่อผูรับประกันภัยตกเปนบุคคลลมละลาย (ม.876) 3.5 กรณีบอกเบิกสัญญาในกรณีกรมธรรมผิดแบบ 3.6 ในกรณีที่นายทะเบียนสั่งใหลดจํานวนเงินที่เอาประกันภัยลง 4. หนาที่สํารวจคาเสียหาย ตีราคาคาเสียหาย (ม.877 วรรคสอง) และออกคาใชจายในการตีราคานั้นดวย (ม. 878) ☺ การปฏิเสธความรับผิดชอบของผูรับประกันภัย 1. เหตุวินาศภัยนั้นเกิดขึ้น เพราะความทุจริตหรือความประมาทเลินเลออยางรายแรงของผูเอาประกันภัยหรือ ผูรับประโยชน (ม.879) 2. เหตุวินาศภัยเกิดขึ้นเนื่องจากความไมสมประกอบในเนื้อแหงวัตถุที่เอาประกันภัย (ม.879 วรรคสอง) กลาวคือ วัตถุที่เอาประกันนั้นไดเสื่อมสลายไปเองโดยสภาพ ☺ อายุความ การเรียกคาสินไหมทดแทนตองฟองเรียกรองภายใน 2 ป นับแตเกิดสิทธิตามสัญญา (ม.882) สัญญาประกันชีวิต

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

28 ไดแก สัญญาประกันภัย ซึ่งเงื่อนไขในการใชจํานวนเงินโดยอาศัยความทรงชีพ หรือมรณะของบุคคลหนึ่ง (ม. 889) ☺ สิทธิของผูเอาประกันชีวิต 1. สิทธิที่จะไดรับเงินจํานวนหนึ่ง 2. สิทธิเรียกรองจากผูที่กอมรณภัย (ม.896) 3. สิทธิบอกเลิกสัญญา เสียในเวลาใดๆ ก็ได โดยงดสงเบี้ยประกันตอไป โดยไมตองแจงใหผูรับประกันภัย ทราบเปนลายลักษณอักษร และถาไดสงเบี้ยประกันมาแลวอยางนอย 3 ป ผูเอาประกันภัยมีสิทธิไดรับเงินคาเวนคืน กรมธรรมประกันภัยหรือรับกรมธรรมใชเงินสําเร็จจากผูรับประกันภัยดวย (ม.894) 4. สิทธิขอลดเบี้ยประกันชีวิต (ม.864) ☺ หนาที่ของผูเอาประกันชีวิต 1. หนาที่ตองเปดเผยความจริง เนื่องจากการคิดเบี้ยประกันชีวิต มีฐานมาจากอายุและสุขภาพอนามัยของเอา ประกันชีวิต ถาไมเปดเผยความจริงหรือแถลงขอความเท็จเกี่ยวกับเรื่องดังกลาว ดังนี้จะทําใหสัญญานั้นเปนโมฆียะ (ม. 893) หรือความจริงเกี่ยวกับอนามัย แตถาไมใชโรคที่รายแรง หรือไมทราบวาตนเปนโรคที่รายแรงอยู ดังนี้ สัญญา ประกันชีวิตนั้นสมบูรณ 2. หนาที่ชําระเบี้ยประกันชีวิต ☺ สิทธิและหนาที่ของผูรับประกันชีวิต 1. สิทธิไดรับเบี้ยประกันชีวิตตามที่ตกลงกัน 2. หนาที่สงมอบกรมธรรมประกันภัยใหแกผูเอาประกันชีวิต 3. หนาที่ใชเงินตามสัญญาประกันชีวิต 4. สิทธิบอกลางสัญญาประกันชีวิต ในกรณีที่สัญญาประกันชีวิตเปนโมฆียะเนื่องจากการปกปดขอความจริง หรือแถลงเท็จ (ม.865) หรือแถลงอายุคลาดเคลื่อน (ม.893) ☺ เหตุยกเวนความรับผิดของผูรับประกันชีวิต (ม.895) 1. บุคคลนั้นไดฆาตนเองดวยความสมัครใจภายใน 1 ปนับแตวันทําสัญญา หรือ 2. บุคคลนั้นถูกผูรับประโยชนฆาตายโดยเจตนา อยางไรก็ตาม ผูรับประกันภัยตองใชเงินคาไถถอนกรมธรรมใหแกผูเอาประกันชีวิต หรือถาผูตายเอาประกัน ชีวิตของตนเอง ก็ใหเงินนั้นตกแกทายาทของผูนั้น ☺ สิทธิของเจาหนี้ผูเอาประกันภัย 1. ถาสัญญาประกันชีวิตไมไดระบุผูรับประโยชนไว ใหถือวาเงินนี้เปนสวนหนึ่งแหงกองมรดก ซึ่งเจาหนี้มี สิทธิที่จะไดรับชําระหนี้จากกองมรดกนั้น (ม.897 วรรคหนึ่ง ประกอบมาตรา 1734) 2. ถาสัญญาเจาะจงตัวผูรับประโยชนไว ผูนั้นยอมไดรับเงินประกันชีวิตตามสัญญา แตตองสงคืนเบี้ยประกัน เทาจํานวนที่ผูเอาประกันภัยสงไปแลวเขาเปนกองมรดกของผูตาย ซึ่งเจาหนี้เอาใชหนี้ได (ม. 897 ว.สอง) ☺ อายุความ ใช 10 ป ตามบททั่วไป (ม.193/30) สัญญาตั๋วเงิน ☺ มีลักษณะสําคัญ คือ ตองทําเปนหนังสือตราสารเนื้อความตามที่กฎหมายกําหนด โดยมีวัตถุแหงหนี้เปน เงินตราและเปนตราสารเปลี่ยนมือไดโดยการสงมอบหรือสลักหลังตราสารนั้นๆ (ม.898, 900) การชําระหนี้ดวยตั๋วเงินจะ

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

29 สมบูรณก็ตอเมื่อไดมีการใชเงินตราตามตั๋วเงินแลว (ม.321) และแมการเรียกใหใชเงินตามตั๋วจะขาดอายุความแลว หาก หนี้เดิมยังไมขาดอายุความ ก็ยังเรียกใหชําระหนี้ตามมูลหนี้เดิมได (ม.1005) ☺ ตั๋วเงินตามกฎหมาย มี 3 ชนิด คือ 1. ตั๋วแลกเงิน คือ หนังสือตราสาร ซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกวา “ผูสั่งจาย” สั่งบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกวา “ผูจาย” ใหใช เงินจํานวนหนึ่งแกบุคคลคนหนึ่งหรือใหใชตามคําสั่งของบุคคลคนหนึ่ง ซึ่งเรียกวา “ผูรับเงิน” (ม.908) ตั๋วแลกเงินจะตอง มีขอความบอกวาเปน “ตั๋วแลกเงิน” ซึ่งอาจจะใชภาษาใดก็ได มีคําสั่งอันปราศจากเงื่อนไข ระบุชื่อผูสั่งจายเงินแกผูรับเงิน หรือ “ผูถือ” เปนจํานวนเงินอันแนนอนตามวันและสถานที่ใชเงิน พรอมทั้งลงวัน เดือน ปกําหนดใชเงิน (ถาไมมี ถือวา ใชเงินเมื่อไดเห็น) / สถานที่ออกตั๋วเงิน มีชื่อหรือยี่หอผูรับเงิน วันและสถานที่ออกตั๋ว และที่สําคัญคือตองมีลายมือผูสั่ง จายดวย หากขาดรายการหนึ่งรายการใด ยอมไมใชตั๋วแลกเงินตามกฎหมาย 2. ตั๋วสัญญาใชเงิน คือ หนังสือตราสารซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกวา “ผูออกตั๋ว” ใหคํามั่นสัญญาวาจะใชเงินจํานวน หนึ่งใหแกบุคคลหนึ่ง หรือใหใชตามคําสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกวา “ผูรับเงิน” อยางไรตาม การที่ผูสั่งจายไมลงวันที่ในตั๋วเงิน แสดงวายอมใหผูมีสิทธิในตั๋วนั้นลงวันที่ไดโดยสุจริต ตั๋วเงิน นั้นยอมสมบูรณ ตั๋วสัญญาใชเงินจะตองมีขอความบอกวาเปน “ตั๋วสัญญาใชเงิน” มีคํามั่นอันปราศจากเงื่อนไขวาจะใชเงินเปน จํานวนแนนอน มีวัยถึงกําหนดใชเงิน (ถาไมมี ถือวาใชเงินเมื่อเห็น) / มีสถานที่ใชเงิน (ถาไมมี ใหถือเอาภูมิลําเนาของผู ออกตั๋ว) / มีชื่อหรือยี่หอผูรับเงิน วันและสถานที่ออกตั๋ว (ถาไมระบุวันออกตั๋ว ผูทรงตั๋วชอบดวยกฎหมายและโดยสุจริต จะจดวันถูกตองแทจริงลงก็ได ถาไมไดระบุสถานที่ออกตั๋วไว ใหถือวาออก ณ ภูมิลําเนาของผูออกตั๋ว) และที่สําคัญคือ ตองลงลายมือชื่อผูออกตั๋ว อนึ่ง ตั๋วสัญญาใชเงิน ตองระบุชื่อผูรับเงินเสมอ จะเปนตั๋วผูถือไมได 3. เช็ค คือ หนังสือตราสารซึ่งบุคคลหนึ่ง เรียกวา “ผูสั่งจาย” สั่งธนาคารใหใชเงินจํานวนหนึ่งเมื่อทวงถาม ใหแกบุคคลอีกคนหนึ่ง หรือใหใชตามคําสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกวา “ผูรับเงิน” (ม.987) เช็คมีลักษณะที่สําคัญตางจากตั๋วเงินประเภทอื่น คือ ผูจายเงินตามเช็คคือ ธนาคาร และการจายเงินตองจายเมื่อ ทวงถามเทานั้น ขอความในเช็คจะตองมีคําบอกวาเปนเช็ค / มีคําสั่งอันปราศจากเงื่อนไขใหใชเงินเปนจํานวนแนนอน / มีชื่อ หรือยี่หอของธนาคาร / มีชื่อหรือยี่หอของผูรับเงินหรือใหใชเงินแกผูถือ / มีสถานที่ใชเงิน / วันและสถานที่ออกเช็ค / และลายมือชื่อผูสั่งจาย ถาตราสารใดมีขอความครบถวนตามนี้ก็ถือวาไดมีการออกเช็ค แมจะไมไดใชแบบพิมพของ ธนาคาร หรือผูที่มิไดมีเงินฝากในธนาคาร แตเอาแบบพิมพของธนาคารของผูอื่นไปใช แลวธนาคารปฏิเสธการใชเงิน ผูสั่งจาย ผูสลักหลังหรือผูอาวัลตองรับผิดตามเนื้อความในเช็คนั้น เพราะ เอกสารดังกลาวมีขอความครบถวนเปนเช็คแลว ถาเช็คมีขอความนอกเหนือไปจากที่กฎหมายระบุ (ม.988) ยอมเปนเช็คที่ชอบดวยกฎหมาย แตขอความที่เพิ่ม ดังกลาวไมมีผลอยางหนึ่งอยางใดในตั๋วเงินนั้นเลย (ม.899) ☺ หลักสําคัญที่ใชบังคับรวมกันสําหรับตั๋วเงินทั้ง 3 ชนิด มีดังนี้ คือ 1. ผูใดลงลายมือชื่อของตนในตั๋วเงินนั้น ผูนั้นตองรับผิดตามเนื้อความในตั๋วเงินนั้น (ม.900) 2. ตั๋วเงินยอมสามารถโอนกันได ซึ่งมีวิธีการดังนี้ คือ 2.1 สําหรับตั๋วเงินที่ออกใหแกผูถือ สามารถโอนใหแกกันไดดวยการสงมอบ (ม.918) ยกเวนตั๋ว สัญญาใชเงินที่โดยสภาพ ไมสามารถออกใหแกผูถือได (ม.983 (5))

