แผนการ สอน อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม

รหัสวิชา     :  20105-2111
ชื่อวิชา       :  อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม (Industrial Electronics)
หน่วยกิต    :  3
จำนวนชั่วโมงเรียน   :  5 ชั่วโมง/สัปดาห์ (ทฤษฎี 2 ปฏิบัติ 3)   18 สัปดาห์/ภาคเรียน
ผู้สอน        :  นายสุวินต์ พงศ์พุทธชาติ
จุดประสงค์รายวิชา
        1. เพื่อให้มีความเข้าใจการทำงานของอุปกรณ์ควบคุมในงานอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม
        2. เพื่อให้มีทักษะในการวัด ทดสอบ ตรวจซ่อม และบำรุงรักษาอุปกรณ์ในงานอิเล็กทรอนิกส์

            อุตสาหกรรมและการประยุกต์การใช้งาน
        3. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ มีกิจนิสัยในการค้นคว้าเพิ่มเติม ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ

คำนึงถึงความถูกต้องและปลอดภัย

สมรรถนะรายวิชา
        1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการทำงานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในงานอุตสาหกรรม

        2. ประกอบและทดสอบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในงานอุตสาหกรรม
คำอธิบายรายวิชา
         ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์ในงานอุตสาหกรรม  โครงสร้าง  การทำงานและคุณลักษณะของอุปกรณ์ควบคุม การเปิด-ปิดวงจร อุปกรณ์ทรานสดิวเซอร์และเซ็นเซอร์ความร้อน อุณหภูมิ แสง เสียง แรงกล ระดับของเหลว สนามแม่เหล็ก ความชื้น ก๊าซ  ควัน แรงดัน (Pressure) อัตราการไหล ความเร็วรอบ การควบคุมแบบต่าง ๆ  การวัดทดสอบอุปกรณ์และการประยุกต์ใช้งาน

     หน่วยการเรียนที่ 1 อุปกรณ์ควบคุมการเปิด-ปิดวงจร

หน่วยการเรียนที่ 2 อุปกรณ์เซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์

หน่วยการเรียนที่ 3 การควบคุมความเร็วและทิศทางมอเตอร์

หน่วยการเรียนที่ 4 การประยุกต์ใช้งาน

Description: วัตถุประสงค์ของการจัดการ E - Book online เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนออนไลน์วิชาอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม ประจำภาคเรียนที่ 1/2563 สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยการอาชีพนาแก

Keywords: การจัดการเรียนการสอนออนไลน์,Online Learning,Blended Learning

แผนการสอน รหสั 3105-2005 วชิ า อิเลก็ ทรอนกิ สอ์ ุตสาหกรรม หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชนั้ สงู พุทธศกั ราช 2557 ประเภทวิชา ชา่ งอุตสาหกรรม สาขาวชิ า อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ จดั ทาโดย นายธวชั ชยั มลู ประโก แผนกวชิ าชา่ งอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ วทิ ยาลยั เทคนคิ พทั ยา สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คานา แผนการสอนรายวิชาอิเล็กทรอนิกส์อตุ สาหกรรม รหัสวชิ า 3105-2005 จดั ทาข้นึ เพ่อื เป็นแนวทางในการ จัดการเรียนการสอน ให้มีประสิทธิภาพ ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร และเพ่ือเป็นหลักฐานในการปฏิบัติหน้าที่ การสอนของผู้สอน และเป็นแนวทางสาหรับการสอนแทน เมื่อครูประจาวิชาไม่อยู่ต้องไปราชการ ซึ่งผู้จัดทาได้ ศึกษารายละเอียดคาอธิบายรายวิชาของหลักสูตร โดยแบ่งเน้ือหาการสอนออกเป็น 13 หน่วยการเรียนหรือ บทเรียน และมีการทดสอบหลังบทเรียนทุกคร้ังเพื่อเก็บคะแนนและวัดความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียน แล้วนามาปรบั กระบวนการเรียนการสอน เพ่อื ใหน้ ักเรยี นเกดิ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนสูงสดุ ต่อไป ลงชื่อ………………………………. (นายธวัชชยั มลู ประโก)

