เศรษฐกิจหลังสงครามโลกครั้งที่ 2

���ɰ�Ԩ���� �.�. 2475 �֧������ѧʧ�����š���駷�� 2
          5.1 ���¤����ɮ�� �Թ����͡�������誹Դ ��ЪҪ������ѧ���ҡ��
                    � ��.��մ� ���§�� �ʹ�����ç���ɰ�Ԩ������ѡɳ����ѧ������
                    � �ա��¡��ԡ������Թ����Ҫ���
          5.2 ���� �;� �. �Ժ��ʧ����
                    � ���Թ��º�ªҵԹ����ҧ���ɰ�Ԩ����Ŵ���ҷ�ҧ���ɰ�Ԩ�ͧ��ǵ�ҧ�ҵԷ���Ӥѭ����Ѱ������ŧ�ع�Ԩ��â�Ҵ�˭� ���͹�ҡ�Ԩ��âͧ������û ������Դ�Ѱ����ˡԨ
                    � �͡�ҡ����ѧ���Թ������¢�� �� ʧǹ�Ҫվ��餹�� ��˹�ࢵ�ǧ���������餹�չ����� ���¡��ͧ��餹�¹����Թ�����
          5.3 ����ʧ�����š���駷�� 2 �����ѧʧ�����š���駷�� 2
                    1) �����á���繡�ҧ�֧��Ң����Ѻ�ء���� �֧�����ª��ҧ���ɰ�Ԩ
                    2) ����蹺ѧ�Ѻ��餹�¤�Ң�¡Ѻ����蹻�������� �Թ�����ҷ���Ҩҡ���ѹ���֧�Ҵ�Ź �Ѱ��ŵ�ͧ��䢻ѭ�Ҵ����Ըջѹ��ǹ ����ѭ�Ҵѧ�������������
                    3) �Դ�����Թ��� ��ТҴ�Ź�Թ��ҵ�ҧ����� �͡�ҡ����Ѱ����ѧ�����ըҡ��ЪҪ��������
                    4) ��Ҥ���Ңҵ��ѹ���Դ�Ԩ����������ʧ���� �͡���ա������ع��駸�Ҥ�þҳԪ����᷹ �� ��Ҥ�á�ا෾
                    5) ʧ��������շ�����Թ����͡�ͧ�����������ҳ�ҡ��� ���ɰ�Ԩ���Ժⵢ��

               The key findings of this study found that art and its investment potential created a new wave of investors whose interests lie in art trade of legal art pieces, while making profit both legally and illegally. Unlike other type of investments that could no longer be invested during the war. In addition, the study found that the art market did not follow popular trends or social contexts as it used to be. On the contrary, the art investors were the driving force of the art market.

ปฏิเสธได้ยากว่านายทุน(เชื้อสาย)จีน เข้ามามีบทบาทในระบบเศรษฐกิจไทยเป็นอย่างมาก จากการศึกษาความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมไทยในอดีต ผู้ศึกษาข้อมูลพบจุดเปลี่ยนที่นำมาสู่การเข้ามาของ “นายทุนจีน” แทนที่นายทุนฝรั่ง ส่วนหนึ่งมาจากยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2

บทความเรื่อง “การ ‘ปรับตัว’ ของ ‘นายทุนจีน’ สะท้อนความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมไทยในทศวรรษ 2490” โดย ณัฏฐพงษ์ เลี่ยววิวัฒน์อุทัย เผยแพร่ในนิตยสาร ศิลปวัฒนธรรม ฉบับสิงหาคม 2551 อธิบายไว้ดังนี้ (จัดย่อหน้าใหม่ – กองบรรณาธิการออนไลน์)


“…สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ทำให้ ‘ทุนยุโรป’ ที่เคยมีอิทธิพลสูงในวงธุรกิจการเงินต้องปิดกิจการไปจึงเกิดช่องว่างในธุรกิจด้านนี้ขึ้น คอมประโดร์และเสมียนพนักงานที่เคยทำงานในสำนักงานสาขาของธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศจึงพยายามจะตั้งธนาคารของตัวเองขึ้นมา เพื่อทำธุรกิจด้านการแลกเปลี่ยนเงินตราและสนับสนุนการค้าระหว่างประเทศของบริษัทในกลุ่มตนเอง เช่น นายลิ้ม ธรรมจารีย์ คอมประโดร์เก่าของธนาตารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้ เป็นผู้จัดการของธนาคารไทย จำกัด เป็นต้น