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

30 2.2 สําหรับตั๋วเงินที่ระบุชื่อผูรับเงินไวชัดแจง สามารถโอนใหแกกันไดโดยการสลักหลังตั๋วเงินนั้นซึ่ง จะเปนการสลักหลังโดยระบุชื่อผูรับประโยชน หรือเปนการสลักลอยก็ได คือ สลักหลังลงลายมือชื่อของตนโดยไมตอง ระบุชื่อผูรับประโยชน (ม.919) ☺ การอาวัล คือ การค้ําประกันความรับผิดชอบตามตั๋วเงิน ผูรับอาวัลนั้นจะเปนบุคคลภายนอกหรือเปน คูสัญญาคนใดคนหนึ่งในเช็คนั้นก็ได (ม.938) แบบของการรับอาวัล 1. เขียนดวยถอยคําสํานวน “ใชไดเปนอาวัล” หรือสํานวนอื่นใดที่มีความหมายทํานองเดียวกันไวดานหนาหรือ ดานหลังของเช็คก็ได และลงลายมือชื่อผูรับอาวัล ในกรณีที่คํารับอาวัลไมไดระบุวาประกันผูใดนั้น กฎหมายใหถือวาเปน ประกันผูสั่งจาย (ม.939 วรรคทาย) 2. เพียงแตลงลายมือชื่อของผูอาวัลในดานหนาของเช็ค โดยไมตองเขียนขอความใดๆ เลยก็มีผลเปนการอาวัล แลว เวนแตในกรณีที่เปนลายมือชื่อของผูจายหรือผูสั่งจาย (ม.939 วรรคสาม) 3. การสลักหลังเช็ค ซึ่งเปนเช็คที่ออกใหแกผูถือ ยอมเทากับเปนการอาวัลผูสั่งจายแลว (ม.921) ความรับผิดของผูรับอาวัล ผูรับอาวัลยอมตองผูกพันตนเปนอยางเดียวกับบุคคลที่ตนประกัน (ม.940) สิทธิไลเบี้ยของผูรับอาวัล เมื่อผูรับอาวัลใชเงินตามเช็คแลว ผูรับอาวัลมีสิทธิในอันที่จะไลเบี้ยเอาแกบุคคลซึ่งตนประกันไวได (ม.940 วรรคทาย) ในการไลเบี้ยนี้ ผูรับอาวัลมีสิทธิไลเบี้ยเอาแกผูซึ่งตนค้ําประกันไดเต็มจํานวนตามที่ตนไดชําระหนี้ แทนไป เช็คขีดครอม คือ เช็คที่มีเสนขนานคู ขีดขวางไวขางหนา ซึ่งในระหวางเสนขนานนั้น อาจจะมีขอความอยูใน ระหวางเสนคูขนานสั้นหรือไมก็ได ซึ่งแยกไดเปน 2 กรณี คือ 1. เช็คขีดคราอมทั่วไป คือ เช็คที่ในระหวางเสนคูขนานนั้นไมมีขอความใดๆ เขียนไวเลย หรือมีขอความคําวา “และบริษัท” หรือ “And Co.” หรือ “& Co.” หรือคํายออื่นๆ ซึ่งไมมีความหมายเฉพาะเจาะจง (ม.994 วรรคหนึ่ง) 2. เช็คขีดครอมเฉพาะ คือ เช็คที่ในระหวางเสนคูขนาน จะมีชื่อธนาคารใดธนาคารหนึ่งโดยเฉพาะเจาะจงลงไป (ม. 994 วรรคทาย) การจายเงินตามเช็คขีดครอม ธนาคารจะจายเงินตามเช็คนั้นใหแกธนาคารเทานั้น จะจายโดยตรงใหแกบุคคลที่ นําเช็คนั้นมาขึ้นเงินไมได เช็คขีดครอมจึงใหประโยชนในดานความปลอดภัยมาก หุนสวนและบริษัท คือ การทําสัญญาระหวางบุคคลตั้งแต 2 คนขึ้นไป ตกลงเขากันเพื่อกระทํากิจการรวมกัน โดยประสงจะแบงปน กําหรที่จะพึงไดจากกิจการนั้น (ม.1012) ☺ ประเภทของหางหุนสวนหรือบริษัท 1. หางหุนสวนสามัญ ผูที่เขารวมทําสัญญาจัดตั้งเปนหางหุนสวนสามัญนั้น ผูเปนหุนสวนหมดทุกคนตองรับ ผิดรวมกันเพื่อหนี้ทั้งปวงของหุนสวนโดยไมมีจํากัด (ม.1025) กลาวคือ 1. ผูเปนหุนสวนสามัญทุกคนตองรับผิดในหนี้สินของหางอยาง “ลูกหนี้รวม” ในหนี้สิ้นจองหาง หุนสวน ไมวาจะโดยสัญญาหรือละเมิดที่ทําไปในกิจการของหาง 2. ผูเปนหุนสวนสามัญทุกคนตองรับผิดในหนี้สิ้นของหางโดยไมจํากัดจํานวน

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

31 ดวยเหตุนี้ คุณสมบัติของผูเปนหุนสวนสามัญ จึงเปนสาระสําคัญ เพราะถาคนใดคนหนึ่งไปทําสัญญาหรือได จัดทําไปในทางที่เปนธรรมดาการคาของหางหุนสวนนั้น ผูเปนหุนสวนทุกคนยอมตองผูกพันในการนั้นๆ ดวย และตอง รับผิดในหนี้รวมกันโดยไมจํากัดจํานวน (ม.1050) ☺ การจัดการหางหุนสวนสามัญ 1. การจัดการโดยตรง กลาวคือ หุนสวนทุกคนเขาบริหารงานเอง โดยอาจแบงหนาที่กันทํา หรืออาจจะ มอบหมายใหหุนสวนคนใดหรือหลายคนเปนผูจัดการหางหุนสวนสามัญนั้น หรืออาจรวมกันจางบุคคลภายนอกมาเปนผู ดําเนินงานหางหุนสวนก็ได 2. การดูแลครอบงํา ไดแก กรณีที่ตั้งใหหุนสวนคนเปนผูจัดการแลว อํานาจในการจัดการดูแลกิจการตางๆ ของ หางหุนสวนยอมเปนของผูจัดการนั้น แตหุนสวนที่ไมใชผูจัดการยอมมีสิทธิที่จะไตถามถึงการงานของหางหุนสวนที่ จัดการอยูนั้นไดทุกเมื่อ และมีสิทธิตรวจและคัดสําเนาสมุดบัญชีและเอกสารใดๆ ของหางหุนสวนไดดวย (ม.1037) ☺ สิทธิและหนาที่ระหวางผูเปนหุนสวนดวยกัน 1. หามประกอบกิจการอยางหนึ่งอยางใดที่มีสภาพเดียวกัน และเปนการแขงขันกับหางหุนสวน (ม.1038 วรรค หนึ่ง)โดยไมไดรับความยินยอมจากผูเปนหุนสวนคนอื่น ถาฝาฝน ผูเปนหุนสวนคนอื่นๆ มีสิทธิเรียกเอาผลกําไรที่ผูฝาฝน หามาไดทั้งหมด หรือเรียกเอาคาสินไหมทดแทนที่ทําใหหางหุนสวนไดรับความเสียหายเพราะเหตุนั้นก็ได (ม.1038 วรรคสอง) 2. หามนําบุคคลอื่นเขาเปนหุนสวน โดยไมไดรับความยินยอมจากผูเปนหุนสวนทั้งหมดทุกคน (ม.1040) เชน ผู เปนหุนสวนคนหนึ่งตาย หุนสวนสามัญตองเลิกกัน เวนแตผูเปนหุนสวนคนอื่นยอมใหมีคนรับโอนหุนนั้นตอมาได ก็คง เปนหุนสวนกันตอไป 3. ขอใหงดใชชื่อ ถามีการใชชื่อของผูเปนหุนสวนคนใดมาตั้งเปนชื่อหางหุนสวน เมื่อผูนั้นออกจากหาง หุนสวนไปแลว อาจขอใหงดใชชื่อของตนเปนชื่อหางหุนสวนตอไปได (ม.1047) มิฉะนั้นตนอาจตองรับผิดตอ บุคคลภายนอกเสมือนวาตนยังเปนหุนสวนอยู (ม.1054) 4. ความเกี่ยวพันระหวางหุนสวนผูเปนผูจัดการกับผูเปนหุนสวนอื่น ใหใชกฎหมายเรื่องตัวแทนมาบังคับ (ม. 1042) เวนแตกรณีที่กฎหมายเกี่ยวกับหุนสวนไดบัญญัติไวโดยเฉพาะแลว (ม.1042) เชน หุนสวนผูจัดการไปลงนามแทน หาง หางตองรับผิดดวย ☺ ความเกี่ยวพันกับบุคคลภายนอก 1. ผูเปนหุนสวนสามัญที่ไมไดจดทะเบียนจะถือเอาสิทธิใดๆ แกบุคคลภายนอกในกิจการการคาขาย ซึ่งไม ปรากฏชื่อของตนนั้นไมได (ม.1049) 2. ผูเปนหุนสวนทุกคนตองรับผิดตอบุคคลภายนอกในการใดๆ อันผูเปนหุนสวนคนใดไดจัดทําไปในทางที่ เปนธรรมดาการคาขายของหางหุนสวนนั้น (ม.1050) แมผูเปนหุนสวนคนอื่นๆ จะมิไดรูเห็นในกิจการที่ทําไปนั้นเลยก็ ตาม ก็ตองรับผิดรวมกัน นอกจากนี้ความรับผิดตอบุคคลภายนอกนี้รวมถึงความรับผิดในทางละเมิดดวย (ม. 1051, 1052) นอกจากนี้สําหรับผูที่เปนหุนสวนสามัญ ตองรับผิดในหนี้ของหางที่กอใหเกิดขึ้นกอนที่ตนจะเขามาเปน หุนสวน และแมผูเปนหุนสวนจะออกไปแลว ก็ยังคงตองรับผิดในหนี้ซึ่งหางไดกอใหเกิดขึ้น กอนที่ตนจะไดออกจาก หางหุนสวนไป (ม.1051 ,1052) ☺ การเลิกหางหุนสวนสามัญ 1. การเลิกโดยผลของกฎหมาย (ม.1055) ไดแก 1.1 ถาในสัญญากําหนดกรณีที่จะเลิกกันไว