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล รหสั 3105-2005 วชิ าอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์อตุ สาหกรรม 50% เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 20% 1. ความรทู้ ักษะ ภาระงาน 30% 2. ประเมนิ ผลประจาภาคเรียน 3. คุณลกั ษณะที่ตอ้ งการบรู ณาการ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ผลการเรยี น เกณฑ์การตดั สนิ ผลการเรยี น 4 3.5 ชว่ งคะแนน 3 2.5 80 - 100 2 75 – 79 1.5 1 70 – 74 0 ขร. 65 – 69 มส. 60 – 64 55 - 59 50 - 54 0 - 49 ขาดเรียนเกิน 20% ขาดสง่ งาน

รหสั วชิ า 3105-2005 แผนการสอนรายวชิ า ระดบั ชน้ั ปวส. ชอ่ื วชิ า อเิ ลก็ ทรอนิกส์อุตสาหกรรม ท-ป-น 1-2-3 สาขาวชิ า ชา่ งอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ จดุ ประสงคร์ ายวชิ า 1. เพือ่ ใหส้ ามารถวิเคราะหค์ ุณสมบตั ขิ องอุปกรณเ์ ซนเซอร์ ทรานสดวิ เซอร์ อปุ กรณ์ไทริสเตอร์ มอเตอร์ รเี ลย์ และเพาเวอรเ์ ซมิคอนดักเตอร์ 2. เพ่อื ใหส้ ามารถปฏิบัติ งานวดั ทดสอบอุปกรณ์ วงจรขยายสัญญาณจากอปุ กรณต์ รวจจบั รีเลย์ หลอดไฟฟา้ มอเตอร์ ในงานอิเลก็ ทรอนิกสอ์ ตุ สาหกรรม 3. ออกแบบ ทดสอบ และประยุกต์ใชง้ านวงจรควบคุมอัตโนมัติ 4. เพื่อใหม้ กี ิจนิสัยในการทางานดว้ ยความประณีต รอบคอบและปลอดภยั ตระหนักถงึ คุณภาพของงาน และมีจรยิ ธรรมในงานอาชพี มาตรฐานรายวชิ า 1. ทดสอบคุณสมบัติอปุ กรณเ์ ซนเซอร์ รีเลย์ อปุ กรณแ์ สดงผล และอุปกรณ์ขับเคล่ือนทางกลไก 2. ออกแบบวงจรควบคุมอตั โนมัตใิ ช้ร่วมกับอุปกรณเ์ ซนเซอร์ 3. ใชเ้ ครือ่ งมือวดั รูปสัญญาณในระบบควบคุมอตั โนมตั ิ 4. ประยกุ ต์วงจรควบคมุ อัตโนมัตโิ ดยมอี ุปกรณ์ตรวจจับและอุปกรณ์ขับเคลื่อน คาอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบัติ คณุ สมบัติอุปกรณ์เซนเซอร์ ขับเคลื่อนทางกลไก วงจรแปลงสญั ญาณควบคมุ อปุ กรณ์ไทริสเตอร์ และเพาเวอรเ์ ซมิคอนดักเตอร์ ในระบบการควบคมุ อตั โนมัติ