การประกอบกิจการธนาคารพาณิชย์ไทยในระยะแรก ภายหลังสงครามเลิกใหม่ๆ ยังมิได้เข้าไปมีบทบาทเกี่ยวข้องกับระบบเศรษฐกิจเท่าไรนัก กิจกรรมหลักมักได้แก่การให้บริการแก่ธุรกิจการค้าระหว่างประเทศเป็นสำคัญ โดยเฉพาะด้านการส่งออกและนำเข้า นอกจากนั้นกิจการส่วนใหญ่ของธนาคารยังมุ่งไปในทางช่วยเหลือ ‘กลุ่มการค้า’ ในวงแคบๆ ภายในประเทศและต่างประเทศที่มีเครือข่ายการค้าด้วยกันอยู่แล้ว เช่น ธนาคารหวั่งหลี ที่ตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนธุรกิจการค้าของตระกูลหวั่งหลีเป็นหลัก เป็นต้น

ธนาคารกรุงเทพ ถือกำเนิดขึ้นท่ามกลางเปลวไฟของสงคราม จากการริเริ่มของกลุ่มขุนนาง ข้าราชการ พ่อค้าคหบดีและอดีตพนักงานธนาคารสยามกัมมาจล กลุ่มคนเหล่านี้ได้ชักชวนกันเข้ามาร่วมหุ้นก่อตั้งธนาคารกรุงเทพเมื่อปลายปี 2487 ก่อนสงครามจะสงบราว 1 ปี ทั้งคณะผู้ก่อตั้งและคณะกรรมการชุดแรกของธนาคารกรุงเทพ จำกัด ล้วนประกอบด้วยบุคคลที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดี และได้รับความเชื่อถือในวงสังคมเวลานั้น

นับตั้งแต่ประธานกรรมการธนาคาร คือ พลเอก เจ้าพระยารามราฆพ (ม.ล. เฟื้อ พึ่งบุญ) อดีตข้าราชสำนักในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็เคยร่วมงานที่ธนาคารสยามกัมมาจลมาก่อน หลวงรอบรู้กิจ (นายทองดี ลีลานุช) ข้าราชการกรมรถไฟหลวงหรือการรถไฟแห่งประเทศไทยในปัจจุบัน ตำแหน่งผู้อำนวยการฝ่ายกี่บัญชีและเคยรักษาการตำแหน่งผู้บัญชาการกรมรถไฟหลวง ผู้ได้ลาออกจากงานก่อนที่จะเกษียณ เพื่อร่วมคิดร่วมตั้งธนาคารกรุงเทพขึ้น หลวงบรรณกรโกวิท (นายเปา จักกะพาก) อดีตนายช่างใหญ่กรมไปรษณีย์โทรเลข นายสวัสดิ์ โสตถิทัต อดีตอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลขและผู้อำนวยการธนาคารออมสิน และนายถวิล มีสมกลิ่น ผู้จัดการบริษัทข้าวไทยทวีผล นายห้างชิน โสภณพนิช นักธุรกิจที่ต้องการก่อตั้งธนาคารพาณิชย์เพื่ออำนวยประโยชน์ในการทำธุรกิจให้กับพ่อค้าในประเทศไทย

แม้ว่าสงครามเกาหลีได้มีส่วนอย่างสำคัญในการสร้างสรรค์ภาวะเศรษฐกิจและการธนาคารของประเทศไทยเพราะภาวะสงครามเป็นสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดความต้องการสินค้าออกต่างๆ อย่างกว้างขวาง แต่คณะกรรมการชุดแรกของธนาคารภายใต้การนำของหลวงรอบรู้กิจไม่ประสบความสำเร็จในการบริหารและสร้างความเจริญก้าวหน้าให้กับธนาคารได้ตามมุ่งหวัง ความตั้งใจที่จะให้ธนาคารสามารถให้บริการแก่ตลาดในประเทศเหมือนอย่างที่สาขาของธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศกระทำกับลูกค้าของตน ก็สัมฤทธิผลดีในระดับหนึ่งเท่านั้น