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

32 1.2 เมื่อถึงกําหนดเวลาที่สัญญาเปนหุนสวนกัน เวนแตผูเปนหุนสวนทั้งหลายยังคงดําเนินกิจการกัน ตอไปโดยไมมีการชําระบัญชีกัน ก็ถือวาหุนสวนทั้งหลายตกลงเปนหุนสวนกันตอไปโดยไมมีกําหนดเวลา (ม.1059) 1.3 ถาสัญญาทําไวเฉพาะเพื่อกิจการใด เมื่อเสร็จกิจการนั้นแลว 1.4 ในกรณีที่การเปนหุนสวนไมไดกําหนดเวลาไว เมื่อผูเปนหุนสวนคนใดบอกเลิกสัญญาการเปน หุนสวนลวงหนาไมนอยกวา 6 เดือนกอนสิ้นรอบปในทางบัญชีของหางหุนสวนนั้น (ม.1056) แตถาหุนสวนอื่นยังไม อยากเลิก โดยรับซื้อหุนของผูที่ประสงคจะออกไว หางหุนสวนก็ไมเลิกกัน (ม.1060) 1.5 เมื่อผูเปนหุนสวนคนหนึ่งคนใดตาย ลมละลาย หรือตกเปนผูไรความสามารถ หางหุนสวนตอง เลิกกัน เวนแตหุนสวนคนอื่นจะรับซื้อหุนนั้นไว แลวตกลงดําเนินกิจการตอไป (ม.1060) 2. การเลิกโดยความประสงคของผูเปนหุนสวน เมื่อผูเปนหุนสวนคนใดบอกเลิกสัญญาการเปนหุนสวน ลวงหนาไมนอยกวา 6 เดือนกอนสิ้นรอบปในทางบัญชีของหางหุนสวนนั้น (ม.1056) เวนแตมีเหตุอื่น เชน เมื่อผูเปน หุนสวนคนใดบอกเลิกสัญญาการเปนหุนสวนลวงหนาไมนอยกวา 6 เดือนกอนสิ้นรอบปในทางบัญชีของหางหุนสวน นั้น (ม.1056)ผูหนึ่งผิดสัญญา หรือไมมีผูดูแลกิจการทําใหเกิดความเสียหาย ก็ขอใหเลิกได โดยไมจําเปนตองบอกกลาว ลวงหนา 6 เดือน 3. การเลิกโดยคําสั่งศาล เมื่อผูเปนหุนสวนรองขอตอศาล ศาลอาจสั่งใหหางหุนสวนเลิกกันได เมื่อมีเหตุ ตอไปนี้ คือ 3.1 เมื่อผูเปนหุนสวนคนใดคนหนึ่งนอกจากผูรองนั้น ลวงละเมิดบทบังคับใดๆ อันเปนขอ สาระสําคัญ ซึ่งสัญญาหุนสวนกําหนดไวแกตน โดยจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรง 3.2 เมื่อกิจการของหางหุนสวนมีแตจะขาดทุนและไมมีหวังที่จะฟนตัวไดอีก 3.3 เมื่อมีเหตุอื่นใดที่ทําใหหางหุนสวนนั้นเหลือวิสัยที่จําดํารงอยูตอไปได ☺ การชําระบัญชีหางหุนสวนสามัญ เมื่อหางหุนสวนสามัญเลิกกันแลว ตองมีการรวบรวมบรรดาทรัพยสินทั้งหลายของหางหุนสวน เพื่อชําระหนี้ ใหแกเจาหนี้ทั้งหลายของหาง ถามีเหลือก็ใหคืนแกผูเปนหุนสวน และถายังเหลืออีกก็นํามาแบงกําไรกัน ซึ่งเรียกวา “การ ชําระบัญชี” (ม.1062) แตถาไดชําระหนี้กาบุคคลภายนอกและคาใชจายอื่นๆ แลว สินทรัพยที่เหลืออยูยังไมพอจะคืนแกผู เปนหุนสวนไดครบจํานวนที่ลงทุนเรียกวา “ขาดทุน” ตองเฉลี่ยการขาดทุนในระหวางหุนสวนดวยกัน (ม.1063) 2. หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล หางหุนสวนสามัญ กฎหมายไมบังคับวาตองจดทะเบียน แตถาประสงคจะจดทะเบียนเปนนิติบุคคลก็ยอมทําได การขอจดทะเบียนหางหุนสวนสามัญนั้นเปนไปตามแบบที่กฎหมายกําหนด (ม.1064 การขอจดทะเบียนใหนํามาตรา 1014 – 1024 มาใชบังคับ) เมื่อจดทะเบียนแลวตองใชคําวา “หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล” ประกอบดวยเสมอ มิฉะนั้น จะมีความผิด ☺ ผลของการจดทะเบียน 1. หางหุนสวนมีสภาพเปนนิติบุคคล การเปนนิติบุคคลทําใหมีสิทธิและหนาที่แยกตางหากจากผูเปนหุนสวน (ม.1015) มีชื่อสัญชาติ และภูมิลําเนาเปนของตนเอง และมีสิทธิดําเนินคดีในศาลในนามของหางเองดวย 2. การถือเอาประโยชนตอบุคคลภายนอก การจดทะเบียนหางหุนสวนตองมีชื่อ วัตถุประสงค ชื่อผูเปนหุนสวน ผูจัดการ ตลอกจนอํานาจหนาที่และขอจํากัดตางๆ ซึ่งตองประกาศในราชกิจจานุเบกษา (ม.1021) และถือวาบุคคลทั่วไป ไดรูแลว (ม.1022) ดังนั้นผูเปนหุนสวนอาจถือเอาประโยชนตอบุคคลภายนอกอันหางหุนสวนจดทะเบียนนั้นไดมา แมใน กิจการที่ไมปรากฏชื่อของตนได (ม.1065) 3. หามหุนสวนทําการคาขายแขงขันกับกิจการของหาง (ม. 1070, 1071)

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

33 สําหรับผูเปนหุนสวนที่ออกจากหางหุนสวนนั้นไปแลว ยังคงตองรับผิดในหนี้ที่หางหุนสวนไดกอขึ้นภายใน วัตถุประสงคของหาง และเกิดขึ้นกอนที่ตนจะออกจากการเปนหุนสวน แตกฎหมายจํากัดใหรับผิดชอบเพียง 2 ป นับแต เมื่อออกจากหุนสวน (ม.1068) ☺ การเลิกหางหุนสวนสามัญนิติบุคคลและการชําระหนี้ หางหุนสวนสามัญนิติบุคคลนี้อาจเลิกไดดวยเหตุเดียวกันกับการเลิกหางหุนสวนสามัญที่ไดจดทะเบียน คือ อาจเลิกโดยผลของกฎหมาย (ม. 1055) เชน หางหุนสวนลมละลาย (ม.1069) เปนตน หรือโดยการตกลงของผูเปน หุนสวน หรือโดยคําสั่งศาล เมื่อหางหุนสวนสามัญนิติบุคคลเลิกกันแลว ตองมีการชําระบัญชีเสมอไป จะใชวิธีตกลงกันเองไมได และผู ชําระบัญชีตองนําไปจดทะเบียนภายใน 14 วันนับแตวันที่เลิกกัน (ม. 1254 และ 1270) 3. หางหุนสวนจํากัด ☺ หางหุนสวนจํากัด จะตองประกอบดวยผูเปนหุนสวน 2 ประเภท คือ (ม.1077) 1. ผูเปนหุนสวนคนเดียวหรือหลายคน ซึ่งจํากัดความรับผิดเพียงไมเกินจํานวนเงินที่ตนรับจะลงหุน ในหาง หุนสวนนั้น จําพวกหนึ่ง และ 2. ผูเปนหุนสวนคนเดียวหรือหลายคน ซึ่งตองรับผิดรวมกันในบรรดาหนี้ของหางหุนสวนโดยไมจํากัดอีกพวก หนึ่ง ☺ หางหุนสวนจํากัดนั้น กฎหมายบังคับใหตองจดทะเบียนเสมอ (ม.1078) ☺ หุนสวนประเภทจํากัดความรับผิด ผูเปนหุนสวนประเภทนี้ มีความรับผิดเพียงไมเกินจํานวนเงินที่ตนตกลงจะลงหุน คุณสมบัติของผูเปนหุนสวน ประเภทนี้จึงไมใชสาระสําคัญเหมือนกิจการเปนหุนสวนสามัญ จึงอาจโอนหุนของตนใหแกบุคคลอื่นได โดยไมตอง ไดรับความยินยอมจากหุนสวนอื่นๆ (ม. 1091) และแมหุนสวนประเภทนี้ ทายาทยอมเขาแทนที่ได (ม.1093) หรือลมละลาย ก็ไมเปนเหตุใหหางหุนสวนจํากัดตองเลิกกัน (ม.1092) ☺ สิทธิของหุนสวนประเภทจํากัดความรับผิด มีดังนี้ 1. มีสิทธิออกความเห็นแนะนํา ออกเสียงลงคะแนนในการแตงตั้งถอดถอนผูจัดการ (ม.1088 วรรคสอง) ตลอดจนตรวจสอบบัญชีและเอกสารของหางไดตามสามควร 2. เปนผูชําระบัญชีของหางได (ม.1089) 3. มีสิทธิคาขายแขงกับหางได (ม.1090) ☺ ขอจํากัดของหุนสวนประเภทจํากัดความรับผิด มีดังนี้ 1. หามเอาชื่อของผูเปนหุนสวนจําพวกจํากัดความรับผิดมาเรียกขานระคนกับชื่อหาง (ม.1081) มิฉะนั้นผูเปน หุนสวนนั้น ตองรับผิดตอบุคคลภายนอกเสมือนเปนประเภทไมจํากัดความรับผิด 2. หุนสวนประเภทนี้จะลงหุนดวยแรงไมได ตองลงเปนเงินหรือทรัพยสินอยางอื่น (ม.1083) 3. ไมมีสิทธิจัดการงานของหาง (ม.1087) ถาสอดเขาจัดการงานของหาง ตองรวมรับผิดกับหางหุนสวนจํากัด เชนเดียวกับผูเปนหุนสวนประเภทไมจํากัดความรับผิด (ม.1088) ไมมีอํานาจรองทุกข หรือฟองคดีของหาง 4. ไมมีสวนไดรับเงินปนผลหรือดอกเบี้ย ถาหางไมมีผลกําไร (ม.1084) ☺ ความรับผิด ของหุนสวนประเภทจํากัดความรับผิด มีดังนี้ (ม.1095)

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

34 ผูเปนหุนสวนประเภทจํากัดความรับผิด จะรับผิดในหนี้ที่หางมีตอบุคคลภายนอกก็ตอเมื่อหางหุนสวนจํากัดได เลิกกัน ตราบใดที่หางยังไมเลิก เจาหนี้จะฟองใหรับผิดไมได และเมื่อหางเลิกกันแลว ผูเปนหุนสวนจํากัดความรับผิดคงมี ความรับผิดเพียง 1. จํานวนลงหุนของผูเปนหุนสวนเทาที่ยังคางสงแกหางหุนสวน 2. จํานวนลงหุนเทาที่ผูเปนหุนสวนไดถอนไปจากสินทรัพยของหางหุนสวน 3. จํานวนเงินปนผลและดอกเบี้ยซึ่งผูเปนหุนสวนไดรับไปแลวโดยทุจริตและผิดกฎหมาย ☺ หุนสวนประเภทไมจํากัดความรับผิด สามารถเปนผูจัดการหางหุนสวนได (ม. 1087) ใชชื่อตนเองเปนชื่อ หางหุนสวนจํากัดได (ม.1081) ลงทุนดวยแรงงานก็ได (ม.1083) ความเกี่ยวพันอื่นๆ ก็ใหใชบทบัญญัติสําหรับหาง หุนสวนสามัญมาใชบังคับ สําหรับความรับผิดตอบุคคลภายนอก ผูเปนหุนสวนประเภทไมจํากัดความรับผิดตองรวมรับ ผิดในหนี้สินของหางหุนสวนโดยมาจํากัดจํานวน ☺ การเลิกหางหุนสวนจํากัด ใชหลักการเชนเดียวกับการเลิกหางหุนสวนสามัญ (ม.1080 วรรคหนึ่ง) บริษัทจํากัด ☺ การจัดตั้งบริษัทจํากัด 1. ผูเริ่มกอการอยางนอย 7 คน รวมตกลง โดยเขาชื่อกันทํา “หนังสือบริคณหสนธิ” (ม.1097) ซึ่งไดแกเอกสารที่ มีขอความตามที่กฎหมายกําหนด (ม.1098) และเปนตราสารจัดตั้งนิติบุคคลตามกฎหมาย 2. นําหนังสือบริคณหสนธิที่ลงลายมือชื่อผูกอการทั้งหมด หรือลายมือชื่อพยานรับรอง 2 คน ไปจดทะเบียนที่ หอทะเบียนการคา ในเขตที่บริษัทตั้งอยู 3. นําหุนออกใหจองหรือใหเขาชื่อซื้อหุนจนครบ โดยออกหุนในราคาไมต่ํากวามูลคาหุนที่ตั้งไว และหามชี้ ชวนประชาชนใหซื้อหุน (ม. 1102 และ 1105) 4. เมื่อหุนที่จะตองลงเงินนั้นไดมีผูเขาชื่อซื้อหมดแลว ผูเริ่มกอการตองนัดบรรดาผูเขาชื่อซื้อหุนมาประชุมกัน ซึ่งเรียกวา “ประชุมตั้งบริษัท” (ม.1107) เพื่อใหมีการตกลงในเรื่องตางๆ เชน ขอบังคับบริษัท (ม.1110) 5. กรรมการบริษัทที่ไดรับการแตงตั้ง จะรับมอบหมายงานจากผูเริ่มกอการไปดําเนินการตอ โดยใหจัดการเรียก ใหผูเริ่มกอการและผูเขาชื่อซื้อหุนทั้งหลาย ใชเงินในหุนไมนอยกวารอยละ 25 ของมูลคาหุน (ม.1105) 6. เมื่อมีการชําระคาหุนตามกําหนดแลว กรรมการบริษัทตองไปขอจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทโดยระบุรายการ ตามที่กฎหมายกําหนด (ม.1111) การฟองเกี่ยวกับหนี้ของบริษัทตองฟองบริษัทโดยตรง ไมใชฟองผูกอตั้งในฐานะ สวนตัว 7. ถากรรมการบริษัทไมดําเนินการจดทะเบียนภายใน 3 เดือนนับแตมีการประชุมจัดตั้งบริษัท ถือวาบริษัทนั้น ไมมีการตั้งขึ้น (ม.1112) ตองคืนเงินคาหุนที่ไดรับไวเต็มจํานวน ☺ การเลิกบริษัทจํากัด 1. การเลิกโดยผลของกฎหมาย (ม.1236) 1.1 ถาในขอบังคับของบริษัทกําหนดกรณีที่จะเลิกกันไว เมื่อมีกรณีนั้นเกิดขึ้น 1.2 เมื่อถึงกําหนดที่ตั้งขึ้นไว 1.3 ถาบริษัทตั้งขึ้นเฉพาะเพื่อทํากิจการใด เมื่อกิจการนั้นเสร็จแลว 1.4 มีมติพิเศษใหเลิก คือ มีการลงมติในการประชุมเปนลําดับ 2 ครั้ง ครั้งแรก มีมติไมต่ํากวา 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงทั้งหมด และครั้งที่ 2 มีมติยืนยันตามมติเดิมดวยเสียงไมต่ํากวา 2 ใน 3 (ม. 1194)