หนว่ ยการสอนทฤษฎีและปฏบิ ตั ิ รหสั วชิ า 3105-2005 ชอื่ วชิ า อเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ คุ สาหกรรม ระดบั ชนั้ ปวส. สาขาวชิ าอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หนว่ ยท่ี ช่ือหนว่ ย จานวนคาบ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ 1 ทรานสดิวเซอร์ 24 2 สเตรนเกจ 12 3 ทรานสดวิ เซอร์ชนดิ หม้อแปลงแสดงความแตกต่าง 12 4 ทรานสดวิ เซอรช์ นดิ ความเหน่ียวนาและชนิดความ 12 5 ทรานสดวิ เซอรช์ นดิ ความดนั 12 6 เทอรค์ ัปเปิลและทรานสดวิ เซอร์ 24 7 ตัวตรวจวัดอุณหภมู ิดว้ ยความตา้ นทานและเทอร์มิสเตอร์ 24 8 ทรานสดิวเซอร์ทางานด้วยแสง 12 9 ทรานสดิวเซอร์-เซน็ เซอร์ คล่ืนเสียง ควัน ความรอ้ น ก๊าซ 12 10 อุปกรณ์ควบคุมการเปดิ ปิดวงจร 24 11 การควบคุมความเรว็ และทิศทางมอเตอร์ 12 12 การควบคมุ กาลงั ไฟฟ้ากระแสตรง 12 13 เครอ่ื งจ่ายแรงดนั ไฟฟา้ คงท่ี 24 รวม 18 36 รวมทง้ั สิ้น 54

กาหนดการสอนหรอื กาหนดสาระการเรยี นรู้ สปั ดาห์ หนว่ ย ชอ่ื หนว่ ยการเรยี น จานวนชวั่ โมง ท่ี การเรยี นท่ี ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ 1 ก ปฐมนิเทศ 2- 1–2 26 1 1. ทรานสดวิ เซอร์ 3 23 1.1 ความหมายของทรานสดิวเซอร์ 4 23 1.2 การเลอื กทรานสดิวเซอรม์ าใช้งาน 5 23 1.3 ทรานสดิวเซอร์ชนิดความต้านทาน เปลย่ี นแปลงตามตาแหน่ง 1.4 ความเป็นเชิงเสน้ ของความตา้ นทานในตวั โพเทนชิโอมิเตอร์ 1.5 รายละเอียดคณุ สมบัติของโพเทนชิโอมเิ ตอร์ 1.6 การใชง้ านโพเทนชโิ อมิเตอร์ 2 2. สเตรนเกจ 2.1 ลกั ษณะสเตรนเกจ 2.2 ความเค้นและความเครยี ด 2.3 วสั ดใุ ชผ้ ลิตสเตรนเกจ 2.4 รปู รา่ งสเตรนเกจ 2.5 สเตรนเกชนิดแยกออกจากกัน 2.6 การตอ่ สเตรนเกจไปใช้งาน 3 3. ทรานสดิวเซอรช์ นดิ หมอ้ แปลงแสดงความ แตกตา่ ง 3.1 รูปรา่ งลักษณะหม้อแปลงแสดงความแตกตา่ ง 3.2 การทางานของหม้อแปลงแสดงความแตกต่าง 3.3 รายละเอยี ดคณุ สมบตั ิของหม้อแปลงแสดง ความแตกตา่ ง 3.4 การใช้งานหม้อแปลงแสดงความแตกต่าง 3.5 หม้อแปลงแสดงความแตกตา่ งชนิดแรงดนั ไฟตรง 3.6 หมอ้ แปลงแสดงความแตกตา่ งชนดิ แกนหมนุ 4 4. ทรานสดิวเซอรช์ นิดความเหนี่ยวนาและชนิด ความจุ 4.1 รูปรา่ งลักษณะทรานสดิวเซอรช์ นดิ ความ เหน่ยี วนา 4.2 รายละเอยี ดคุณสมบตั ิของทรานสดิวเซอร์ ชนิดความเหนี่ยวนา 4.3 เครอื่ งวัดความเรว็ รอบ 4.4 เครือ่ งวัดความเรว็ ของไหล