ทั้งนี้เพราะผู้บริหารของธนาคารบางคนไม่ได้ยึดมั่นอยู่กับนโยบายนี้เสมอไป ผู้บริหารกลุ่มหนึ่งมีความคิดว่า ถ้าเอาเงินที่ลูกค้านำมาฝากไปลงทุนในธุรกิจที่ดินที่กำลังรุ่งเรืองในช่วงหลังสงครามน่าจะเป็นสิ่งที่ดีกว่าเพราะอย่างน้อยก็จะมีที่ดินเป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันเต็มที่ จึงได้มีการนำเงินฝากส่วนหนึ่งของธนาคารไปลงทุนเพื่อประโยชน์ส่วนตัว คือ ซื้อที่ดินแถวพระโขนงกักตุนไว้มากเกินไปจนทำให้เกิดความไม่สมดุลระหว่างเงินฝากกับเงินปล่อยกู้ และกลายเป็นการคาดการณ์ที่ผิดพลาด เนื่องจากไม่สามารถขายที่ดินนั้นได้ ธนาคารกรุงเทพจึงประสบปัญหาขาดสภาพคล่องหรือขาดแคลนทุนหมุนเวียน ตั้งแต่ช่วงปลายปี 2494 ถึงต้นปี 2495 จึงได้มีการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารชุดใหม่

ปรากฏว่า นายชิน โสภณพนิช ได้รับแต่งตั้งให้เป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่คนต่อมา ซึ่งภายใต้การบริหารงานของคณะกรรมการชุดใหม่นี้ได้เกิดความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ขึ้นมากมาย ซึ่งล้วนสะท้อนภาพการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยในขณะนั้นได้เป็นอย่างดี…”


หมายเหตุ : คัดเนื้อหาส่วนหนึ่งจากบทความ “การ ‘ปรับตัว’ ของ ‘นายทุนจีน’ สะท้อนความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมไทยในทศวรรษ 2490” เขียนโดย ณัฏฐพงษ์ เลี่ยววิวัฒน์อุทัย เผยแพร่ในนิตยสาร ศิลปวัฒนธรรม ฉบับสิงหาคม 2551

ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นอย่างไร

8. ด้านเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดผลลบทางด้านเศรษฐกิจอย่างมาก คือ ทาให้เกิดความ เสียหายทางเศรษฐกิจแก่ประเทศคู่สงคราม ทั้งผู้ชนะและผู้แพ้ ความสูญเสีย นั้นมากมายกว่าสงคราม โลกครั้งที่ 1 ประมาณการว่าค่าใช้จ่ายทางทหาร มากกว่า 1,100,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ ค่าเสียหายทางด้านทรัพย์สินกว่า 230,000,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ ประเทศที่เข้าร่วม ...

เศรษฐกิจของประเทศไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นแบบใด

ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศไทยเผชิญกับความยากลำบากในการบริหารเศรษฐกิจภายในประเทศ ภาวะสงครามส่งผลให้ประเทศไทยมีรายจ่ายมากกว่ารายรับ ทั้งยังบีบคั้นให้ไทยต้องเปลี่ยนแปลงสกุลเงิน นำไปสู่การแลกเปลี่ยนค่าเงินที่เสียเปรียบ และก่อให้เกิดการออกธนบัตรเพิ่มไม่หยุด ส่งผลให้ค่าครองชีพและค่าอุปโภคบริโภคสูงขึ้นในระยะเวลาอัน ...

สงครามโลก ส่งผลต่อเศรษฐกิจอย่างไร

การเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 (1) ประชาชนขาดกำลังซื้อ ทำให้ธุรกิจไม่สามารถขยายการลงทุนได้ (2) สถาบันการเงินได้จำกัดสินเชื่อ ทำให้การลงทุนชะงักงัน (3) ระดับราคาพืชผลโดยทั่วไปได้ลดต่ำลง ทำให้เกษตรกรส่วนใหญ่มีความเดือดร้อน มีหนี้สินมากและไม่สามารถบริโภคสินค้าได้มากพอ

ประเทศไทยมีการวางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 อย่างไร

เศรษฐกิจไทยภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ถึง พ.ศ. 2502 รัฐบาลไทยยังใช้นโยบายแก้ไขปัญหา เศรษฐกิจแบบเดิม คือ ส่งเสริมให้ชาวไร่ชาวนาไทยผลิตสินค้าเกษตรเพื่อน าส่งไปขายต่างประเทศ สินค้า หลักของไทยที่ส่งไปขายน ารายได้เข้าประเทศมาก