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

35 1.5 เมื่อบริษัทลมละลาย 2. การเลิกโดยคําสั่งศาล (ม.1237) 2.1 ถาทําผิดในการยื่นรายงานการประชุมตั้งบริษัท หรือทําผิดในการประชุมตั้งบริษัท 2.2 ถาบริษัทไมเริ่มทําการภายใน 1 ป นับแตวันจดทะเบียนหรือหยุดทําการ 1 ปเต็ม 2.3 เมื่อการคาของบริษัททําไปก็มีแตขาดทุนอยางเดียว และไมมีหวังฟนตัวได 2.4 เมื่อจํานวนผูถือหุนลดลงจนเหลือไมถึง 7 คน ☺ เมื่อบริษัทเลิกแลว ตองมีการชําระบัญชีใหเสร็จ นําความไปจดทะเบียนภายใน 14 วัน นับแตวันที่เลิกบริษัท (ม.1254) เมื่อชําระบัญชีเสร็จแลว ผูชําระบัญชีตองทํารายงานแลวเรียกประชุมใหญเพื่อใหที่ประชุมอนุมัติ (ม. 1270 วรรคหนึ่ง) เมื่อที่ประชุมอนุมัติแลว ผูชําระบัญชีตองนําความนั้นไปจดทะเบียนภายใน 14 วันนับแตวันประชุม (ม.1271) เปนอันเสร็จการ ครอบครัว ☺ การหมั้น 1.ชายและหญิงคูหมั้นตองมีอายุ 17 ปบริบูรณ (ม.1435) ถาการหมั้นกระทําโดยฝาฝนมาตรา 1435 ผลคือ การ หมั้นตกเปนโมฆะ (ม.1435 ว.2) 2. ผูเยาวทําการหมั้นจะตองไดรับความยินยอมของบิดามารดาหรือผูปกครองดวย (มาตรา 1436) ถาการ หมั้นที่ผูเยาวทําโดยปราศจากความยินยอมดังกลาว การหมั้นนั้นตกเปนโมฆียะ ☺ แบบของการหมั้น การหมั้นจะสมบูรณเมื่อฝายชายไดสงหมอบหรือโอนทรัพยสินอันเปนของหมั้นใหแกหญิง เพื่อเปนหลักฐาน วาจะสมรสกับหญิงนั้น (มาตรา 1437) สัญญาหมั้นเปนสัญญาพิเศษผิดกับสัญญาธรรมดา ฉะนั้น หากมีการหมั้นแตฝาย ชายไมมีของหมั้นมามอบใหหญิงแลว แมจะมีการผิดสัญญาหมั้นก็จะฟองเรียกคาทดแทนฐานผิดสัญญาหมั้นไมได ☺ ของหมั้น ลักษณะสําคัญของของหมั้นจะตองเขาหลักเกณฑ 4 ประการ คือ 1.ตองเปนทรัพยสิน (สิทธิเรียกรอง ถือไดวาเปนทรัพยสินที่นํามาเปนของหมั้นได) 2.ตองเปนของที่ฝายชายใหไวแกหญิง 3.ตองใหไวในเวลาทําสัญญาและหญิงตองไดรับไวแลว 4.ตองเปนการใหไวเพื่อเปนหลักฐานวาจะสมรสกับหญิงนั้นและตองใหไวกอนสมรส ถาใหเมื่อหลัง สมรสแลวทรัพยนั้นไมใชของหมั้น ☺ การรับผิดตามสัญญาหมั้น เมื่อมีการหมั้นแลว ถาฝายใดผิดสัญญาหมั้น อีกฝายหนึ่งมีสิทธิเรียกใหรับผิดใชคาทดแทน ในกรณีที่ฝายหญิง เปนฝายผิดสัญญาหมั้นใหคืนของหมั้นใหแกฝายชายดวย (มาตรา 1439) ☺ สินสอด เปนทรัพยสินที่ฝายชายใหแกบิดามารดา ผูรับบุตรบุญธรรม หรือผูปกครองฝายหญิง แลวแตกรณี เพื่อตอบ แทนการที่หญิงยอมสมรส (มาตรา 1437 ว.3) ☺ ผลของการหมั้น 1. สิทธิเรียกคาทดแทนจากคูหมั้นอีกฝายหนึ่ง (ม.1440) 1.1 คาทดแทนความเสียหายตอกายหรือชื่อเสียงแหงชายหรือหญิงนั้น

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

36 1.2 คาทดแทนความเสียหายเนื่องจากการที่คูหมั้น บิดา มารดา หรือบุคคลผูกระทําการในฐานะบิดา มารดา ไดใชหรือตองตกเปนลูกหนี้ เนื่องในการเตรียมการสมรสโดยสุจริตและตามสมควร 1.3 คาทดแทนความเสียหายที่คูหมั้นไดจัดการทรัพยสิน หรือการอื่นอันเกี่ยวแกอาชีพ หรือทางทํามา หาไดของตนไปโดยสมควร ดวยคาดหมายวาจะมีการสมรส 2. สิทธิเรียกคาทดแทนจากชายอื่น ถาหากชายอื่นมาลวงเกินหญิงคูหมั้น 2.1 การที่ชายอื่นรวมประเวณีกับหญิงคูหมั้น โดยหญิงคูหมั้นยินยอมมีหลัก คือ (ม.1445) (1) ชายอื่นรวมประเวณีกับหญิงคูหมั้น (2) ชายอื่นนั้นรูหรือควรรูวาหญิงไดหมั้นกับชายคูหมั้นแลวและรูดวยวาชายคูหมั้นเปนใคร (3) ชายคูหมั้นไดบอกเลิกสัญญาหมั้นแลว 2.2 การที่ชายอื่นขมขืนหรือพยายามขมขืนกระทําชําเราหญิงคูหมั้น มีหลัก คือ (ม.1446) (1) ชายอื่นจะตองรูวาหญิงมีคูหมั้นแลว แตไมจําเปนตองรูวาชายคูหมั้นเปนใคร (2) ชายคูหมั้นไมจําเปนตองบอกเลิกสัญญาหมั้นกอน ขอสังเกต หญิงคูหมั้นไมมีสิทธิเรียกคาทดแทนจากหญิงอื่นที่มาลวงเกินชายคูหมั้นทางประเวณี จะนํามาตรา 1445 และมาตรา 1446 มาอนุโลมใชบังคับไมได 3. สิทธิเกี่ยวกับของหมั้น ทรัพยสินของหมั้นนั้นยอมตกเปนสิทธิของหญิงในทันที แตมีบางกรณีฝายหญิงอาจ ตองคืนของหมั้นใหแกฝายชายก็ได กรณีที่ของหมั้นตกเปนสิทธิแกหญิงโดยไมตองคืนใหแกฝายชาย มีดังนี้ 1. เมื่อฝายชายผิดสัญญาหมั้น (ม. 1439) เชน ไมยอมไปจดทะเบียนสมรสกับหญิง 2. เมื่อชายหรือหญิงตายกอนสมรส (ม.1441) 3. เมื่อหญิงบอกเลิกสัญญาหมั้น เพราะมีเหตุสําคัญเกิดแกชาย (ม.1443) กรณีที่หญิงตองคืนของหมั้นใหแกชาย มีดังนี้ คือ 1. เมื่อหญิงผิดสัญญาหมั้น (ม. 1439) 2. เมื่อชายบอกเลิกสัญญาหมั้น เพราะมีเหตุสําคัญเกิดแกหญิง (ม.1442) อนึ่ง การหมั้นไมเปนเหตุที่จะรองขอใหศาลบังคับใหสมรสได ถามีขอตกลงเรื่องคาปรับในกรณีผิดสัญญาหมั้น ขอตกลงนั้นเปนโมฆะ (ม.1438) การสิ้นสุดของการหมั้น 1. กรณีที่คูหมั้นฝายใดฝายหนึ่งตายกอนสมรส 2. กรณีมีการบอกลางสัญญาหมั้น 3. กรณีที่มีการสมรส 4. การสิ้นสุดโดยการบอกเลิกสัญญา 5. การสิ้นสุดโดยความยินยอมของทั้งชายและหญิง ☺ การสมรส เงื่อนไขการสมรส 1.การสมรสจะทําไดในระหวางชายกับหญิงเทานั้น และจะกระทําไดก็ตอเมื่อชายและหญิงมีอายุ 17 ปบริบูรณ แตในกรณีที่มีเหตุอันสมควร ศาลอนุญาตใหทําการสมรสกอนนั้นได (ม.1448) 2. หากผูเยาวจะทําการสมรส ตองไดรับความยินยอมจากบุคคลตาม มาตรา 1454,1455 เสียกอน