4.5 ทรานสดิวเซอร์ชนิดความจุ 23 4.6 การตรวจจบั การเคลือ่ นที่ของแผน่ เพลต 37 4.7 ทรานสดวิ เซอร์ชนิดความจุแบบตา่ งๆ 37 4.8 เซน็ เซอรช์ นดิ ความจุ 4.9 การประยุกต์ใชง้ านพร็อกซิมติ ีเซน็ เซอร์ ชนิดความจุ 6 5 5. ทรานสดวิ เซอร์ชนิดความดัน 5.1 หลักการเบื้องต้นของความดันและการวดั ความดัน 5.2 ชนิดของการวดั ความดัน 5.3 ลกั ษณะทรานสดวิ เซอร์ชนดิ ความดนั 5.4 การใช้งานทรานสดวิ เซอรช์ นดิ ความดนั 5.5 ทรานสดิวเซอร์ชนิดความดันตอ่ ร่วมใช้งาน กบั ทรานสดวิ เซอรอ์ ืน่ 5.6 ทรานสดวิ เซอร์ชนิดความดันที่ผลติ มาให้งาน 7 – 8 6 6. เทอรโ์ มคัปเปิล ทรานสดวิ เซอร์ 6.1 หลักการเบอื้ งตน้ เทอรโ์ มคัปเปลิ 6.2 การวัดอุณหภูมิเปรยี บเทยี บกับอณุ หภูมิท่ีจุด 0 OC 6.3 ชนดิ ของเทอรโ์ มคัปเปิล 6.4 ลักษณะหวั ใช้งานของเทอร์โมคปั เปลิ 6.5 เทอร์โมคัปเปิลที่ผลิตมาใชง้ าน 6.6 ขอ้ ควรคานึงในการใชง้ านเทอร์โมคัปเปิล 6.7 หลักการชดเชยดว้ ยรอยต่อความเยน็ 6.8 เทอร์โมคปั เปิลเทอรโ์ มมิเตอร์ 9 – 10 7 7. ตัวตรวจวดั อณุ หภูมิดว้ ยความต้านทาน และเทอรม์ ิสเตอร์ 7.1 หลกั การเบื้องตน้ ตัวตรวจวัดอุณหภมู ิ ด้วยความตา้ นทาน 7.2 รูปแบบของตัวตรวจวดั อณุ หภูมดิ ้วยความ ต้านทาน 7.3 การใช้โลหะพลาตนิ มั ทา RTD 7.4 ความต้านทานออกเอาตพ์ ุตของ RTD ชนดิ พลาตินมั 7.5 โครงสรา้ งและการต่อใชง้ านของ RTD ใชโ้ ลหะพลาตนิ มั 7.6 RTD ที่ผลิตมาใช้งาน 7.7 หลักการเบ้ืองตน้ ของเทอร์มสิ เตอร์

7.8 สัมประสทิ ธอ์ิ ุณหภมู ขิ องเทอร์มสิ เตอร์ 23 7.9 ชนิดของเทอร์มิสเตอร์ 7.10 รายละเอียดคุณสมบัตขิ องเทอร์มสิ เตอร์ 23 11 8 8. ทรานสดวิ เซอร์ทางานดว้ ยแสง 37 8.1 แสงและแหลง่ กาเนิดแสง 23 8.2 ตวั ตา้ นทานเปลีย่ นคา่ ตามแสง 8.3 คุณสมบตั ขิ อง LDR 8.4 การนา LDR ไปใช้งาน 8.5 โฟโตไดโอด 8.6 การทางานของโฟโตไดโอด 8.7 การนาโฟโตไดโอดไปใช้งาน 8.8 โฟโตทรานซสิ เตอร์ 8.9 การทางานของโฟโตทรานซสิ เตอร์ 8.10 โฟโตดาร์ลิงตนั 8.11 เซลล์แสงอาทิตย์ 8.12 เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดฟลิ ์มบาง 12 9 9. ทรานสดิวเซอร์ – เซน็ เซอรค์ ล่ืนเสียง ควนั ความร้อน กา๊ ซ 9.1 คลืน่ เสยี ง 9.2 คล่นื เหนือเสียง 9.3 การทางานของคลน่ื เหนอื เสียง 9.4 ทรานสดวิ เซอร์คลืน่ เหนือเสยี ง 9.5 การกาเนดิ คลื่นเหนือเสยี ง 9.6 การประยกุ ต์ใชง้ านคล่ืนเหนือเสยี ง 9.7 เซ็นเซอร์ป้องกันอัคคีภัย 9.8 เซ็นเซอร์ตรวจจับก๊าซร่ัว 13 - 14 10 10. อุปกรณ์ควบคุมการเปิดปิดวงจร 10.1 อปุ กรณ์ควบคมุ วงจร 10.2 สวิตชท์ างานด้วยมอื 10.3 สวติ ชท์ างานด้วยกลไก 10.4 สวิตช์ทางานด้วยสนามแม่เหลก็ 10. 5 สวติ ช์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 15 11 11. การควบคุมความเรว็ และทิศทางมอเตอร์ 11.1 มอเตอร์และชนิดของมอเตอร์

11.2 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง 23 11.3 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั 23 11.4 การกลับทศิ ทางการหมุนของมอเตอร์ 11.5 การควบคมุ ความเร็วของมอเตอร์ 11.6 วงจรบรดิ จค์ วบคุมอารเ์ มเจอร์ 11.7 สเตปเปอรม์ อเตอร์ 11.8 โครงสรา้ งและสว่ นประกอบของสเตปเปอร์ มอเตอร์ 11.9 การควบคมุ สเตปเปอร์มอเตอรท์ างาน 11.10 หลักการทางานของสเตปเปอรม์ อเตอร์ 16 12 12. การควบคุมกาลงั ไฟฟา้ กระแสตรง 12.1 วงจรเรยี งกระแสแบบต่างๆ 12.2 วงจรเรียงกระแสแบบคร่งึ คลืน่ ชนดิ เฟสเดียว ใชไ้ ดโอด 12.3 วงจรเรยี งกระแสแบบเต็มคลน่ื ชนิดเฟสเดยี ว ใช้ไดโอด 12.4 วงจรเรยี งกระแสแบบบรดิ จช์ นิดเฟสเดยี ว ใชไ้ ดโอด 12.5 วงจรเรียงกระแสชนดิ สามเฟสแบบ มีจุดกลางใชไ้ ดโอด 12.6 วงจรเรียงกระแสบชนิดสามเฟสแบบบรดิ จ์ ใชไ้ ดโอด 12.7 วงจรกระแสบชนิดเฟสเดียวแบบครง่ึ คลื่น ใช้ SCR 12.8 วงจรเรียงกระแสชนิดเฟสเดยี วแบบเต็มคลื่น ใช้ SCR 12.9 วงจรเรยี งกระแสชนิดเฟสเดียวแบบบรดิ จ์ ใช้ SCR 12.10 วงจรเรียงกระแสชนิดสามเฟสแบบ มจี ุดกลางใช้ SCR 12.11 วงจรเรยี งกระแสชนิดสามเฟสแบบ มีจุดกลางใช้ SCR 17 13 13. เครื่องจา่ ยแรงดนั ไฟฟ้าคงที่ 13.1 ตัวรกั ษาระดบั แรงดนั คงทีแ่ บบเชงิ เสน้ 13.2 พื้นฐานตัวรักษาระดับแรงดันคงทแ่ี บบ เชิงเสน้ 13.3 การควบคมุ รอบของการทางาน

13.4 ชนดิ ตวั รักษาระดบั แรงดันคงท่แี บบเชิงเส้น 13.5 การเลือกตัวรักษาระดบั แรงดนั คงท่มี าใช้งาน 13.6 วงจรปอ้ งกนั ภายในตัวไอซีรกั ษาระดับคงท่ี แบบเชงิ เส้น 13.7 ไอซรี ักษาระดับแรงดัน คงทแี่ บบเชิงเส้น ชนดิ 3 ขา 13.8 วงจรใช้งานไอซรี กั ษาระดับแรงดนั คงที่ แบบเชงิ เส้น ชนดิ 3 ขา 13.9 ไอซีรักษาระดบั แรงดันคงทแี่ บบเชงิ เสน้ เบอร์ 723 18 - สรุปบทเรยี นทกุ หนว่ ยการเรยี น 3- - ทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน 2-