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

37 3. ชายหรือหญิงตองไมเปนคนวิกลจริต หรือเปนบุคคลซึ่งศาลสั่งใหเปนคนไรความสามารถ ตามมาตรา 1449 ถาฝาฝนการสมรสตกเปนโมฆะ ตามมาตรา 1495 4. ชายและหญิงมิไดเปนญาติสืบสายโลหิตตอกันหรือเปนพี่นองรวมบิดามารดาหรือรวมแตบิดา หรือมารดา ตามมาตรา 1450 ถาฝาฝนการสมรสตกเปนโมฆะ ตามมาตรา1495 5.ผูรับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมจะสมรสกันไมได ตามมาตรา1451แตกฎหมายมิไดบัญญัติใหการ สมรสที่ฝาฝนเงื่อนไขขอนี้เปนโมฆะหรือโมฆียะ เนื่องจากผูรับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมไมมีความสัมพันธ ในทางสายโลหิตกันเลย และมีมาตรา 1598/32 บัญญัติวา การรับบุตรบุญธรรมยอมเปนอันยกเลิกเมื่อมีการสมรสฝาฝน มาตรา 1451 จึงทําใหการสมรสที่ฝาฝนบทบัญญัติดังกลาวมีผลสมบูรณทุกประการ 6. ชายหรือหญิงมิไดเปนคูสมรสของบุคคลอื่นอยู ตามมาตรา 1452 การสมรสทีฝ่ าฝนบทบัญญัติดังกลาวเปน โมฆะ ตามมาตรา 1495 7.หญิงหมายจะสมรสใหมไดตอเมื่อขาดจากการสมรสเดิมแลวไมนอยกวา 310 วัน แตมีขอยกเวนตามมาตรา 1453 8. ชายและหญิงยินยอมสมรสกัน (ม. 1458) โดยเปดเผยตอหนานายทะเบียน และใหนายทะเบียนบันทึกความ ยินยอมนั้นไวดวย แบบแหงการสมรส การสมรสจะมีไดเฉพาะเมื่อไดจดทะเบียนสมรสแลวเทานั้น ตามมาตรา 1457 ☺ ความสัมพันธระหวางสามีภริยา 1. การอยูกินดวยกันฉันสามีภริยา 2. การชวยเหลืออุปการะเลี้ยงดูกัน หากสามีภริยาไมชวยเหลืออุปการะเลี้ยงดูกันตามสาควร อีกฝายหนึ่ง ยอมฟองเรียกคาอุปการะเลี้ยงดูไดตามมาตรา 1598/38 หรือหากประสงคจะหยาขาดจากกันก็อาจฟองหยาไดตามมาตรา 1516 (6) สิทธิที่จะไดคาอุปการะเลี้ยงดูนี้จะสละหรือโอนมิได และไมอยูในขายแหงการบังคับคดี ตามมาตรา 1598/41 3. การแยกกันอยูตางหากชั่วคราว 3.1 สามีภริยาอาจทําขอตกลงระหวางกันเพื่อแยกกันอยูตางหากเปนการชั่วคราวได ขอตกลง เชนวานี้ใชบังคับได เมื่อสามีภริยาทําขอตกลงแยกกันอยูตางหากจากกันแลวสามีภริยาตางฝายตางหมดหนาที่ที่จะตองอยู กินดวยกันฉันสามีภริยาตอไป แตสถานะความเปนสามีภริยายังคงมีอยูยังไมถือวาการสมรสสิ้นสุดลง สามีหรือภริยาแต ละฝายจึงจะทําการสมรสใหมไมได ผลของขอตกลงนี้มีเพียงทําใหการแยกกันอยูนี้แมจะเปนเวลาเกิน 1 ป ก็ไมถือวาเปน การจงใจละทิ้งราง คูสมรสฝายใดฝายหนึ่งจึงจะมาอางเปนเหตุฟองหยาตามมาตรา 1516 (4) ไมได แตถาหากการตกลง แยกกันอยูนี้ เปนเพราะเหตุที่ไมอาจอยูรวมกันฉันสามีภริยาไดโดยปกติสุขและสามีภริยาไดแยกกันอยูแลวเปนเวลาเกิน 3 ป สามีหรือภริยาฝายใดฝายหนึ่งมีสิทธิฟองหยาไดตามมาตรา 1516 (4/2) 3.2

ศาลมีคําสั่งอนุญาตใหแยกกันอยูตางหากเปนการชั่วคราว ตามมาตรา 1462 (1) การอยูรวมกันจะเปนอันตรายแกกายอยางมากของสามีหรือภริยา เชน สามี เปนโรคติดตออยางรายแรง เปนตน (2) การอยูรวมกันจะเปนอันตรายแกจิตใจอยางมากของสามีหรือภริยา เชน สามี ชอบพาพารทเนอรมานอนบานเปนประจํา เปนการทําลายจิตใจของภริยา อยางมาก เปนตน (3) การอยูรวมกันจะเปนการทําลายความผาสุขอยางมากของสามีหรือภริยา เชน สามีเปนคนวิกลจริตมีอาการดุรายเปนที่หวาดกลัวแกภริยา แตเนื่องจาก

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

38 ยังไมครบกําหนด 3 ป จึงฟองหยาไมได ภริยาก็อาจมารองขอตอศาลใหสั่ง อนุญาตใหตนอยูตางหากจากสามีเปนการชั่วคราวได 3.3 การสิ้นสุดของการแยกกันอยู (1) สามีภริยาตกลงกันยกเลิกการแยกกันอยู (2) สามีภริยาหยาขาดจากกัน (3) สามีภริยาฝายใดฝายหนึ่งถึงแกความตาย ☺ ทรัพยสินระหวางสามีภริยา 1. สินสวนตัว ตามมาตรา 1471 ไดแกทรัพยสิน 1.1 ทรัพยสินที่คูสมรสฝายใดฝายหนึ่งมีอยูกอนสมรส ทรัพยสินเชนวานี้จะตองตกเปน กรรมสิทธิ์โดยกรรมสิทธิ์ของคูสมรสฝายนั้นแลว แตถาทรัพยสินนั้นยังไมตกเปนกรรมสิทธิ์เด็ดขาดของคูสมรสฝายใด แมจะอยูในเงื่อนไขที่จะตองไดกรรมสิทธิ์มาในภายหลัง ก็ไมถือวาเปนทรัพยสินที่มีอยูกอนสมรส 1.2 ทรัพยสินที่เปนเครื่องใชสอยสวนตัว เครื่องแตงกาย หรือเครื่องประดับกายตามควรแก ฐานะ หรือเครื่องมือเครื่องใชที่จําเปนในการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพของคูสมรสฝายใดฝายหนึ่ง 1.3 ทรัพยสินที่ฝายใดฝายหนึ่งไดมาระหวางสมรสโดยการรับมรดกหรือการใหโดย เสนหา ทรัพยสินเหลานี้ถือวาเปนสินสวนตัวของสามีหรือภริยาผูที่ไดรับมาทั้งสิ้น ไมถือวาเปนสินสมรส ทั้งๆ ที่ ไดมาระหวางสมรส 1.4 ในกรณีที่สามีหรือภริยาไดรับรางวัลจากการกระทําสิ่งใดหรือจากการประกวดชิง รางวัล รางวัลที่ไดรับมานั้นเปนสินสวนตัว 1.5

ทรัพยที่เปนของหมั้น เปนสินสวนตัวของภริยา

1.6 ของแทนสินสวนตัว ทรัพยสินที่เปนสินสวนตัวนั้นถาไดมีการแลกเปลี่ยนเปน ทรัพยสินอื่นก็ดี ซื้อทรัพยสินอื่นมาดวยเงินสินสวนตัวก็ดี หรือขายสินสวนตัวไดเงินมาก็ดี ทรัพยสินอื่นหรือเงินที่ไดมา นั้นยงคงเปนสินสวนตัวอยูตามเดิม เพราะเปนไปตามหลักในเรื่องชวงทรัพย ตามมาตรา 226 วรรคสอง หรือสินสวนตัวที่ ถูกทําลายไปทั้งหมดหรือแตบางสวน แตไดทรัพยสินหรือเงินมาทดแทน ทรัพยสินอื่นหรือเงินที่ไดมานั้นเปนสินสวนตัว เชนเดียวกัน 1.7 การจัดการสินสวนตัวของคูสมรสฝายใดใหฝา ยนั้นเปนผูจัดการ ตามมาตรา 1473 2. สินสมรส ตามมาตรา 1474 มีอยู 3 ชนิดคือ 2.1 ทรัพยสินที่คูสมรสไดมาระหวางสมรส โดยไมตองคํานึงวาฝายใดมีสวนรวมในการทํา มาหาไดนั้นหรือไม นอกจากนี้การที่สามีภริยาแยกกันอยูหรือทิ้งรางกันโดยไมไดหยาขาดจากกันโดยเด็ดขาด ทรัพยสิน ที่ทํามาหาไดในระหวางนั้นก็ถือวาเปนสินสมรสดวย 2.2 ทรัพยสินที่คูสมรสฝายใดฝายหนึ่งไดมาระหวางสมรสโดยพินัยกรรมหรือการให เปนหนังสือ ทรัพยสินเชนวานี้เปนสินสวนตัวของฝายนั้นตามมาตรา 1471 (3) แตหากเจามรดกหรือผูใหระบุไวใน พินัยกรรมหรือหนังสือยกให ระบุวาใหเปนสินสมรสจึงจะเปนสินสมรส 2.3 ทรัพยสินที่เปนดอกผลของสินสวนตัว ☺ การจัดการสินสมรส

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

39 (1) หลัก สามีหรือภริยาฝายใดฝายหนึ่งมีอํานาจจัดการสินสมรสไดโดยลําพัง เวนแตการจัดการที่ สําคัญจึงจะตองจัดการรวมกัน ตามมาตรา 1476 (2) สามีภริยาเพียงคนเดียวมีอํานาจฟองหรือตอสูคดีเกี่ยวกับสินสมรส ตามมาตรา 1477 (3) ถาสามีหรือภริยาฝายใดฝายหนึ่งไมไหความยินยอมในการจัดการสินสมรสที่สําคัญ อีกฝายหนึ่ง อาจขอใหศาลสั่งอนุญาตแทนความยินยอมได ตามมาตรา 1478 (4) ถาสามีหรือภริยาจัดการสินสมรสที่สําคัญไปโดยลําพัง คูสมรสอีกฝายหนึ่งที่มิไดยินยอมอาจ ขอใหศาลเพิกถอนนิติกรรมนั้นได ตามมาตรา 1480 แตการเพิกถอนนิติกรรมดังกลาวอาจจะเปนที่เสียหายแก บุคคลภายนอกได ดังนั้นมาตรา 1480 จึงไดบัญญัติคุมครองบุคคลภายนอกผูทําการโดยสุจริตและเสียคาตอบแทน ซึ่งการ เพิกถอนนิติกรรมนั้นจะไปกระทบกระเทือนสิทธิของบุคคลภายนอกดังกลาวนั้นไมได มาตรา 1480 วรรคทาย กําหนดใหคูสมรสฝายที่ไมไดใหความยินยอมในการทํานิติกรรมนั้นจะตอง ฟองขอใหศาลเพิกถอนนิติกรรมนั้นเสียภายในกําหนด 1 ปนับแตวันที่รูวาไดมีการทํานิติกรรมหรืออยางชาภายใน 10 ป นับแตวันที่ไดทํานิติกรรม (5) สามีหรือภริยาไมมีอํานาจทําพินัยกรรมยกสินสมรสที่เกินกวาสวนของตนใหแกบุคคลใดได ตาม มาตรา 1481 (6) สามีหรือภริยาโดยลําพังมีอํานาจจัดการบานเรือนหรือจัดหาสิ่งจําเปนสําหรับครอบครัวไดเสมอ ตามมาตรา 1482 (7) สามีหรือภริยาอาจขอใหศาลสั่งหามคูสมรสอีกฝายหนึ่งมิใหจัดการสินสมรสอันจะกอใหเกิด ความเสียหายถึงขนาดได ตามมาตรา 1483 (8) ถามีเหตุจําเปน สามีหรือภริยาอาจขอใหศาลสั่งอนุญาตใหตนเปนผูจัดการสินสมรสแตผูเดียวหรือ ขอใหแยกสินสมรสได ตามมาตรา 1484 ☺ ทรัพยสินระหวางสามีภริยาที่ไดจดทะเบียนสมรสกัน ตองถือวาตางมีสิทธิเปนเจาของคนละครึ่ง ☺ ความรับผิดในหนี้สินของสามีภริยา 1.หนี้ที่มีมากอนสมรส คงเปนหนี้ที่ฝายนั้นจะตองรับผิดเปนสวนตัวแตเพียงผูเดียว แมจะเปนหนี้ที่ สามีภริยาเปนหนี้ระหวางกันเองมากอนสมรสก็ตาม ก็ยังคงเปนลูกหนี้กันอยูดังที่กลาวมาแลว 2. หนี้ที่กอขึ้นในระหวางสมรส หนี้ที่กอขึ้นในระหวางสมรสอาจจะเปนหนี้สวนตัวของสามีหรือ ภริยาฝายใดฝายหนึ่ง หรือเปนหนี้รวมที่สามีภริยาเปนลูกหนี้รวมกันก็ไดแลวแตกรณี ซึ่งโดยหลักแลวคูสมรสฝายใดเปนผู กอใหเกิดหนี้ หนี้ที่เกิดขึ้นก็เปนหนี้ของฝายนั้น เวนแตจะเขาขอยกเวนวาเปนหนี้รวมตามมาตรา 1490 เชน สามีกูเงินเพื่อ ไปเที่ยวตางประเทศ ก็เปนหนี้สวนตัวของสามีแตถากูเงินมาเพื่อใหการศึกษาแกบุตร จึงเปนหนี้รวมที่สามีและภริยาเปน ลูกหนี้รวมกัน เปนตน ☺ หนี้รวมระหวางสามีภริยา ตามมาตรา 1490 หนี้รวมระหวางสามีภริยาจะตองรับผิดชอบรวมกัน มีอยู 4 ชนิด 1. หนี้เกี่ยวแกการจัดการบานเรือนและจัดหาสิ่งที่จําเปนสําหรับครอบครัว การอุปการะ เลี้ยงดู ตลอกถึงการรักษาพยาบาลบุคคลในครอบครัวและการศึกษาของบุตรตาม สมควรแกอัตภาพ 2. หนี้ที่เกี่ยวของกับสินสมรส เชน หนี้เกี่ยวกับการซอมแซมบานเรือนที่เปนสินสมรส เปนตน

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

40 3. หนี้ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการงานซึ่งสามีภริยาทําดวยกัน 4. หนี้ที่สามีหรือภริยากอขึ้นเพื่อประโยชนตนฝายเดียว แตอีกฝายหนึ่งไดใหสัตยาบัน คู สมรสจะใหสัตยาบันดวยวาจาก็ได ☺ การเอาทรัพยสินระหวางสามีภริยาไปชําระหนี้ 1. หนี้สวนตัวของสามีหรือภริยา ใหชําระหนี้นั้นดวยสินสวนตัวของฝายนั้นกอน เมื่อไม พอจึงใหชําระดวยสินสมรสที่เปนสวนของฝายนั้น ตามมาตรา 1488 2. หนี้รวมระหวางสามีภริยา ใหชําระหนี้นั้นจากสินสมรสและสินสวนตัวของทั้งสอง ฝาย ตามมาตรา 1489 ☺ เหตุที่ทําใหการสมรสเปนโมฆะ 1.

การสมรสที่ชายหรือหญิงเปนบุคคลวิกลจริตหรือเปนบุคคลที่ศาลสั่งใหเปนคนไรความสามรถ

(ม.1449+ม.1495) 2.การสมรสที่ชายหรือหญิงเปนญาติสืบสายโลหิตโดยตรงตอกันหรือเปนพี่นองรวมบิดามารดาหรือ รวมแตบิดาหรือมารดา (ม.1450+ม.1495) 3. การสมรสซอน (ม.1452+ม.1495) 4. การสมรสที่ชายหญิงไมยอมเปนสามีภริยากัน (ม.1458+ม.1495) คําพิพากษาของศาลเทานั้นที่จะแสดงวาการสมรสที่ฝาฝนมาตรา 1449 มาตรา 1450 และมาตรา1458 เปนโมฆะ (ตามมาตรา 1496) ☺ ผลของการสมรสที่เปนโมฆะ 1. การสมรสที่เปนโมฆะไมกอใหเกิดความสัมพันธทางทรัพยสินระหวางสามีภริยา ตามมาตรา 1498 2. การสมรสทีเ่ ปนโมฆะ ไมทําใหคูสมรสที่สุจริตเสื่อมสิทธิที่ไดมาเพราะการสมรสและยังมีสิทธิ เรียกคาเลี้ยงชีพและคาทดแทนอีกดวย ตามมาตรา 1499 3.การสมรสที่เปนโมฆะไมกระทบถึงสิทธิของบุคคลภายนอกผูทําการโดยสุจริต ตามมาตรา 1500 4. การสมรสทีเ่ ปนโมฆะไมมีผลกระทบกระเทือนถึงการเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมาย ตามมาตรา 1536 มาตรา 1538 และมาตรา 1499/1 ☺ การสิ้นสุดแหงการสมรส 1. การสมรสสิ้นสุดลงดวยความตาย ความตายในที่นี้ หมายความถึง ความตายตามธรรมชาติ ไมได หมายความถึงความตายโดยผลของกฎหมาย หรือการสาบสูญซึ่งเปนเพียงเหตุหยาตามมาตรา 1516 (5) 2.การสมรสที่เปนโมฆียะสิ้นสุดลงเมื่อศาลพิพากษาใหเพิกถอน ☺ เหตุที่ทําใหหารสมรสเปนโมฆียะ 1.การสมรสที่ชายและหญิงอายุยังไมครบ 17 ปบริบูรณ (ม.1448+ม.1504) 2.การสมรสโดยสําคัญผิดตัวคูสมรส (ม.1505) 3.การสมรสโดยถูกกลฉอฉล (ม.1506) 4.การสมรสโดยถูกขมขู (ม.1507)

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

41 5.การสมรสของผูเยาวที่มิไดรับความยินยอมของบิดามารดา

ผูรับบุตรบุญธรรมหรือผูป กครอง

(ม.1509+1510) ☺ ผลของการเพิกถอนการสมรสที่เปนโมฆียะ 1.การสมรสที่เปนโมฆียะยอมสิ้นสุดลงในวันที่ศาลมีคําพิพากษาถึงที่สุดใหเพิกถอน (ม. 1511) 2.ตองมีการแบงทรัพยสินระหวางสามีภริยา และกําหนดการปกครองบุตรเชนเดียวกับการหยาโดยคํา พิพากษา (ม.1512) 3.มีการชดใชคาเสียและคาเลี้ยงชีพ (ม.1513) ☺ การหยา 1.การหยาโดยความยินยอมของทั้งสองฝาย มีหลักดังนี้ 1.1 ตองทําเปนหนังสือและมีพยานลงลายมือชื่ออยางนอย 2 คน และ (ม.1514) 1.2 การหยาโดยความยินยอมจะสมบูรณตอเมื่อไดจดทะเบียนการหยา(ม.1515) 2.การหยาโดยคําพิพากษาของศาล โดยอาศัยเหตุฟองหยาตามมาตรา 1516 ☺ การแบงทรัพยสิน เมื่อหยากันแลวใหแบงทรัพยสินโดยใหใชและหญิงมีสวนเทาๆ กัน (1533) และในกรณี ที่มีหนี้ที่จะตองรับผิดรวมกันก็ใหแบงแยกความรับผิดนั้นออกเปนสวนๆ เทากัน (ม.1535) ☺ การรับบุตรบุญธรรม หลักเกณฑในการรับบุตรบุญธรรม (ม.1598/19) 1. ผูที่จะรับบุตรบุญธรรมนั้นตองมีอายุไมต่ํากวา 25 ป 2. ผูรับบุตรบุญธรรมตองมีอายุแกกวาผูที่จะเปนบุตลบุญธรรมอยางนอย 15 ป 3. ในการรับบุคคลที่ยังไมบรรลุนิติภาวะเปนบุตรบุญธรรม จะทําไดตอเมื่อไดรับความยินยอมจากบิดาและ มารดาของผูเยาวกอน ในกรณีที่ผูเยาวนั้นถูกทอดทิ้งและอยูในความดูแลของสถานสงเคราะหเด็ก ใหขอความยินยอมจาก ผูมีอํานาจในสถานสงเคราะหเด็กนั้นแทน 4. ในกรณีที่ผูรับบุตรบุญธรรมหรือผูที่จะเปนบุตรบุญธรรมมีคูสมรสแลว ในการรับหรือเปนบุตรบุญธรรม ตองไดรับความยินยอมจากคูสมรสกอน 5. ผูเยาวเปนบุตรบุญธรรมของบุคคลหนึ่งอยู จะเปนบุตรบุญธรรมของบุคคลอื่นอีกในขณะเดียวกันไมได เวน แตจะเปนบุตรบุญธรรมของคูสมรสของผูรับบุตรบุญธรรม 6. การรับบุตรบุญธรรมจะสมบูรณตอเมื่อไดจดทะเบียนตามกฎหมาย ☺ สิทธิและหนาที่ของผูที่เปนบุตรบุญธรรม 1. มีฐานะอยางเดียวกับบุตรชอบดวยกฎหมายของผูรับบุตรบุญธรรมนั้น (ม.1598/28) 2. มีหนาที่ตองอุปการะเลี้ยงดูผูรับบุตรบุญธรรม ทํานองเดียวกับบุตรโดยชอบดวยกฎหมาย (ม.1563) ☺ สิทธิและหนาที่ของผูรับบุตรบุญธรรม 1.มีสิทธิใชอํานาจปกครองบุตรบุญธรรม

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

42 2. ผูรับบุตรบุญธรรมไมมีสิทธิรบั มรดกของบุตรบุญธรรม ในฐานะทายาทโดยธรรม อยางไรก็ตาม ถาบุตรบุญ ธรรมตายกอนโดยไมมีคูสมรสหรือผูสืบสันดาน ผูรับบุตรบุญธรรมมีสิทธิเรียกรองทรัพยสินที่ตนไดใหแกบุตรบุญธรรม คืนจากกองมรดก เพียงเทาที่ยังคงเหลืออยูหรือภายหลังจากชําระหนี้กองมรดกแลว (ม.1598/29 และ ม.1598/30) 3. ผูรับบุตรบุญธรรมมีหนาที่ตองอุการะเลี้ยงดูบุตรบุญธรรม ☺ การเลิกรับบุตรบุญธรรม 1. โดยความตกลง(ม.1598/3)แตจะมีผลสมบูรณตอเมื่อไดจดทะเบียนตามกฎหมาย 2. การเลิกเมื่อมีการสมรสฝาฝน มาตรา 1598/32 3. การเลิกรับโดยคําสั่งศาล (ม.1598/33) และมีผลตั้งแตเวลาที่ศาลมีคําพิพากษาถึงที่สุด แตจะยกขึ้นอาง บุคคลภายนอกไดตอเมื่อจดทะเบียนแลว มรดก ☺ การตกทอดแหงมรดก เมื่อบุคคลใดตายมรดกตกทอดแกทายาท (มาตรา 1599) และมรดกของผูตายไดแก ทรัพยสินทุกชนิดของผูตาย ตาม มาตรา 1600 และมรดกของผูตายนี้ยอมตกทอดแกทายาททันทีที่เจามรดกถึงแกความโดยทายาทไมตองแสดงเจตนา สนองรับ ☺ กองมรดกของผูตาย ไดแก 1. ทรัพยสินและสิทธิ คําวา “ทรัพยสิน” มีความหมายตามมาตรา 137 และมาตรา 138 คือวัตถุที่มีรูปราง รวมทั้งวัตถุไมมีรูปราง ซึ่งอาจมีราคาและถือเอาไดทรัพยสินและสิทธิตองเปนของผูตายระหวางมีชีวิต เมื่อผูตายถึงแก ความตายจึงตกทอดเปนมรดก ถาทรัพยสินนั้นไมเปนของผูตายแลวกอนตายยอมไมเปนมรดก 2.หนาที่และความรับผิดตางๆ ทายาทตองรับเอาไปทั้งหนาที่และความรับผิดตางๆ ดวย เวนแตทรัพยสิน สิทธิ หนาที่และความรับผิดนั้นโดยสภาพแลวเปนการเฉพาะตัวของผูตาย ☺ ทายาทที่มีสิทธิไดรับมรดกตามกฎหมาย 1. ทายาทโดยธรรม ไดแกบุคคลตามมาตรา 1629 2. ทายาทโดยพินัยกรรม ☺ การเปนทายาท ตามมาตรา 1604 1.ทายาทที่เปนบุคคลธรรมดา ซึง่ มีสิทธิรับมรดกของผูตายนั้น ตองมีสภาพบุคคล คือ เริ่ม แตเมื่อคลอดแลวอยูรอดเปนทารกและสิ้นสุดลงเมื่อตายตามมาตรา 15 วรรคแรก เหตุนี้ แมกอนตายบุคคลใดเปนทายาท แตบุคคลนั้นตายกอนเจามรดกก็ยอมไมสามารถเปนทายาท 2.ทารกในครรภมารดาขณะที่บิดาตาย แมจะยังไมคลอดยังไมมีสภาพบุคคลก็มีสิทธิรับ มรดกบิดาได ถาคลอกมาแลวอยูรอด ☺ การถูกกําจัดมิใหไดรับมรดก เพราะยักยายหรือปดบังทรัพยมรดก ตามมาตรา 1605

ถูกกําจัดหลังเจามรดกตาย

ไมอาจถอนขอกําจัด (ใหอภัย) ได ตาม www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

ผูสืบสันดานของผูถูกกําจัดสืบมรดกตอได ตามมาตรา1607 และ ฎ.478/2539

43 1. การกําจัดมิใหไดรับมรดกตามมาตรา 1605 เปนบทบัญญัติใหทายาทเสียสิทธิในมรดกโดยผลของกฎหมาย และเปนการเสียสิทธิเพราะปดปงหรือยักยายทรัพยมรดก ซึ่งการปดบังและยักยายไดกระทําขึ้นภายหลังเจามรดกตายแลว ตางกับการถูกกําจัดมิใหรับมรดกฐานเปนผูไมสมควรตามมาตรา1606 ซึ่งอาจเกิดกอนหรือหลังเจามรดกตายแลวก็ได ⇑ การถูกกําจัดตามมาตรานี้ ถาผูถูกกําจัดมีผูสืบสันดานๆ ของผูถูกกําจัดนั้นมีสิทธิรับมรดกแทนที่ผูถูกกําจัดได ตามมาตรา 1607 2. คําวา ทายาท ตามมาตรานี้หมายถึง ทายาทโดยธรรมและผูรับพินัยกรรม ตามมาตรา1603 และมาตรา 1651 (1) เพราะมาตรา 1605วรรคทายยกเวนไมใหใชบังคับเฉพาะผูรับพินัยกรรมเฉพาะสิ่งอยางตามมาตรา 1651(2) เทานั้น ☺ ผลของการถูกกําจัดตามมาตรา 1605 ดังนี้ 1. ยักยายหรือปดบังเทาสวนที่ตนจะไดหรือมากกวามีผลทําใหทายาทผูนั้นถูกกําจัดมิใหไดรับมรดก ทั้งหมด 2. ยักยายหรือปดบังนอยกวาสวนที่ตนจะได มีผลทําใหทายาทผูนั้นถูกกําจัดมิใหไดรับมรดกเฉพาะ สวนที่ไดยักยายหรือปดบัง 3. กรณีที่ผูตายมีทายาทโดยธรรม หรือผูรับพินัยกรรมเพียงคนเดียวเทานั้นที่มีสิทธิรับมรดกของผูตาย เชนนี้แม ทายาทคนเดียวนั้นจะยักยายหรือปดปงทรัพยมรดกจะเปนเพราะเหตุใดก็ตาม ก็ไมมีทางถูกกําจัดมิใหรับมรดก ทั้งนี้ เพราะมรดกนั้นเปนของทายาทผูนั้นแตผูเดียว การกระทําดังกลาวจึงไมมีทายาทอื่นที่จะตองเสื่อมเสียประโยชน 4. ถาผูตายทําพินัยกรรมยกทรัพยมรดกสิ่งหนึ่งสิ่งใดใหแกผูรับพินัยกรรมโดยเฉพาะเจาะจงแลว เพื่อเคารพ เจตนาของผูตาย แมผูรับพินัยกรรมคนนั้นจะไปยักยายหรือปดบังทรัพยมรดกสิ่งอื่นโดยฉอฉล ก็ไดรับการยกเวนไม ตองถูกกําจัดไมใหรับมรดกทรัพยเฉพาะสิ่งตามพินัยกรรมนั้น 5. การยักยายหรือปดบังทรัพยมรดก ตองเกิดขึ้นภายหลังเจามรดกตายแลวอันเปนการฉอฉลทายาทอื่น และไม อาจถอนขอกําจัดโดยใหอภัยไวเปนลายลักษณอักษรตามมาตรา1606 วรรคทายได เพราะเจามรดกไดตายไปกอน แลว อีกทั้งจะทําหนังสือใหอภัยไวลวงหนาก็ไมได เพราะการใหอภัยตามมาตรา 1606 วรรคทาย ใหทําไดเฉพาะการ กําจัดมิใหไดมรดกฐานเปนผูไมสมควรเทานั้น ☺ การถูกกําจัดมิใหไดรับมรดกฐานเปนผูไมสมควร ตามมาตรา 1606

อนุมาตรา(1) ฆาหรือพยายามฆาเจา อนุมาตรา(2) ฟองเจามรดกฯ

ถูกกําจัดกอน เจามรดกตาย

อนุมาตรา(4) ฉอฉลหรือขมขู www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

ผูสืบสันดานรับ มรดกแทนทีไ่ ด (ม.1639)

44

อนุมาตรา(3) มิไดรองเรียนเอาตัวผูฆา เจา

ถูกกําจัดหลัง เจามรดกตาย

อนุมาตรา(4) ผูที่ปลอม ทําลายปดบัง พินัยกรรม

ถูกกําจัดกอนหรือหลัง เจามรดกตายก็ได

ผูสืบสันดานรับ มรดกแทนทีไ่ มได (ม.1639)

☺ การตัดมิใหรับมรดก ตามมาตรา 1608 1. การตัดทายาทโดยธรรมดวยแสดงเจตนาชัดแจง และระบุตัวทายาทผูถูกตัดโดยชัดแจง มีผลทําให ทายาทโดยธรรมผูนั้นไมมีสิทธิ์รับมรดก และผูสืบสันดานของผูถูกตัดก็ไมมีสิทธิรับมรดกแทนที่เลย เพราะในกรณี ดังกลาว ไมมีกฎหมายบัญญัติใหรับมรดกแทนที่หรือสืบมรดกตอไปได แบบการตัดมิใหรับมรดกตองทําตามแบบหนึ่งแบบใดดังตอไปนี้ 1646

1. โดยพินัยกรรม ซึ่งเปนการแสดงเจตนากําหนดการเผื่อตายของเจามรดก ผูทําพินัยกรรมตามมาตรา และตองทําตามแบบมาตรา 1648, 1655 มิฉะนั้นจะตกเปนโมฆะตามมาตรา 1705 2. โดยทําเปนหนังสือมอบไวแกพนักงานเจาหนาที่ ซึ่งไดแกนายอําเภอ

2. ใหกรณีใหถือวาเปนผูถูกตัดมิใหรับมรดก การที่เจามรดกทําพินัยกรรมจําหนายทรัพยมรดกเสีย ทั้งหมด โดยทายาทโดยธรรมบางคนหรือทั้งหมด ไมมีชื่อไดรับสวนแบงมรดกนั้นเลย และในพินัยกรรมก็ไมมี ขอความตัดทายาทโดยธรรมนั้นโดยชัดแจงและระบุชื่อผูถูกตัดนั้นโดยชัดเจน มาตรา 1608วรรคทาย ใหถือวา ทายาทโดยธรรมนั้นเปนผูถูกตัดมิใหรับมรดก เพราะเมื่อพินัยกรรมมีผลบังคับ ทายาทโดยธรรมนั้นไมมีสิทธิไดรับ มรดกเลยตามมาตรา 1620,1673 แตการที่เจามรดกทําพินัยกรรมจําหนายทรัพยมรดกบางสวน หรือเฉพาะสิ่งเฉพาะอยางใหแกผูรับ พินัยกรรมและมีทรัพยมรดกนอกพินัยกรรมที่จะตกทอดแกทายาทโดยธรรม ดังนี้ไมถือวาเปนการตัดทายาทโดย ธรรม เพราะมิไดทําพินัยกรรมจําหนายทรัพยมรดกเสียทั้งหมด จึงไมตองดวยมาตรา 1608 วรรคทาย และกรณีตอง บังคับตามมาตรา 1620 คือ ใหปนสวนทรัพยมรดกที่มิไดจําหนายโดยพินัยใหแกทายาทโดยธรรมตามกฎหมาย ตอไป ☺ แบบการถอนการแสดงเจตนาตัดมิใหรับมรดก ตามมาตรา 1609 วรรคสอง 1. ถาการตัดมิใหรับมรดกไดทําโดยพินัยกรรม ก็ตองถอนโดยพินัยกรรม ซึ่งอาจกระทําโดยการเพิกถอน พินัยกรรมหรือขอกําหนดพินัยกรรม ตามมาตรา1693 ถึงมาตรา 1697 จะถอนโดยวิธีอื่น เชน โดยไปทําเปนหนังสือ มอบไวแกพนักงานเจาหนาที่ไมได 2. ถาการตัดมิใหรับมรดกไดทําเปนหนังสือมอบไวแกพนักงานเจาหนาที่ ก็ตองถอนโดยทําเปนหนังสือ มอบไวแกพนักงานเจาหนาที่หรือโดยพินัยกรรมก็ได

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

45 ☺ การสละมรดก ตามมาตรา 1612 1. การสละมรดกนั้นเปนเหตุใหทายาทเสียสิทธิในมรดกโดยเกิดจากการแสดงเจตนาชัดแจงของทายาท - ทายาทที่จะสละมรดกไดทายาทผูนั้น ตองมีสิทธิไดรับทรัพยมรดกแลว และคําวาทายาท หมายถึง ทายาทโดยธรรมและผูรับพินัยกรรมดวย ถาทายาทคนใดสละมรดกทั้งๆ ที่ตนยังไมมีสิทธิ เพราะเจามรดกยังไม ตาย ถือวาเปนการสละสิทธิอันหากจะมีในภายหนา เชนทําสัญญาประนีประนอมยอมความสละมรดกตั้งแตเจา มรดกยังมีชีวิตอยู หาอาจจะทําไดไมตามมาตรา 1619 -การสละมรดกตองเปนการสละมรดกสวนของตนทั้งหมดมิฉะนั้นตองหามตามมาตรา 1613 และ การสละมรดกก็ตองไมมีเจตนาเจาะจงใหมรดกสวนของตนที่สละนั้นตกไดแกทายาทอื่นคนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะ - การสละมรดกนั้นจะทําโดยมีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลาไมได ตามมาตรา 1613 -หากสละทรัพยมรดกรายการหนึ่งเพื่อขอเลือกเอาทรัพยรายการอื่นหรือยอมรับแบงทรัพยที่มีราคา นอยกวาสวนที่ตนจะได ก็ไมถือวาทายาทผูนั้นสละมรดกสําหรับจํานวนสวนแบงที่ขาดไป -เมื่อทายาทโดยธรรมคนใดสละมรดก ผูสืบสันดานของทายาทคนนั้นสืบมรดกไดตามสิทธิของตน ตามมาตรา 1615 วรรคสอง ถาทายาทโดยธรรมผูที่สละมรดกไมมีผูสืบสันดาน ใหปนสวนแบงของผูที่ไดสละมรดกนั้น แกทายาทอื่นของเจามรดกตอไป ตามมาตรา 1618 -เมื่อผูรับพินัยกรรมสละมรดกตามพินัยกรรม ทรัพยมรดกสวนนั้นตกไดแกทายาทโดยธรรมตาม มาตรา 1698 (3) ประกอบมาตรา 1620, 1699 ดังนั้น ผูสืบสันดานของผูรับพินัยกรรมจึงไมมีสิทธิจะรับมรดกที่ไดสละ แลวนั้น ตามมาตรา 1617 2. การสละมรดก อาจทําได 2 วิธี คือ 2.1ทําเปนหนังสือมอบไวแกพนักงานเจาหนาที่ คือ นายอําเภอ ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการ แผนดิน พ.ศ. 2495 หนังสือนั้นตองมีขอความแสดงใหเห็นชัดแจงวาสละมรดกโดยไมเคลือบคลุม 2.2 ทําเปนหนังสือทํานองประนีประนอมยอมความ ตามมาตรา 850, 851 ☺ การเพิกถอนการสละมรดก การสละมรดกที่ไดกระทําโดยชอบดวยมาตรา 1612 และไมตองหามตามมาตรา 1613 วรรคแรกแลวนั้น แม ตอมาทายาทผูสละมรดกจะแสดงเจตนาเพิกถอนยอมเพิกถอนไมไดตามมาตรา 1613 วรรคสอง ☺ มาตรา 1622 พระภิกษุนั้น จะเรียกรองทรัพยมรดกในฐานะทายาทโดยธรรมไมได ขอสังเกต 1. ถาผูจัดการมรดกแบงปนทรัพยมรดกมาถวายใหแกพระภิกษุในฐานะทายาทโดยธรรมโดยมิไดเรียกรอง ก็ดี หรือพระภิกษุเรียกรองเอาทรัพยตามพินัยกรรมที่มีผูอุทิศถวายใหก็ดี พระภิกษุยอมรับเอาหรือเรียกรองตาม พินัยกรรมไดโดยไมตองสึกจากสมณเพศ 2. คําวา พระภิกษุ หมายความถึงบุคคลที่อุปสมบทในศาสนาของพระพุทธเจา แตไมกินความรวมถึง แมชีและสามเณร

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

46 3. ถาพระภิกษุเปนทายาทโดยธรรมเพียงคนเดียวที่มีสิทธิไดรับมรดก มรดกยอมตกทอดมายัง พระภิกษุทันทีที่เจามรดกตาย หากบุคคลอื่นเบียดบังเอาทรัพยมรดกนั้นไป พระภิกษุในฐานะเจาของกรรมสิทธิ์ มี สิทธิติดตามเรียกรองเอาทรัพยนั้นคืนจากบุคคลผูไมมีสิทธิในทรัพยมรดกได ☺ ทรัพยสินของพระภิกษุ ตามมาตรา 1623-1624 -ทรัพยสินทุกอยางที่พระภิกษุไดมาระหวางอยูในสมณเพศ เนื่องจากสมณเพศหรือไมก็ตามตองอยูในบังคับของมาตรา 1623

ไมวาโดยทางใดและจะเพราะไดมา

-แมพระภิกษุมีคูสมรสและการบวชไมเปนเหตุใหการสมรสขาดกัน และจะถือวาเปนการทิ้งรางกันยัง มิไดก็ตาม ทรัพยสินที่ไดมาเพราะเขาทําบุญใหพระภิกษุยอม ไมถือวาเปนสินมสมรส ตามมาตรา 1474 (1) คูสมรส จะแบงทรัพยสินนี้กึ่งหนึ่งตามมาตรา 1533ไมได - ถาพระภิกษุธุดงคไปในที่ตางๆ แลวมรณภาพลง ทรัพยสินของพระภิกษุตกเปนสมบัติของวัดที่ พระภิกษุรูปนั้นสังกัด ถาบุคคลนั้นอุปสมบทแลวสึกจากสมณเพศ แลวอุปสมบทใหมหลายโบสถ ดังนี้ ทรัพยสินกอนอุปสมบถ ครั้งสุดทาย ซึ่งแมจะไดมาระหวางอุปสมบถครั้งกอนๆ คงตกไดแกทายาทของพระภิกษุ ☺ บุตรนอกกฎหมาย ตามมาตรา 1627 บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองไดแก 1. เด็กที่เกิดจากหญิงที่มิไดสมรสกับชาย ซึ่งตามมาตรา 1546 ใหถือวาเปนบุตรชอบดวยกฎหมายของหญิง เทานั้น และ 2. ชายผูเปนบิดาไดรับรองเด็กวาเปนบุตรของตนโดยพฤตินัย - บิดาเปนคนแจงในสูติบัตรวาตนเปนบิดา - เมื่อเด็กโตก็ใหการศึกษาใหความอุปการะเลี้ยงดู - ยอมใหใชนามสกุลของบิดา - ลงทะเบียนในสํามะโนครัววาเปนบุตร การรับรองวาเด็กเปนบุตรยังอยูในครรภมารดา เชน แจงใหญาติผูใหญทราบวา เด็กในครรภเปนบุตรของตน, นํามารดาเด็กไปฝากครรภ หรือแนะนํามารดาเด็กใหเพื่อนรูจักและนําเขาสังคม เปนตน ขอสังเกต การที่บิดานอกกฎหมายรับรองการเปนบุตร หาทําใหบิดานั้นมีสิทธิรับมรดกของบุตร นอกกฎหมาย ☺ บุตรบุญธรรม ตามมาตรา 1598/28 ประกอบกับมาตรา 1627 บุตรบุญธรรมนั้นกฎหมายใหถือวาเปนผูสืบสันดานเหมือนกับบุตรชอบดวยกฎหมาย บุตรบุญธรรม จึงมีสิทธิรับมรดกของผูรับบุตรบุญธรรมตามมาตรา 1627, 1629 (1) และเนื่องจากบุตรบุญธรรมไมสูญสิทธิและ หนาที่ในครอบครัวที่ไดกําเนิดมา บุตรบุญธรรมจึงมีสิทธิรับมรดกของบิดามารดาผูใหกําเนิดและญาติทางครอบครัว ที่ไดกําเนิดดวย ในทางกลับกันบิดามารดาผูใหกําเนิดหรือญาติก็มีสิทธิรับมรดกของบุตรที่ไปเปนบุตรบุญธรรม เชนเดียวกัน

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

47 ระวัง บุตรบุญธรรมมีสิทธิรับมรดกของผูรับบุตรบุญธรรมเทานั้น แตหามีสิทธิรับมรดกของคู สมรสของผูรับบุตรบุญธรรมซึ่งไมไดจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมดวยไม และเพียงแตคูสมรสของผูรับบุตรบุญ ธรรมใหความยินยอมก็ไมถือวาคูสมรสนั้นไดรับบุตรบุญธรรมดวยตามมาตรา 1598/25,1598/26 ☺ การแบงทรัพยมรดกระหวางทายาทโดยธรรมในลําดับและชั้นตางๆ มาตรา 1629 ใชหลัก ญาติสนิทตัดญาติหางๆ ดังบัญญัติไวในมาตรา 1630วรรคแรก สวนคูสมรสเปนทายาทโดยธรรมที่ไมอยูใน บังคับมาตรา 1629 (1) ถึง (6) และมาตรา 1630 จึงมีสิทธิไดรับสวนแบงมรดกเสมอตามที่บัญญัติไวในมาตรา 1635 1.ทายาทลําดับที่ 1 ผูสืบสันดาน ตามมาตรา 1629 (1) หมายถึง ผูสืบสายโลหิตโดยตรงลงมาของเจา มรดก ไดแก บุตร หลาน เหลน ลื้อ และตอจากลื้อลงไป คือ หลีด หลี้ จนขาดสายโดยไมจํากัดวาสืบตอกันกี่ชั้น บุคคลเหลานี้ตางเปนผูสืบสันดานของเจามรดก แตถาเจามรดกมีผูสืบสันดานชั้นบุตร ทําใหผูสืบสันดานชั้นหลาน หรือชั้นตอๆ ไป ไมมีสิทธิรับมรดก เวนแตจะรับมรดกแทนที่ตามมาตรา 1631, 1639 2. ทายาทลําดับที่ 2บิดามารดา ตามมาตรา 1629 (2) กรณีของบิดาที่จะมีสิทธิรับมรดกของบุตรใน ฐานะทายาทโดยธรรม จะตองเปนบิดาที่ชอบดวยกฎหมายเทานั้น 3. ทายาทลําดับที่ 3 พี่นองรวมบิดามารดาเดียวกัน ตามมาตรา 1629 (3) บุตรบุญธรรมไมใชพี่นอง รวมบิดามารดาเดียวกันกับบุตรเจามรดก (รับมรดกแทนที่ไดตามมาตรา 1639) 4. ทายาทลําดับที่ 4 พี่นองรวมบิดาหรือรวมมารดาเดียวกัน ตามมาตรา 1629 (4) สามารถรับมรดก แทนที่ไดตามมาตรา 1639 5.ทายาทลําดับที่ 5ปู ยา ตา ยาย ตามมาตรา 1629 (5) ถาบุคคลเหลานี้ตายกอนเจามรดก ผูสืบสันดาน ของบุคคลเหลานี้ ไมมีสิทธิรับมรดกแทนที่ เพราะไมมีกฎหมายบัญญัติไวใหทําไดตามมาตรา 1639และตามมาตรา 1629 (5) นี้บัญญัติให ปู ยา ตา ยาย เทานั้นเปนทายาทโดยธรรม ดังนั้น ทวด จึงไมใชทายาทโดยธรรม 6. ทายาทลําดับที่ 6 ลุง ปา นา อา ตามมาตรา 1629 (6) ญาติในลําดับ 6 นั้นยอมรับมรดกแทนที่กันได ตามมาตรา 1639 ☺ พินัยกรรม พินัยกรรม เปนนิติกรรมที่บุคคลหนึ่งไดแสดงเจตนากําหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพยสินของตนเองหรือใน การตางๆ อันจะเกิดเปนผลบังคับไดตามกฎหมายเมื่อตนตาย (ม.1646) ความสามรถของผูทําพินัยกรรม กฎหมายกําหนดวา ผูเยาวจะทําพินัยกรรมไดตอเมื่อมีอายุครบ 15 ปบริบูรณ (ม.25) มิฉะนั้นตกเปนโมฆะ (ม.1703) นอกจากนี้ บุคคลที่ถูกศาลสั่งใหเปนคนไรความสามารถ ก็ไมสามารถทํา พินัยกรรมได หากฝาฝนทําลง พินัยกรรมนั้นจะตกเปนโมฆะ (ม.17) แบบของพินัยกรรม (ม.1648) มีดวยกัน 5 ประเภท คือ 1. พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ (ม.1657) 2. พินัยกรรมแบบธรรมดา (ม.1656) 3. พินัยกรรมแบบเอกสารฝายเมือง (ม.1658) 4. พินัยกรรมแบบเอกสารลับ (ม.1660) 5. พินัยกรรมแบบทําดวยวาจา (ม.1663) อนึ่ง การทําพินัยกรรมนั้น แมไมสมบูรณตามแบบหนึ่ง อาจสมบูรณตามแบบอื่นได

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

48 ผูที่ไมอาจเปนผูรับพินัยกรรม (ม.1653) 1. ผูเขียนพินัยกรรม 2. ผูที่เปนพยานในพินัยกรรม 3. คูสมรสของผูเขียนหรือคูสมรสของผูเปนพยานในพินัยกรรม นิติบุคคลอาจเปนผูรับพินัยกรรมได แตทั้งนี้จะตองไมขัดตอวัตถุประสงคในขอบังคับหรือตราสารจัดตั้งนิติ บุคคลนั้น ๆ --------------------------------------------------จบ-----------------------------------------------------

www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER