ระบบ pal-b มาตรฐาน ccir จำนวนภาพ/วินาที

แผนการจดั การเรียนรู้

มงุ่ เนน้ สมรรถนะอาชีพและบรู ณาการปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

วิชา เครื่องรบั โทรทศั น์
รหสั วิชา 20105-2011
หลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.) พุทธศกั ราช 2562
ประเภทวชิ าชา่ งอตุ สาหกรรม
สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์
ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563

จดั ทาโดย
นายปรีชา มะโนมัย

แผนกวชิ าช่างอเิ ลก็ ทรอนิกส์ วทิ ยาลัยเทคนคิ สวา่ งแดนดิน
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

แผนการจดั การเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ

วชิ า เคร่ืองรับโทรทศั น์
รหัสวชิ า 20105-2011

จัดทาโดย
นายปรีชา มะโนมยั

แบบคาขออนุมตั ใิ ช้แผนการสอน/การจัดการเรยี นรู้แบบมุง่ เนน้ สมรรถนะอาชีพ
และบรู ณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
รหัสวิชา 20105-2011 เครื่องรบั โทรทศั น์

ผ้จู ดั ทา

ลงชอื่ ..............................................
(นายปรชี า มะโนมยั )
ตาแหนง่ ครู

ผตู้ รวจสอบแผนการจัดการเรยี นรู้

ลงช่ือ.............................................. ลงชื่อ..............................................
(นายสาโรช กล่ามอญ) (นายคุมดวง พรมอินทร)์
หัวหน้างานพัฒนาหลกั สูตรฯ
หัวหนา้ แผนกวิชาชา่ งอิเลก็ ทรอนิกส์

ความเห็นรองผู้อานวยการฝา่ ยวชิ าการ
..........................................................................................

ลงชื่อ..............................................
(นายทินกร พรหมอนิ ทร์)
รองผู้อานวยการฝา่ ยวชิ าการ

ความเห็นผอู้ านวยการวทิ ยาลัยการอาชีพสว่างแดนดิน
 อนมุ ตั ิ  ไม่อนุมัติ เพราะ....................................

ลงชื่อ..............................................
(นางวรรณภา พ่วงกุล)

ผู้อานวยการวิทยาลยั การอาชีพสว่างแดนดิน

คานา

แผนการสอนวชิ า “เคร่ืองรับโทรทศั น์” รหสั วชิ า 20105 - 2011 จดั ทาข้ึนเพื่อใช้
เป็ นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน วิชา เคร่ืองรับโทรทัศน์ ตามหลักสูตร
ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศกั ราช 2562 ของสานักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศึกษา โดยจดั การเรียนการสอนท้งั หมด 18 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 5 ช่ัวโมง เน้ือหา
ภายในแบ่งออกเป็ น 14 บท ดงั น้ี กิจกรรมและระบบโทรทศั น์ในประเทศไทย ความรู้
เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั โทรทศั น์ขาว-ดา ความรู้เก่ียวกบั โทรทศั น์สี หลอดภาพโทรทศั น์สี
เคร่ืองรับโทรทศั น์สีระบบ PAL จูนเนอร์ ภาคต่างๆ ดา้ นสัญญาณภาพ วธิ ีการของภาค
อะลูมิแนนซ์และโครมิแนนซ์ ระบบเสียง ซิงคเ์ ซฟเปอร์เรเตอร์ การบงั คบั การสแกน
ทางแนวนอน การบงั คบั การสแกนทางแนวต้งั ภาคจ่ายไฟ เครื่องรับโทรทศั น์ “วนั ซีฟ”
หลอดภาพ CRT เครื่องรับโทรทศั นจ์ อภาพ LCD และพลาสม่า ทีวี

ท้ายท่ีสุดน้ี ผูจ้ ัดทาขอขอบคุณผูท้ ่ีสร้างแหล่งความรู้ และผูท้ ี่มีส่วน
เก่ียวขอ้ งต่าง ๆ ซ่ึงเป็ นส่วนสาคญั ท่ีทาให้แผนการสอนวิชา เครื่องรับโทรทศั น์ เล่มน้ี
เสร็จสมบูรณ์เป็นที่เรียบร้อย และหากผูใ้ ช้พบขอ้ บกพร่องหรือมีขอ้ เสนอแนะประการ
ใด ขอไดโ้ ปรดแจง้ ผจู้ ดั ทาทราบดว้ ย จกั ขอบคุณยง่ิ

ปรีชา มะโนมยั
ผู้เรียบเรียง

แผนการเรียนรู้รายวชิ า

ช่ือรายวชิ า เคร่ืองรับโทรทศั น์
รหสั วชิ า
ระดบั ช้นั 20105-2011 (ท-ป-น) 2-3-3
หน่วยกิต
ทฤษฎี ปวช สาขาวชิ า/กลุ่มวชิ า/แผนกวชิ า อเิ ลก็ ทรอนิกส์
ภาคเรียนท่ี 90 คาบ
3 จานวนคาบรวม
คาบ/สัปดาห์
2 คาบ/สปั ดาห์ ปฏิบตั ิ 3 2563

2 ปี การศกึ ษา

จุดประสงค์รายวชิ า เพอ่ื ให้
1. เขา้ ใจหลกั การรับ-ส่งสัญญาณโทรทศั น์
2. เขา้ ใจการทางานของวงจรเครื่องรับโทรทศั น์
3. มีทกั ษะในการใชเ้ ครื่องมือและทดสอบการทางานของวงจรเคร่ืองรับโทรทศั น์
4. มีทกั ษะในการวเิ คราะห์อาการเสียและตรวจซ่อมเครื่องรับโทรทศั น์
5. มีกิจนิสัยในการทางานดว้ ยความเป็ นระเบียบเรียบร้อย ประณีต รอบคอบ ปลอดภยั และมีจรรยาบรรณ
ในวชิ าชีพ

สมรรถนะรายวชิ า
1. แสดงความรู้เก่ียวกบั หลกั การทางานของเคร่ืองรับโทรทศั น์
2. ปรับแต่ง ตรวจซ่อม และบารุงรักษาเคร่ืองรับโทรทศั น์
3. ประเมินราคาการตรวจซ่อมเคร่ืองรับโทรทศั น์

คาอธิบายรายวชิ า
ศึกษาและปฏิบตั ิเกี่ยวกบั หลกั การและมาตรฐานรับ-ส่งสัญญาณโทรทศั น์ หลกั การทางานของกลอ้ งถ่าย

โทรทศั น์ จอภาพแบบ CRT, LCD, Plasma และแบบ LED การทางานของวงจรภาครับภาคสัญญาณเสียง
(Audio) ภาคสัญญาณสี (Luminance Signal) ภาคสัญญาณซิงค์ (Sync) ภาคควบคุมการสแกน (Deflection)
ภาคขยายสัญญาณภาพ (Video Amp) ภาคเมทริกซ์ (Matrix) ภาคจ่ายไฟฟ้า (Power Supply) และวงจรที่เกี่ยวขอ้ ง
การใช้เคร่ืองมือวดั ทดสอบมาตรฐานสัญญาณโทรทศั น์ การปรับแต่งและตรวจซ่อมเครื่องรับโทรทศั น์ การ
บารุงรักษาเคร่ืองรับโทรทศั น์แบบจอภาพ CRT จอภาพ LCD จอภาพ Plasma และจอภาพ LED รวมท้งั การ
ประเมินราคาเบ้ืองตน้

ตารางที่ 1. การวเิ คราะห์หน่วยการเรียนรู้

รหสั วิชา 2105-2102 ชื่อวิชา ระบบเสียง

หนว่ ยกติ 2 จานวนชว่ั โมงต่อสปั ดาห์ 4(ชว่ั โมง) รวม 72 ช่ัวโมงต่อภาคเรยี น

หน่วย ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ แหลง่ ข้อมลู E
ที่ ABCD
/
1 กิจกรรมและระบบโทรทศั นใ์ นประเทศไทย /// /

2 ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั โทรทศั นข์ าว-ดา ///

3 ความรู้เก่ียวกบั โทรทศั นส์ ี ///

4 หลอดภาพโทรทศั นส์ ี ///

5 เคร่ืองรับโทรทศั นส์ ีระบบ PAL ///

6 จูนเนอร์ ///

7 ภาคต่างๆ ดา้ นสัญญาณภาพ ///

8 วธิ ีการของภาคอะลูมิแนนซแ์ ละโครมิแนนซ์ / / /

9 ระบบเสียง ///

10 ซิงคเ์ ซปเปอร์เรเตอร์ การบงั คบั การสแกนทาง / / /

แนวนอน การบงั คบั การสแกนทางแนวต้งั

11 ภาคจ่ายไฟ ///

12 เครื่องรับโทรทศั น์ “วนั ซีฟ” หลอดภาพ CRT / / /

13 เครื่องรับโทรทศั นจ์ อภาพ LCD ////

14 พลาสม่า ทีวี ////

แหลง่ ขอ้ มูล (Sources) A : หลักสตู รรายวิชา (Course Description)
B : ตาราและเอกสาร (Literatures)
C : ประสบการณ์ (Experiences)
D : ผ้เู ชี่ยวชาญ (Experts)
E : อ่นื ๆ (Other)

ตารางวเิ คราะห์หลกั สตู ร

รหสั วิชา 20105-2011 ช่ือวชิ า เคร่ืองรับโทรทศั น์

จานวนหน่วยกติ 3 หนว่ ยกติ จานวนช่ัวโมงตอ่ สัปดาห์ 5 ช่ัวโมง รวม 90 ชัว่ โมงต่อภาคเรียน

ชน้ั ปวช.2 สาขาวชิ า/กลุม่ วชิ า/ ช่างอิเลก็ ทรอนิกส์

พฤติกรรมการเรียนรู้ ดา้ นพุทธิพิสยั

ชอื่ หน่วยการสอน ความรู้ (5)
ความเ ้ขาใจ (5)
/การเรยี นรู้ นาไปใ ้ช (5)
ิวเคราะ ์ห (5)
ัสงเคราะห์ (5)
ประเ ิมนค่า (5)
ด้านทักษะ ิพสัย (5)
ด้าน ิจต ิพ ัสย (5)
รวม (40)
ลาดับความสาคัญ
จานวน ่ัชวโมง

1.กจิ กรรมและระบบโทรทศั น์ใน 21- - - -21 6 4 5
ประเทศไทย

2.ความรู้เบอ้ื งตน้ เกยี่ วกบั โทรทัศน์ 212- - -21 8 15
ขาว-ดา

3.ความร้เู กย่ี วกบั โทรทัศน์สี 112- - -21 7 2 5

4.หลอดภาพโทรทศั น์สี 112- - -21 7 3 5

5.เครอ่ื งรบั โทรทศั นส์ ีระบบ PAL 1 1 1 - - - 2 1 6 5 5

6.จูนเนอร์ 111- - -21 6 6 5

7.ภาคต่างๆ ดา้ นสญั ญาณภาพ 11- - - -21 5 7 5

8.วิธีการของภาคอะลมู ิแนนซแ์ ละโคร 1 1 - - - - 2 1 5 8 5
มแิ นนซ์

9.ระบบเสียง 11- - - -21 5 9 5

10.ซิงค์เซปเปอรเ์ รเตอร์ การบังคบั .

การสแกนทางแนวนอน การบงั คบั 1 1 - - - - 2 1 5 10 5

การสแกนทางแนวตั้ง

11.ภาคจา่ ยไฟ 1 1 1 1 1 2 2 1 10 11 5

12.เครื่องรบั โทรทศั น์ “วันซีฟ” 1 1 1 1 1 2 2 1 10 12 5
หลอดภาพ CRT

13.เครอื่ งรับโทรทัศน์จอภาพ LCD 1 1 1 2 1 1 2 1 10 13 5

14.พลาสมา่ ทวี ี 1 1 2 3 3 2 2 1 15 14 25

รวมคะแนน 16 14 8 7 6 7 28 14 100
ลาดับความสาคัญ 23568714

รายการหน่วย ชื่อหน่วย และสมรรถนะประจาหน่วย

ช่ือเร่ือง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

หน่วยที่ 1 กิจการและระบบโทรทัศน์ใน สมรรถนะ

ประเทศไทย - แสดงความรู้เกี่ยวกบั กิจการและระบบโทรทศั น์ใน

ประเทศไทย

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ด้านความรู้

1. บอกประวัติความเป็ นมาของกิจการและระบบ
โทรทศั นใ์ นประเทศไทยได้

2. อธิบายเกี่ยวกบั ระบบโทรทศั น์สีแบบ NTSC และ
PAL ได้

ด้านทกั ษะ
3. หายา่ นความถี่ VHF ได้
4. หายา่ นความถี่ UHF ได้

ด้านจิตพสิ ัย
5. พฒั นาระบบโทรทศั น์สีในประเทศไทยได้

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
6. มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ
ประสงค์

ชื่อเร่ือง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม

หน่วยท่ี 2 ความรู้เบื้องต้นเกย่ี วกบั โทรทศั น์ สมรรถนะ :

ขาว-ดา - แสดงความรู้เกี่ยวกบั โทรทศั นข์ าว-ดา

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม :
ด้านความรู้

1. บอกองคป์ ระกอบของภาพได้
2. อธิบายหลกั การสแกนได้
3. จาแนกลกั ษณะของการมองเห็นภาพได้
4. เปรียบเทียบการหกั เหของลาอิเล็กตรอนได้

ด้านทกั ษะ
5. ซ่อมประกอบหลอดภาพตามโครงสร้างได้

ด้านจิตพสิ ัย
6. พฒั นาหลอดภาพได้

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
7. มีคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั
พึงประสงค์

ช่ือเร่ือง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

หน่วยที่ 3 ความรู้เกย่ี วกบั โทรทศั น์สี สมรรถนะ:
- แสดงความรู้เก่ียวกบั โทรทศั นส์ ี

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม:
ด้านความรู้

1. อธิบายเก่ียวกบั ยา่ นความถี่แสงและความยาวคลื่น
ได้

2. อธิบายหลกั การทางานของกลอ้ งโทรทศั น์สีได้
3. หาสัดส่วนการผสมสีไดถ้ ูกตอ้ ง

ด้านทกั ษะ
4. มองเห็นภาพเป็นสีสนั ตา่ งๆ
5. ใชห้ ลกั การผสมสีไดถ้ ูกตอ้ ง

ด้านจิตพสิ ัย
6. พฒั นาเครื่องส่งโทรทศั น์สีระบบพีเอแอล (PAL)

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
7. มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั
พึงประสงค์

ชื่อเร่ือง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม

หน่วยท่ี 4 หลอดภาพโทรทศั น์สี สมรรถนะ:
- ซ่อมประกอบหลอดภาพโทรทศั น์สี

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม:
ด้านความรู้

1. อธิบายโครงสร้างหลอดภาพโทรทศั น์สีแบบ CRT
ได้

2. บอกหลกั การทางานและองคป์ ระกอบของ
หลอดภาพโทรทศั น์สีได้

3. อภิปรายเกี่ยวกบั โอโตเมติก ดีเก๊าซ่ิงคอยลไ์ ด้

ด้านทกั ษะ
4. ซ่อมประกอบจอภาพแบบ LCD ได้
5. ซ่อมประกอบจอภาพแบบ LED ได้
6. ซ่อมประกอบจอภาพแบบพลาสมา่ ได้

ด้านจิตพสิ ัย
7. พฒั นาหลอดภาพโทรทศั นส์ ีได้

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
8. มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั
พึงประสงค์

ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม

หน่วยท่ี 5 เคร่ืองรับโทรทศั น์สีระบบ PAL สมรรถนะ :

- แยกสญั ญาณตา่ งๆ ไปใชง้ าน

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
ด้านความรู้

1. อธิบายโครงสร้างบล็อกไดอะแกรมโทรทัศน์สี
ระบบ PAL ได้

2. อธิบายโครงสร้างบลอ็ กไดอะแกรมภาคจูนเนอร์ได้
3. อธิบายโครงสร้างบล็อกไดอะแกรมภาควิดีโอ ไอ-

เอฟได้
4. อธิบายการขยายสีคร้ังสุดทา้ ยได้
5. อธิบายการรวมกันระหว่างสัญญาณขาว-ดา กับ

สญั ญาณสีได้
6. ลาดบั ข้นั ตอนการทางานของบล็อกไดอะแกรมดา้ น

สญั ญาณขาว-ดา และสญั ญาณสีได้

ด้านทกั ษะ
7. ดาเนินการกบั ภาควิดีโอ ดีเทกเตอร์ และภาควิดีโอ
แอมป์ ได้
8. แยกสัญญาณต่างๆ ไปใชง้ านได้

ด้านจิตพสิ ัย
9. พฒั นาระบบเคร่ืองรับโทรทศั น์สีระบบ PAL ได้

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
10. มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั
พึงประสงค์

ช่ือเร่ือง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

หน่วยท่ี 6 จูนเนอร์ สมรรถนะ :
- ปรับจูนสญั ญาณโทรทศั น์

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
ด้านความรู้

1. บอกจุดประสงคข์ องภาคจูนเนอร์ได้
2. อธิบายหลกั การทางานของภาคจูนเนอร์ได้
3. อภิปรายวงจรการควบคุมการทางานจูนเนอร์แบบ

I2C Bus ได้

ด้านทกั ษะ
4. ใชจ้ ูนเนอร์แบบอิเล็กทรอนิกส์ได้

ด้านจิตพสิ ัย
5. นาอิเล็กทรอนิกส์จูนเนอร์ไปใชง้ านได้

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
6. มีคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั
พึงประสงค์

ช่ือเร่ือง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

หน่วยท่ี 7 ภาคต่างๆ ด้านสัญญาณภาพ สมรรถนะ:
- แสดงความรู้เก่ียวกบั ภาคต่างๆ ดา้ นสญั ญาณ
ภาพ

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม:
ด้านความรู้

1. บอกจุดประสงคข์ องภาควดิ ีโอ ไอ-เอฟได้
2. บอกจุดประสงคข์ องภาควดิ ีโอ ดีเทกเตอร์ได้
3. อธิบายหลกั การทางานของวดิ ีโอ แอมปลิฟายได้

ด้านทกั ษะ
4. บรรจุภาควดิ ีโอ ไอ-เอฟ ภาควดิ ีโอ ดีเทกเตอร์
และวดิ ีโอ แอมปลิฟายลงในไอซีได้

ด้านจิตพสิ ัย
5. พฒั นาคุณภาพของสัญญาณภาพได้

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
6. มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั
พงึ ประสงค์

ช่ือเร่ือง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม

หน่วยที่ 8 วธิ ีการของภาคอะลมู แิ นนซ์และ สมรรถนะ:

โครมแิ นนซ์ - แยกสญั ญาณ, รวมสัญญาณ

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม:
ด้านความรู้

1. อธิบายวธิ ีการดาเนินการของภาคลูมิแนนซ์ได้
2. อธิบายวธิ ีการดาเนินการของโครมิแนนซ์ได้

ด้านทกั ษะ
3. แยกสญั ญาณขาว-ดา และสญั ญาณสีได้
4. รวมสัญญาณขาว-ดา และสญั ญาณสีได้

ด้านจิตพสิ ัย
5. นาวธิ ีการของภาคลูมิแนนซ์และโครมิแนนซ์ไป
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
6. มีคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั
พงึ ประสงค์

ช่ือเร่ือง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

หน่วยท่ี 9 ระบบเสียง สมรรถนะ:
- ควบคุมการทางานดว้ ยไอซี
ไมโครคอมพวิ เตอร์

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม:
ด้านความรู้

1. บอกขอ้ มูลพ้นื ฐานระบบเสียงของโทรทศั น์ได้
2. อธิบายภาคขยายเสียงควบคุมการทางานดว้ ยไอซี

ไมโครคอมพิวเตอร์ได้

ด้านทกั ษะ
3. ควบคุมการทางานดว้ ยไอซีไมโครคอมพิวเตอร์ได้

ด้านจิตพสิ ัย
4. พฒั นาเคร่ืองรับโทรทศั น์สู่ระบบเสียง 2 ภาษาได้

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
5. มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั
พึงประสงค์

ช่ือเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

หน่วยที่ 10 ซิงค์เซปเปอร์เรเตอร์ การบังคบั สมรรถนะ:

การสแกนทางแนวนอน การบังคบั การสแกน - บงั คบั การสแกนทางแนวนอน และแนวต้งั

ทางแนวต้งั จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม:

ด้านความรู้

1. บอกจุดประสงคข์ องวงจรซิงคเ์ ซปเปอร์เรเตอร์ได้

2. อธิบายหลกั การทางานเบ้ืองตน้ ของการบงั คบั การ

สแกนทางแนวต้งั หรือภาคเวอร์ติคอลได้

ด้านทกั ษะ
3. บงั คบั การสแกนทางแนวนอนได้
4. บงั คบั การสแกนทางแนวต้งั ได้

ด้านจิตพสิ ัย
5. นาหลกั การทางานของซิงคเ์ ซปเปอร์เรเตอร์ไป
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
6. มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั
พึงประสงค์

ช่ือเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

หน่วยท่ี 11 ภาคจ่ายไฟ สมรรถนะ:
- ทางานกบั ภาคจ่ายไฟ

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม:
ด้านความรู้

1. อธิบายบลอ็ กไดอะแกรมของภาคจ่ายไฟได้
2. บอกหลกั การทางานของอุปกรณ์ท่ีสาคญั ในวงจร

เพาเวอร์ ซพั พลายได้
3. ยกตวั อยา่ งอุปกรณ์ที่สาคญั ในวงจรเพาเวอร์ ซพั

พลายได้

ด้านทกั ษะ
4. ทางานกบั ภาคจ่ายไฟได้

ด้านจิตพสิ ัย
5. พฒั นาวงจรจ่ายไฟได้

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
6. มีคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั
พงึ ประสงค์

ช่ือเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

หน่วยท่ี 12 เครื่องรับโทรทศั น์ “วนั ซีฟ” สมรรถนะ:
หลอดภาพ CRT - ควบคุมการทางานของจูนเนอร์โดยใช้ I2C Bus

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม:
ด้านความรู้

1. อธิบายการทางานของบลอ็ กไดอะแกรมเครื่องรับ
โทรทศั นแ์ บบวนั ซีฟได้

2. อธิบายการทางานของภาคเพาเวอร์ ซพั พลายได้
3. อภิปรายวงจรภาค Horizontal ได้
4. วเิ คราะห์ทางเดินของสัญญาณเสียงและสญั ญาณ

ภาพได้

ด้านทกั ษะ
5. ใชง้ านขาตา่ งๆไดต้ รงกบั หนา้ ที่
6. ใชง้ านไอซีซาวดโ์ ปรเซสเซอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง
7. ควบคุมการทางานของจูนเนอร์โดยใช้ I2C Bus ได้

ด้านจิตพสิ ัย
8. ประยกุ ตใ์ ชห้ ลอดภาพ CRT ในชีวติ ประจาวนั ได้

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
9. มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั
พงึ ประสงค์

ช่ือเร่ือง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

หน่วยที่ 13 เครื่องรับโทรทศั น์จอภาพ LCD สมรรถนะ:

- เปลี่ยนหลอด CCFL

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม:
ด้านความรู้

1. อธิบายหลกั การทางานของบล็อกไดอะแกรมของ
เครื่องรับโทรทศั นไ์ ด้

2. อธิบายการทางานของทีคอนบอร์ดได้
3. พจิ ารณาการทางานของวงจรสวติ ช่ิงได้

ด้านทกั ษะ
4. เปลี่ยนซ่อมหลอด CCFL ได้

ด้านจิตพสิ ัย
5. ใชเ้ พาเวอร์แฟ็กเตอร์คอร์เร็กซน่ั แกป้ ัญหาการ
รบกวนแรงดนั ไฟได้

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
6. มีคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั
พงึ ประสงค์

ชื่อเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม

หน่วยที่ 14 พลาสม่าทวี ี สมรรถนะ:
- แสดงความรู้เกี่ยวกบั พลาสมา่ ทีวี

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม:
ด้านความรู้

1. บอกหลกั การทางานของจอแบบพลาสมา่ ได้
2. อธิบายการทางานของเมนเร็กติฟายได้
3. จาแนกบลอ็ กหลกั ของพลาสม่า-ทีวไี ด้

ด้านทกั ษะ
4. ตรวจสอบระบบโปรเทกได้
5. เปล่ียนอุปกรณ์ของทีวพี ลาสม่าได้

ด้านจิตพสิ ัย
6. นาหลกั การทางานของจอพลาสมา่ ไปประยกุ ตใ์ ช้
ในชีวติ ประจาวนั ได้

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
7. มีคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั
พึงประสงค์

รายชื่อหน่วยการสอน/การเรียนรู้

หน่วยการสอน/การเรียนรู้

วชิ าโทรทศั น์

รหัส... 20105 - 2011......คาบ/สัปดาห์.....5.......คาบ

รวม......90…… คาบ

หน่วยท่ี ชื่อหน่วย ทฤษฎี จานวนคาบ
ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

1 กิจกรรมและระบบโทรทศั นใ์ นประเทศไทย 23

2 ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั โทรทศั นข์ าว-ดา 23

3 ความรู้เก่ียวกบั โทรทศั นส์ ี 23

4 หลอดภาพโทรทศั นส์ ี 23

5 เครื่องรับโทรทศั นส์ ีระบบ PAL 23

6 จูนเนอร์ 23

7 ภาคต่างๆ ดา้ นสัญญาณภาพ 23

8 วธิ ีการของภาคอะลูมิแนนซ์และโครมิแนนซ์ 23

9 ระบบเสียง 23

10 ซิงคเ์ ซปเปอร์เรเตอร์ การบงั คบั การสแกนทางแนวนอน 2 3

การบงั คบั การสแกนทางแนวต้งั

11 ภาคจ่ายไฟ 23

12 เครื่องรับโทรทศั น์ “วนั ซีฟ” หลอดภาพ CRT 23

13 เครื่องรับโทรทศั น์จอภาพ LCD 23

14 พลาสม่า ทีวี 10 15

รวม 90

แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ภาคทฤษฎี หน่วยท่ี 1
สอนสัปดาหท์ ี่ 1
แผนการสอน/การเรียนรู้ภาคทฤษฎี
ชื่อวชิ า เคร่ืองรับโทรทศั น์

ชื่อหน่วย กิจการและระบบโทรทศั นใ์ นประเทศไทย คาบรวม

ช่ือเรื่อง กิจการและระบบโทรทศั นใ์ นประเทศไทย จานวนคาบ 5

หัวข้อเรื่อง

1. กิจการและระบบโทรทศั นใ์ นประเทศไทย
2. กิจการโทรทศั นส์ ีในประเทศไทย
3. ความถี่ยา่ นวเี อชเอฟ (VHF)
4. ความถี่ยา่ นยเู อชเอฟ (UHF)

สาระสาคญั

การกาเนิดกิจการวทิ ยโุ ทรทศั น์ เม่ือหลงั สงครามโลกคร้ังท่ี 2 สิ้นสุดลง รัฐบาลไทยโดยจอมพล ป. พบิ ูล
สงคราม นายกรัฐมนตรี มีความริเริ่มจะใหม้ ีกิจการวทิ ยุโทรทศั น์เกิดข้ึนในประเทศไทย ในการพฒั นาประเทศ
จาเป็ นตอ้ งมีการพฒั นาในด้านข่าวสารและความบนั เทิงในรูปแบบของการส่งวิทยุโทรทศั น์ ซ่ึงในขณะน้ัน
ประเทศตา่ งๆ มีกิจการและระบบวทิ ยโุ ทรทศั น์ของตนเอง เช่น

อเมริกา ใชร้ ะบบ NTSC มีจานวนเส้น 525 เส้น
ยโุ รป ใชร้ ะบบ PAL มีจานวนเส้น 625 เส้น
พ.ศ. 2498 เปิ ดสถานีโทรทศั น์ขาว – ดา คร้ังแรกในประเทศไทย ไดเ้ ลือกเอาระบบของอเมริกามาใช้ คือ
ระบบ NTSC มาตรฐาน FCC มีจานวนเส้น 25 เส้น
พ.ศ. 2510 ประเทศไทยมีการเปล่ียนปลงนาเอาระบบยุโรปมาใช้ คือ PAL มาตรฐาน CCIR มีจานวน
เส้น 625 เส้น ระบบน้ีใชถ้ ึงปัจจุบนั

สมรรถนะอาชีพประจาหน่วย

แสดงความรู้เกี่ยวกบั กิจการและระบบโทรทศั น์ในประเทศไทย

จุดประสงค์การสอน/การเรียนรู้

 จุดประสงค์ทว่ั ไป / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. เพื่อใหม้ ีความรู้เกี่ยวกบั กิจการและระบบโทรทศั น์ในประเทศไทย (ด้านความรู้)
2. เพ่ือใหม้ ีทกั ษะในหายา่ นความถี่สญั ญาณโทรทศั น์ (ด้านทักษะ)
3. เพอื่ ใหม้ ีเจตคติท่ีดีนาระบบโทรทศั น์สีในประเทศไทยไปพฒั นาต่อ (ด้านเจตคติ)
 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. บอกประวตั ิความเป็นมาของกิจการและระบบโทรทศั นใ์ นประเทศไทยได้ (ดา้ นความรู้)
2. อธิบายเกี่ยวกบั ระบบโทรทศั น์สีแบบ NTSC และ PAL ได้ (ดา้ นความรู้)
3. หายา่ นความถี่ VHF ได้ (ดา้ นทกั ษะ)
4. หายา่ นความถ่ี UHF ได้ (ดา้ นทกั ษะ)
5. พฒั นาระบบโทรทศั นส์ ีในประเทศไทยได้ (ดา้ นเจตคติ)
6. มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการ

เศรษฐกิจพอเพียง)

เนื้อหาสาระการสอน/การเรียนรู้

 ด้านความรู้ (ทฤษฎ)ี

1.1 กจิ การและระบบโทรทศั น์ในประเทศไทย
ประเทศไทยเริ่มกิจการคร้ังแรก สร้างสถานีโทรทัศน์เรียกชื่อว่า “สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวี”

ออกอากาศคร้ังแรก พ.ศ. 2498 เป็นการทดลองกิจการดา้ นโทรทศั นโ์ ดยเลือกเอาระบบของอเมริกามาใชค้ ือ
ระบบ NTSC (National Television System Committee)
มาตรฐาน FCC (Federal Communication Committee)
ส่งโทรทศั น์ขาว-ดา 525 เส้น
สถานีโทรทศั นช์ ่อง 4
จากการทดลองออกอากาศอยรู่ ะยะหน่ึง ปรากฏวา่ ไดร้ ับความนิยมอยา่ งกวา้ งขวาง ทาใหก้ ิจการโทรทศั น์

เจริญรุดหน้าเกินความคาดหมาย ระยะต่อมากองทพั บกจดั ต้งั สถานีโทรทศั น์ข้ึนในปี พ.ศ. 2501 ใช้ระบบของ
สหรัฐอเมริกาคือ

ระบบ NTSC มาตรฐาน FCC
ส่งโทรทศั นข์ าว-ดา 525 เส้น
สถานีโทรทศั นช์ ่อง 7
การพฒั นาเปลี่ยนแปลงระบบ NTSC เป็นระบบ PAL
ปี พ.ศ. 2510 สถานีวิทยุโทรทศั น์ในประเทศไทยเร่ิมพฒั นาเปล่ียนแปลงจากระบบเดิม คือ จากระบบ
NTSC มาเป็นระบบใหมค่ ือ
ระบบ PAL-B มาตรฐาน CCIR
ส่งโทรทศั น์ขาว-ดา 625 เส้น
ผลปรากฏวา่ ระบบ PAL-B มาตรฐาน CCIR ให้คุณภาพด้านภาพสูงกว่าระบบ NTSC สถานีโทรทศั น์
ขาว-ดา ทุกสถานี ใชร้ ะบบ PAL-B ครบทุกสถานี

1.2 กจิ การโทรทศั น์สีในประเทศไทย
วงการโทรทศั นใ์ นขณะน้นั โทรทศั นเ์ กิดข้ึนหลายระบบ แตท่ ่ีนิยมใชข้ ณะน้นั มีระบบ
1. ระบบ NTSC เป็นระบบโทรทศั นข์ องอเมริกา
2. ระบบ PAL เป็นระบบโทรทศั น์ของยโุ รป
ประเทศไทย พ.ศ. 2510 กองทพั บกได้จดั ต้งั สถานีโทรทศั น์สีข้ึนเป็ นคร้ังแรก ใช้ระบบเดียวกันกบั

ประเทศยโุ รป เช่น เยอรมนั องั กฤษ
ระบบ PAL (Phase Alternation Line)
มาตรฐาน CCIR (Committee Consultative International des Radio)
ส่งโทรทศั น์ 625 เส้น
สถานีโทรทศั น์สีช่อง 7 (188 MHz – 195 MHz)

ปี พ.ศ. 2513 บริษทั บางกอกเอน็ เตอร์เทนเมน้ ต์ (BEC) ไดร้ ับสมั ปทานจากบริษทั ไทยโทรทศั น์ จากดั

จดั ต้งั โทรทศั น์สีเพิ่มอีก 1 สถานี ดว้ ยระบบของยุโรป เริ่มตน้ กิจการโทรทศั น์สีช่อง 3

ระบบ PAL-B มาตรฐาน CCIR

ความถ่ีช่อง 3 (54 MHz-61MHz)

หลงั จากการนาระบบส่งโทรทศั น์สีไดไ้ ม่นาน ประชาชนไดใ้ หค้ วามสนใจหนั มานิยมโทรทศั นส์ ีจานวน

มาก ส่วนดา้ นโทรทศั น์ขาว-ดา ความสนใจลดลงเป็ นลาดบั จนในที่สุดสถานีโทรทศั น์ขาว – ดา จึงไดเ้ ปล่ียนมา

เป็นการส่งโทรทศั นส์ ีท้งั หมด

สถานีโทรทศั น์สีในส่วนกลาง

1. สถานีวทิ ยโุ ทรทศั นไ์ ทยทีวสี ีช่อง 3 อ.ส.ม.ท.

2. สถานีวทิ ยโุ ทรทศั น์กองทพั บกช่อง 5

3. สถานีวทิ ยโุ ทรทศั นก์ องทพั บกช่อง 7

4. สถานีวทิ ยโุ ทรทศั นไ์ ทยทีวสี ีช่อง 9 อ.ส.ม.ท.

5. สถานีวทิ ยโุ ทรทศั น์แห่งประเทศไทย ช่อง 11

ระบบ PAL-B มาตรฐาน CCIR

ปัจจุบนั น้ีสถานีวทิ ยุโทรทศั นใ์ ชร้ ะบบ PAL-B มาตรฐาน CCIR

คุณลกั ษณะที่สาคญั ของระบบ PAL-B มาตรฐาน CCIR

ความกวา้ งของช่อง (Channel Band width) = 7 MHz

จานวนเส้น (Line Frequency) = 625 เส้น

ความกวา้ งของความถ่ีภาพ (Video Band Width) = 5 MHz

ความกวา้ งของช่อง Vestigial Side Band = 0.75 MHz

ความถ่ีของภาพและความถ่ีของเสียงห่างกนั = 5.5 MHz

ความถ่ีของภาพห่างจากความถี่เริ่มตน้ ของช่อง = 1.25 MHz

ความถี่ของเสียงห่างจากความถ่ีสูงสุดของช่อง = 0.25 MHz

จานวนภาพ/วนิ าที = 25 ภาพ/วนิ าที

ความถี่ทางแนวนอน = 25,625 Hz

ความถี่แนวต้งั = 50 Hz

ระดบั สญั ญาณซิงค์ = 100%

ระดบั แบลงกก์ ิ้ง = 75%

ระดบั ต่าสุดของภาพต่ากวา่ ระดบั แบล็งกิ้ง = 0-7%

ระดบั ขาวสุดของภาพ = 10-12%

1.3 ความถย่ี ่านวเี อชเอฟ
การส่งโทรทศั น์ระบบ PAL-B มาตรฐาน CCIR ไดแ้ บง่ ความถี่ยา่ น VHF ออกเป็ น 2 Band
Low Band คือ ช่อง 2-4
High Band คือ ช่อง 5-12

ความถยี่ ่าน VHF (Very High Frequency)

ตวั อยา่ ง ความถี่สถานีโทรทศั นช์ ่อง 7 จะทาใหท้ ราบ

ความถ่ีช่อง 7 = 188 – 195 MHz

ความกวา้ งของช่องแตล่ ะช่อง = 7 MHz

ความถ่ีของภาพ = 189.25 MHz

ความถ่ีของเสียง = 194.75 MHz

1.4 ความถีย่ ่านยูเอชเอฟ

ความถี่ยา่ นยเู อชเอฟ (UHF) สาหรับวทิ ยโุ ทรทศั นใ์ นประเทศไทย

เนื่องจากสถานีโทรทศั น์ในประเทศไทยส่งความถี่ในยา่ น VHF ยา่ นความถ่ี VHF จะส่งสญั ญาณออกได้

ต้งั แตช่ ่อง 2 ถึงช่อง 12 ออกอากาศช่อง 3, 5, 7, 9, 11 กรมประชาสมั พนั ธ์ จึงไดก้ าหนดนโยบายการเพ่ิมสถานีส่ง

โทรทศั น์ใหเ้ ป็นยา่ น UHF โดยใชร้ ะบบ PAL-G

เพื่อป้องกนั การรบกวนระหวา่ งสถานีตอ่ สถานี ยา่ นความถี่ VHF จะเพม่ิ ช่องอีกไม่ได้ ดงั น้นั ประเทศ

ไทยจึงเพ่มิ ช่องในยา่ นความถ่ี UHF ซ่ึงจะเพ่ิมจานวน 49 ช่อง ในยา่ น UHF จะแบ่งยา่ นความถี่ออกเป็น 2 Band

Band IV เริ่มช่อง 21 ถึงช่องท่ี 37 (ความถี่ 470-606 MHz)

Band V เร่มิตน้ ท่ีช่อง 38 ถึงช่องที่ 69 (ความถี่ 606-862 MHz) ปัจจุบนั สถานีโทรทศั น์สีแตล่ ะสถานส่ง

ท้งั 2 ระบบ คือ VHF และ UHF และยงั ส่งผา่ นดาวเทียมอีกดว้ ย

การพฒั นาจากระบบ PAL-B สู่ระบบ PAL-G

คุณลกั ษณะสาคญั ของระบบ PAL-G มาตรฐาน CCIR

ความกวา้ งของช่อง 8 MHz

ความถี่ของภาพห่างจากความถี่เริ่มตน้ ของช่อง 1.25 MHz

ความถี่เสียงอยหู่ ่างจากความถี่สูงของช่อง 1.01 MHz

ความถี่เสียง 2 ภาษา

 ภาษาที่ 1 หรือภาษา A 5.5 MHz

 ภาษาที่ 2 หรือภาษา B 5.74 MHz

VC = Video Carrier (Picture Carrier)

SC1 = Sound Carrier SC1 ภาษาท่ี 1 ความถี่ 5.5 MHz
SC2 = Sound Carrier SC2 ภาษาท่ี 2 ความถ่ี 5.74 MHz
CC = Color Carrier 4.43 MHz

VSB = Vestigial Side Band

USB = Upper Side Band

ขอ้ แตกตา่ งระหวา่ ง PAL-B กบั PAL-G อยทู่ ี่

1. ระบบเสียง PAL-G มี 2 ภาษา

2. Band Width PAL-G มากถึง 8 MHz

ความถ่ียา่ น UHF (Ultra High Frequency)

สรุป * ความถี่ยา่ น UHF มีจานวนช่อง 21 ช่อง ถึงช่องที่ 69
* Band Width แตล่ ะช่อง 8 MHz
* Picture Carrier จะอยสู่ ูงกวา่ ความถ่ีต่าของช่อง + 1.25 MHz
* Sound Carrier จะอยตู่ ่ากวา่ ความถ่ีสูงของช่อง  .25 MHz

 ด้านทกั ษะ(ปฏบิ ตั ิ)

1. แบบฝึกหดั หน่วยที่ 1

 ด้านคุณธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการ
เศรษฐกิจพอเพียง)

กจิ กรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้

ข้ันตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนรู้หรือกจิ กรรมของนักเรียน

1. ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที ) 1. ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน (15 นาที )

1. ผูส้ อนจดั เตรียมเอกสาร พร้อมกบั แนะนา 1. ผูเ้ รียนหนงั สือและฟังผูส้ อนแนะนารายวิชา

รายวิชา วิธีการให้คะแนนและการประเมินผลที่ใช้ วิธีการให้คะแนนและการประเมินผลท่ีใช้กับวิชา

กบั วชิ า เคร่ืองรับโทรทศั น์ เครื่องรับโทรทศั น์

2. ผสู้ อนช้ีแจงหวั ขอ้ การเรียนและจุดประสงค์ 2. ผู้เรี ยนฟังผู้สอนแจ้งหัวข้อการเรี ยนและ

การเรียนประจาหน่วยท่ี 1 เรื่อง กิจการและระบบ จุดประสงคก์ ารเรียนประจาหน่วยที่ 1 เร่ือง กิจการและ

โทรทศั น์ในประเทศไทย ระบบโทรทศั น์ในประเทศไทย

3. ผูส้ อนให้ผู้เรียนอ่านและทาความเข้าใจ 3. ผูเ้ รียนอ่านและทาความเข้าใจสาระสาคัญ

สาระสาคญั หน่วยท่ี 1 หน่วยท่ี 1

2. ข้นั ให้ความรู้ (210 นาที) 2. ข้นั ให้ความรู้ (210 นาที )

1. ผู้สอนเปิ ด PowerPoint หน่วยท่ี 1 เร่ื อง 1. ผู้เรี ยนศึกษา PowerPoint หน่วยท่ี 1 เรื่ อง

กิจการและระบบโทรทศั น์ในประเทศไทย กิจการและระบบโทรทศั นใ์ นประเทศไทย

2. ผูส้ อนอธิบายเน้ือหาในหน่วยเรียนที่1 เรื่อง 2. ผเู้ รียนฟังผสู้ อนอธิบายเน้ือหาในหน่วยเรียน

กิจการและระบบโทรทศั นใ์ นประเทศไทย ท่ี 1 เร่ือง กิจการและระบบโทรทศั นใ์ นประเทศไทย

กจิ กรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้

ข้นั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนรู้หรือกจิ กรรมของนักเรียน

3. ข้ันประยกุ ต์ใช้ ( 30 นาที ) 3. ข้ันประยกุ ต์ใช้ ( 30 นาที )
1. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนทาแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 1 1. ผเู้ รียนทาแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 1

4. ข้ันสรุปและประเมินผล ( 45 นาที ) 4. ข้ันสรุปและประเมินผล ( 45 นาที )

1. ผูส้ อนทบทวนความเขา้ ใจและสรุปเน้ือหา 1. ผเู้ รียนฟังผสู้ อนทบทวนความเขา้ ใจและสรุป

เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนมีความเขา้ ใจในทิศทางเดียวกนั เน้ือหา

(บรรลุจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อท่ี 1-6) (บรรลจุ ุดประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อท่ี 1-6)

(รวม 300 นาที หรือ 5 คาบเรียน)

งานที่มอบหมายหรือกจิ กรรมการวดั ผลและประเมนิ ผล

ก่อนเรียน

1. เอกสารหน่วยที่ 1 เรื่อง กิจการและระบบโทรทศั น์ในประเทศไทย

ขณะเรียน
-

หลงั เรียน

1. แบบฝึกหดั หน่วยที่ 1

ผลงาน/ชิน้ งาน/ความสาเร็จของผู้เรียน

- แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 1

สื่อการเรียนการสอน/การเรียนรู้

ส่ือส่ิงพมิ พ์
1. เอกสารประกอบการสอนวชิ า เครื่องรับโทรทัศน์ (ใชป้ ระกอบการเรียนการสอนจุดประสงคเ์ ชิง

พฤติกรรมขอ้ ท่ี 1-6)
2. แบบฝึกหดั หน่วยที่ 1 ใชข้ ้นั ประยกุ ตใ์ ช้ ขอ้ 1

สื่อโสตทศั น์ (ถ้ามี)
1. เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
2. งานนาเสนอ

สื่อของจริง
1. โทรทศั น์ขาวดา
2. โทรทศั นส์ ี

แหล่งการเรียนรู้

ในสถานศึกษา
1. หอ้ งสมุด
2. หอ้ งปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์

นอกสถานศึกษา
ผปู้ ระกอบการ สถานประกอบการ ในทอ้ งถิ่น

การบูรณาการ/ความสัมพนั ธ์กบั วชิ าอื่น

1. บูรณาการกบั วชิ าภาษาไทย การแสดงความรู้เก่ียวกบั กิจการและระบบโทรทศั น์ในประเทศไทย
2. บูรณาการกบั วชิ าการงานอาชีพ การพฒั นาระบบโทรทศั นส์ ี

การประเมินผลการเรียนรู้
 หลกั การประเมินผลการเรียนรู้

ก่อนเรียน
-

ขณะเรียน

หลงั เรียน
1. ตรวจแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 1

ผลงาน/ชิน้ งาน/ผลสาเร็จของผู้เรียน

1. แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 1

สมรรถนะทีพ่ งึ ประสงค์

ผเู้ รียนสร้างความเขา้ ใจเก่ียวกบั กิจการและระบบโทรทศั นใ์ นประเทศไทย
1. วเิ คราะห์และตีความหมาย
2. สาธิตพร้อมแสดงทา่ ทางประกอบ
3. อภิปรายแสดงความคิดเห็น
4. ประยกุ ตค์ วามรู้สู่งานอาชีพ

สมรรถนะการปฏบิ ตั งิ านอาชีพ

แสดงความรู้เกี่ยวกบั กิจการและระบบโทรทศั นใ์ นประเทศไทย

สมรรถนะการขยายผล

ความสอดคล้อง
จากการเรียนเร่ือง กิจการและระบบโทรทศั น์ในประเทศไทย ผูเ้ รียนจะมีความรู้เก่ียวกบั กิจการและ
ระบบโทรทศั น์ในประเทศไทย กิจการโทรทศั น์สีในประเทศไทย ความถ่ียา่ นวีเอชเอฟ (VHF) ความถ่ียา่ น
ยูเอชเอฟ (UHF) ผูเ้ รียนสามารถนาความรู้ที่ไดร้ ับไปปรับใชใ้ นชีวติ ประจาวนั โดยนาความรู้ไปพฒั นาระบบ
โทรทศั น์สีในประเทศไทยได้

รายละเอียดการประเมินผลการเรียนรู้

 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ท่ี 1 บอกประวตั ิความเป็นมาของกิจการและระบบโทรทศั นใ์ นประเทศ
ไทยได้

1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ

2. เครื่องมือ : แบบทดสอบ

3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : บอกประวตั ิความเป็นมาของกิจการและระบบโทรทศั น์ในประเทศไทย

ไดจ้ ะได้ 1 คะแนน

 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ท่ี 2 อธิบายเกี่ยวกบั ระบบโทรทศั น์สีแบบ NTSC และ PAL ได้

1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ

2. เครื่องมือ : แบบทดสอบ

3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : อธิบายเก่ียวกบั ระบบโทรทศั นส์ ีแบบ NTSC และ PAL ได้ จะได้ 1

คะแนน

 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ที่ 3 หายา่ นความถ่ี VHF ได้

1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ

2. เครื่องมือ : แบบทดสอบ

3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : หายา่ นความถ่ี VHF ได้ จะได้ 2 คะแนน

 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ที่ 4 หายา่ นความถ่ี UHF ได้

1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ

2. เคร่ืองมือ : แบบทดสอบ

3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : หายา่ นความถี่ UHF ได้ จะได้ 2 คะแนน

 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ที่ 5 พฒั นาระบบโทรทศั นส์ ีในประเทศไทยได้

1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ

2. เครื่องมือ : แบบทดสอบ

3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : พฒั นาระบบโทรทศั น์สีในประเทศไทยได้ จะได้ 3 คะแนน

 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ขอ้ ท่ี 6 มีคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ

2. เครื่องมือ : แบบทดสอบ

3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : มีคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ จะได้ 1

คะแนน

แบบฝึ กหัดบทท่ี 1

คาชี้แจง จงทาเคร่ืองหมาย () หนา้ ขอ้ ความท่ีถูกตอ้ ง
1. ประเทศไทยส่งโทรทศั นข์ าว-ดาคร้ังแรกใชร้ ะบบ
ก. ยโุ รป
ข. องั กฤษ
ค. ฝรั่งเศส
ง. อเมริกา
2. ประเทศไทยส่งโทรทศั นส์ ีคร้ังแรกใชร้ ะบบ
ก. อเมริกา
ข. องั กฤษ
ค. ฝรั่งเศส
ง. อเมริกา
3. ระบบ NTSC มาตรฐาน FCC เป็นระบบของ
ก. อเมริกา
ข. องั กฤษ
ค. ฝร่ังเศส
ง. ยโุ รป
4. ระบบ PAL-B มาตรฐาน CCIR เป็นระบบของ
ก. อเมริกา
ข. องั กฤษ
ค. ฝรั่งเศส
ง. ยโุ รป
5. ระบบ PAL-B มาตรฐาน CCIR มีความกวา้ ง (Band Width) เท่าไร
ก. 5 MHz
ข. 6 MHz
ค. 7 MHz
ง. 8 MHz

6. ระบบมาตรฐาน PAL-B มาตรฐาน CCIR มีจานวนเส้น
ก. 425 เส้น
ข. 525 เส้น
ค. 625 เส้น
ง. 819 เส้น

7. ระบบ PAL-B มาตรฐาน CCIR จานวนภาพ/วนิ าที
ก. 15 ภาพ/นาที
ข. 20 ภาพ/นาที
ค. 25 ภาพ/นาที
ง. 30 ภาพ/นาที

8. ระบบ PAL-B มาตรฐาน CCIR ความถี่เสียงห่างจากภาพ
ก. 4.5 MHz
ข. 5.5 MHz
ค. 6.5 MHz
ง. 7.5 MHz

9. ถา้ มีการนาระบบ PAL-G มาตรฐาน CCIR มาใชจ้ ะมีความถ่ีเสียงก่ีภาษา
ก. 1 ภาษา
ข. 2 ภาษา
ค. 3 ภาษา
ง. 4 ภาษา

10. ระบบ PAL-G มาตรฐาน CCIR Band Width เทา่ กบั
ก. 5 MHz
ข. 6 MHz
ค. 7 MHz
ง. 8 MHz

แบบประเมนิ ผลการนาเสนอผลงาน

ชื่อกลุ่ม……………………………………………ช้นั ………………………หอ้ ง...........................

รายช่ือสมาชิก

1……………………………………เลขท่ี……. 2……………………………………เลขท่ี…….

3……………………………………เลขท่ี……. 4……………………………………เลขที่…….

ท่ี รายการประเมิน คะแนน ขอ้ คิดเห็น

32 1

1 เน้ือหาสาระครอบคลมุ ชดั เจน (ความรู้เกี่ยวกบั เน้ือหา ความถกู ตอ้ ง

ปฏิภาณในการตอบ และการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหนา้ )

2 รูปแบบการนาเสนอ

3 การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม

4 บุคลิกลกั ษณะ กิริยา ท่าทางในการพดู น้าเสียง ซ่ึงทาใหผ้ ฟู้ ังมีความ

สนใจ

รวม

ผปู้ ระเมิน…………………………………………………

เกณฑ์ การให้ คะแนน
1. เน้ือหาสาระครอบคลุมชดั เจนถูกตอ้ ง

3 คะแนน = มีสาระสาคญั ครบถว้ นถูกตอ้ ง ตรงตามจุดประสงค์
2 คะแนน = สาระสาคญั ไม่ครบถว้ น แต่ตรงตามจุดประสงค์
1 คะแนน = สาระสาคญั ไม่ถูกตอ้ ง ไมต่ รงตามจุดประสงค์
2. รูปแบบการนาเสนอ
3 คะแนน = มรี ูปแบบการนาเสนอที่เหมาะสม มีการใชเ้ ทคนิคท่ีแปลกใหม่ ใชส้ ื่อและเทคโนโลยี

ประกอบการ นาเสนอที่น่าสนใจ นาวสั ดุในทอ้ งถ่ินมาประยกุ ตใ์ ชอ้ ยา่ งคุม้ ค่าและประหยดั
2 คะแนน = มเี ทคนิคการนาเสนอท่ีแปลกใหม่ ใชส้ ่ือและเทคโนโลยปี ระกอบการนาเสนอทน่ี ่าสน ใจ แต่

ขาดการประยกุ ตใ์ ช้ วสั ดุในทอ้ งถ่ิน
1 คะแนน = เทคนิคการนาเสนอไมเ่ หมาะสม และไม่น่าสนใจ
3. การมสี ่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนมีบทบาทและมีส่วนร่วมกิจกรรมกลุ่ม
2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญ่มีบทบาทและมสี ่วนร่วมกิจกรรมกลุ่ม
1 คะแนน = สมาชิกส่วนนอ้ ยมีบทบาทและมีส่วนร่วมกิจกรรมกลุ่ม
4. ความสนใจของผฟู้ ัง
3 คะแนน = ผฟู้ ังมากกวา่ ร้อยละ 90 สนใจ และใหค้ วามร่วมมือ
2 คะแนน = ผฟู้ ังร้อยละ 70-90 สนใจ และใหค้ วามร่วมมือ
1 คะแนน = ผฟู้ ังนอ้ ยกวา่ ร้อยละ 70 สนใจ และใหค้ วามร่วมมอื

แบบประเมนิ กระบวนการทางานกล่มุ

ช่ือกลุ่ม……………………………………………ช้นั ………………………หอ้ ง...........................

รายชื่อสมาชิก 2……………………………………เลขที่…….

1……………………………………เลขท่ี……. 4……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขท่ี…….
คะแนน ขอ้ คิดเห็น
ที่ รายการประเมิน
321
1 การกาหนดเป้าหมายร่วมกนั
2 การแบ่งหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบและการเตรียมความพร้อม
3 การปฏิบตั ิหนา้ ท่ีท่ีไดร้ บั มอบหมาย
4 การประเมินผลและปรบั ปรุงงาน

รวม

ผปู้ ระเมิน…………………………………………………
วนั ท่ี…………เดือน……………………..พ.ศ…………..

เกณฑ์ การให้ คะแนน

1. การกาหนดเป้าหมายร่วมกนั
3 คะแนน = สมาชิกทกุ คนมีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายการทางานอยา่ งชดั เจน
2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญม่ ีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน
1 คะแนน = สมาชิกส่วนนอ้ ยมีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมายในการทางาน

2. การมอบหมายหนา้ ที่รับผดิ ชอบและการเตรียมความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานไดท้ วั่ ถึง และตรงตามความสามารถของสมาชิกทกุ คน มีการจดั เตรียมสถานท่ี ส่ือ /
อุปกรณ์ไวอ้ ยา่ งพร้อมเพรียง
2 คะแนน = กระจายงานไดท้ วั่ ถึง แตไ่ ม่ตรงตามความสามารถ และมีสื่อ / อปุ กรณ์ไวอ้ ยา่ งพร้อมเพรียง แตข่ าด
การจดั เตรียมสถานท่ี
1 คะแนน = กระจายงานไมท่ ว่ั ถึงและมีสื่อ / อปุ กรณ์ไมเ่ พียงพอ

3. การปฏิบตั ิหนา้ ที่ท่ีไดร้ ับมอบหมาย
3 คะแนน = ทางานไดส้ าเร็จตามเป้าหมาย และตามเวลาที่กาหนด
2 คะแนน = ทางานไดส้ าเร็จตามเป้าหมาย แตช่ า้ กวา่ เวลาท่ีกาหนด
1 คะแนน = ทางานไมส่ าเร็จตามเป้าหมาย

4. การประเมินผลและปรับปรุงงาน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนร่วมปรึกษาหารือ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรุงงานเป็ นระยะ
2 คะแนน = สมาชิกบางส่วนมีส่วนร่วมปรึกษาหารือ แตไ่ มป่ รับปรุงงาน
1 คะแนน = สมาชิกบางส่วนมีส่วนร่วมไมม่ ีส่วนร่วมปรึกษาหารือ และปรับปรุงงาน
3 คะแนน = สมาชิกทกุ คนร่วมปรึกษาหารือ ติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรุงงานเป็ นระยะ
2 คะแนน = สมาชิกบางส่วนมีส่วนร่วมปรึกษาหารือ แต่ไมป่ รับปรุงงาน
1 คะแนน = สมาชิกบางส่วนมีส่วนร่วมไม่มีส่วนร่วมปรึกษาหารือ และปรับปรุงงาน

บันทกึ หลงั การสอน

หน่วยท่ี 1 เร่ือง กจิ การและระบบโทรทศั น์ในประเทศไทย

ผลการใช้แผนการเรียนรู้

1. เน้ือหาสอดคลอ้ งกบั จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
2. สามารถนาไปใชป้ ฏิบตั ิการสอนไดค้ รบตามกระบวนการเรียนการสอน
3. สื่อการสอนเหมาะสมดี

ผลการเรียนของนักเรียน

4. นกั ศึกษาส่วนใหญ่มีความสนใจใฝ่ รู้ เขา้ ใจในบทเรียน อภิปรายตอบคาถามในกลุ่ม และร่วมกนั
ปฏิบตั ิใบงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย

5. นกั ศึกษากระตือรือร้นและรับผดิ ชอบในการทางานกลุ่มเพ่อื ใหง้ านสาเร็จทนั เวลาท่ีกาหนด

ผลการสอนของครู

1. สอนเน้ือหาไดค้ รบตามหลกั สูตร
2. แผนการสอนและวธิ ีการสอนครอบคลุมเน้ือหาการสอนทาใหผ้ สู้ อนสอนไดอ้ ยา่ งมนั่ ใจ
3. สอนไดท้ นั ตามเวลาท่ีกาหนด

แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ภาคทฤษฎี หน่วยท่ี 2
สอนสปั ดาหท์ ี่ 2
แผนการสอน/การเรียนรู้ภาคทฤษฎี คาบรวม 10
ชื่อวชิ า เคร่ืองรับโทรทศั น์
ช่ือหน่วย ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั โทรทศั นข์ าว-ดา จานวนคาบ 5

ช่ือเรื่อง ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั โทรทศั นข์ าว-ดา

หวั ข้อเรื่อง

1. ลกั ษณะของการมองเห็นภาพ
2. องคป์ ระกอบของภาพ
3. การสแกน
4. การหกั เหของลาอิเลก็ ตรอน
5. หลอดภาพโทรทศั น์ขาว-ดา

สาระสาคญั

ความคิดริเริ่มเก่ียวกับกิจการโทรทศั น์ เร่ิมมาจากมนุษยค์ ิดค้นวิธีการส่งคลื่นวิทยุออกอากาศ ด้าน
เครื่องรับท่ีอยู่ห่างไกลกนั สามารถรับสัญญาณคลื่นวิทยุน้ันได้ นน่ั คือความสาเร็จในการคิดคน้ ในดา้ นเสียง
นกั วทิ ยาศาสตร์จึงไดร้ ะดมความคิดในการท่ีจะส่งสัญญาณภาพออกอากาศได้ และเครื่องรับสญั ญาณภาพได้ ซ่ึง
ต่อมาเครื่องรับสญั ญาณภาพเรียกวา่ “โทรทศั น์”

โทรทศั นข์ าว-ดา ถือกาเนิดคร้ังแรกประมาณปี พ.ศ. 2469 โดยกลุ่มนกั วทิ ยาศาสตร์ชาวองั กฤษ เจ.แอล.
เบียด (J.L. Baird) ประเทศองั กฤษจึงเป็ นประเทศแรกที่สามารถส่งโทรทศั น์ไดเ้ ป็ นผลสาเร็จ แลว้ ประเทศต่างๆ
กน็ าเอาความคิดริเร่ิมของกิจการโทรทศั น์มาพฒั นาเป็ นระบบของตนเอง เช่น อเมริกา เยอรมนั และฝรั่งเศส โดย
มีการแข่งพฒั นากิจกรรมโทรทศั น์ใหเ้ จริญกา้ วหนา้ ข้ึนเป็ นลาดบั

ปัจจุบนั ระบบโทรทัศน์พฒั นาสู่ระบบดิจิตอล จอภาพจะมีแบบ LCD และ LED และพลาสม่า ถึง
อยา่ งไรก็ตาม เราก็ควรศึกษาหลกั การเบ้ืองตน้ ของโทรทศั น์ เพราะการทางานมีการเช่ือมโยงระหวา่ งอดีตและ
ปัจจุบนั

สมรรถนะอาชีพประจาหน่วย

แสดงความรู้เกี่ยวกบั โทรทศั นข์ าว-ดา

จุดประสงค์การสอน/การเรียนรู้

 จุดประสงค์ทวั่ ไป / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. เพ่ือใหม้ ีความรู้เก่ียวกบั โทรทศั นข์ าว-ดา (ด้านความรู้)
5. เพ่ือใหม้ ีทกั ษะในการซ่อมประกอบหลอดภาพ (ด้านทักษะ)
6. เพอ่ื ใหม้ ีเจตคติท่ีดีนาหลอดภาพไปพฒั นาตอ่ (ด้านเจตคติ)

 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง

7. บอกองคป์ ระกอบของภาพได้ (ดา้ นความรู้)
8. อธิบายหลกั การสแกนได้ (ดา้ นความรู้)
9. จาแนกลกั ษณะการมองเห็นภาพได้ (ดา้ นความรู้)
10. เปรียบเทียบการหกั เหของลาอิเลก็ ตรอนได้ (ดา้ นความรู้)
11. ซ่อมประกอบหลอดภาพตามโครงสร้างได้ (ดา้ นทกั ษะ)
12. พฒั นาหลอดภาพได้ (ดา้ นเจตคติ)
13. มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการ

เศรษฐกิจพอเพยี ง)

เนื้อหาสาระการสอน/การเรียนรู้

 ด้านความรู้ (ทฤษฎ)ี

2.1 ลกั ษณะของการมองเห็นภาพ
การท่ีมนุษยเ์ ราสามารถมองเห็นภาพไดน้ ้นั จะตอ้ งมีองคป์ ระกอบหลายๆ อย่าง เช่น มีภาพ มีแสงสวา่ ง

และความสามารถของดวงตา โดยแบง่ การมองเห็นได้ 2 ลกั ษณะ คือ
1. การมองเห็นภาพท่ีไม่มีแสงสวา่ งในตวั เอง การมองเห็นภาพท่ีไม่มีแสงในตวั เองจะมีองคป์ ระกอบ 3

อยา่ ง คือ ภาพ แสงสวา่ ง และ การสะทอ้ นสู่ดวงตา
องคป์ ระกอบท้งั 3 อยา่ งน้ี ถา้ ขาดสิ่งใดส่ิงหน่ึงจะไมส่ ามารถมองเห็นภาพได้
2. การมองเห็นที่มีแสงสว่างในตวั เอง การมองเห็นในลกั ษณะน้ี เช่น ภาพจากโทรทศั น์ ป้ายนีออน

โฆษณา คือ ภาพหรือวตั ถุต่างๆ เหล่าน้ีจะมีแสงในตวั เอง ภาพจะสะทอ้ นสู่ดวงตา โดยตรงโดยไม่จาเป็ นจะตอ้ ง
เอาแสงสวา่ งจากแหล่งอื่น

ความทรงจาของดวงตา
ดวงตามนุษยม์ ีลกั ษณะพิเศษ คือ มีความทรงจาอยรู่ ะยะหน่ึง เรียกวา่ Persistence of Visio หมายความวา่
เม่ือขณะมีภาพใดภาพหน่ึง เช่น จุดธูปในท่ีมืดแลว้ แกวา่ งธูปไปมาโดยใหม้ ีความเร็วระยะหน่ึง เราจะมองเห็นเส้น
แสงต่อเนื่องเป็ นขีดยาว ท้งั ๆ ที่ธูปเคลื่อนท่ีไปยอู่ ีกท่ีหน่ึงแลว้ น่ีคือความทรงจาของดวงตา ถา้ ไมม่ ีคุณสมบตั ิของ
ดาวตากิจการโทรทศั นค์ งเกิดข้ึนไมไ่ ด้ เพราะการบรรจุสัญญาณจุดภาพลงในเส้นสแกนทีละเส้นจากขอบบนของ
จอลงมาดา้ นล่างของจอ ใชส้ แกน 625 เส้น จะได้ 1 ภาพ และมี 25 ภาพ ใชเ้ วลาเพยี ง 1 วนิ าที

2.2 องค์ประกอบของภาพ
ในวิธีการของโทรทศั น์ภาพท่ีมองเห็นจากจอโทรทศั น์จะประกอบไปดว้ ย จุดภาพ เรียกวา่ พิกเจอร์ อิลิ

เมนต์ หรือพิกเซล (Pixel) จุดภาพน้ีคือ จุดเล็กๆ ที่ประกอบดว้ ยจุดขาว-ดา จะถูกบรรจุในเส้นสแกน เมื่อรวมกนั
เขา้ หลายๆ จุดเห็นเป็น “ภาพ”

จานวนจุดภาพย่งิ มาก ความละเอียดของภาพก็ย่ิงมาก นนั่ ก็คือคุณภาพของภาพสูง ถา้ ภาพน้นั มีส่วนของ
จุดภาพนอ้ ย ความละเอียดของภาพก็จะลดลง จานวนเส้นสแกนมีจานวน 625 เส้น มีจุดภาพประมาณ 500,000
จุดภาพ

จานวนพิกเจอร์ อิลิเมนต์ ย่ิงมาก คุณภาพของภาพก็ยงิ่ มาก และในทานองเดียวกนั จานวนเส้นสแกนยิ่ง
มาก คุณภาพของภาพกย็ งิ่ มากตามไปดว้ ย จานวนเส้นสแกนกาหนดไวท้ ่ี 625 เส้น จานวนภาพ 25 ภาพ/วนิ าที จาก
จานวนภาพที่ใช้ส่งโทรทศั น์ในปัจจุบนั 25 ภาพ/วินาที จานวนภาพต่อวินาทียิ่งมาก การกระพริบของภาพก็ย่ิง
นอ้ ยลง แต่ความกวา้ งหรือแบนดว์ ดิ ธ์ จะตอ้ งมากตามไปดว้ ย ทาให้ยากต่อการออกแบบวงจร ปัจจุบนั แบนดว์ ดิ ธ์
ของภาพอยู่ที่ 5 เมกะเฮิรตซ์ ไม่นานระบบโทรทศั น์ในประเทศไทยจะส่งความถี่ย่าน UHF มาตรฐาน PAL-G
Band Width ของภาพจะกวา้ งมากข้ึน ทาใหค้ วามละเอียดของภาพจะยง่ิ มากข้ึนดว้ ย

การที่เส้นสแกน 625 เส้น จานวน 25 ภาพ/วนิ าที จานวนของพกิ เจอร์ อิลิเมนต์ สามารถคานวณได้

จานวนพิกเจอร์ อิลิเมนต์ =N

จานวนเส้นในการสแกน =n

ความสูงของภาพ =h

ความกวา้ งของภาพ =b
อตั ราส่วน (Aspect Ratio) 4
จากจุด N = b3 ×n2
แทนค่า N = 4h ×6252
จานวนพกิ เจอร์ อิลิเมนต์ = 3

= 520,652 จุด / 1 ภาพ

สรุป จานวนพิกเจอร์ อิลิเมนต์ ไม่ต่ากวา่ 500,000 จุด / 1 ภาพ

คุณภาพของภาพ

คุณภาพของภาพจะมีองคป์ ระกอบหลายองคป์ ระกอบ เช่น

 จานวนพกิ เจอร์ อิลิเมนต์ ตอ่ 1 ภาพ จะตอ้ งมาก คือ ไมน่ อ้ ยกวา่ 300,000 จุด ต่อ 1 ภาพ

 จานวนจุดภาพยงิ่ มาก ความละเอียดของภาพจะยง่ิ มาก

 จานวนเส้นสแกนยง่ิ มาก ความละเอียดยงิ่ สูง ปัจจุบนั เส้นสแกน 625 เส้นต่อ 1 ภาพ

 จานวนภาพ/วนิ าที จานวนภาพยงิ่ มากจะลดการกะพริบของภาพ ปัจจุบนั ใช้ 25 ภาพ/วนิ าที

 อตั ราส่วนของจอภาพ (Aspect Ratio) ความกวา้ งของความสูง คือ 3 : 4 นน่ั กค็ ือจอภาพจะมีความกวา้ ง

4 ส่วน และความสูง 3 ส่วน ปัจจุบนั จะมีอตั ราส่วนเป็น 9 : 16 ส่วน

 ขนาดของภาพ จอภาพวดั เป็นนิ้ว เช่น 10 นิ้ว 20 นิ้ว ฯลฯ การวดั ขนาดจะวดั เส้นทแยงมุม

 การปรับมืดสวา่ งของภาพ จะตอ้ งปรับใหเ้ หมาะสมกบั สายตาของผชู้ ม

 การปรับความเขม้ ของภาพ จะตอ้ งปรับตามความตอ้ งการของผชู้ ม

2.3 การสแกน

การสแกน คือ การกวาดหรือขีดของลาอิเลก็ ตรอน ทาใหเ้ กิดเส้นสวา่ งของลาอิเล็กตรอน ในแนวนอนใน

จอโทรทศั น์ขาว-ดา จะเห็นเส้นสวา่ งในแนวนอนอยา่ งชดั เจนในจอภาพขนาด 17” 20” 23” จอภาพยิง่ ขนาดใหญ่

เส้นสวา่ งทางแนวนอนจะสังเกตไดง้ ่าย เพราะเส้นสวา่ งจะมีจานวน 625 เส้น จอภาพขนาดใหญ่ ระยะห่างของ

เส้นทางแนวนอนก็จะมาก แต่จอขนาดเล็ก รยะห่างของเส้นสแกนทางแนวนอนจะชิดกนั มาก ทาใหด้ ูภาพคมชดั

ข้ึน

จานวนของเส้นทางแนวนอนเกิดได้จากากรกวาดของลาอิเล็กตรอน เรียกว่า การสแกน การสแกนจะ

คลา้ ยกบั การอา่ นหนงั สือ จะอา่ นทีละบรรทดั โดยเริ่มจากทางดา้ นซา้ ยมือมายงั ดา้ นขวามือ เม่ืออา่ นหมดกจ็ ะมาต้งั

ตน้ ใหม่เรียงจากบรรทดั บนลงมาเรื่อยๆ การสแกนจะเริ่มจากดา้ นบนของจอภาพ ดา้ นซ้ายมือสแกนไปยงั ดา้ น

ขวามือ เส้นสแกนน้ีเรียกวา่ เส้นเทรซ (Trace) หรือฮอริซอนทอล ไลน์ (Horizontal Line) เส้นน้ีสามารถมองเห็น

ได้ คือ เส้นสว่างทางแนวนอน เม่ือเส้นไปถึงขอบทางด้านขวามือแล้ว จะสะบดั กลบั มาทางดา้ นขอบจอทาง
ซ้ายมือ เส้นสะบดั กลบั เรียกวา่ เส้นรีเทรซ (Retrace) เม่ือการสะบดั กลบั มาถึงขอบจอดา้ นซ้ายมือจะดาเนินการ
สแกนเส้นใหม่ โดยจะต่ากวา่ เส้นแรกเล็กร้อย (การบงั คบั เส้นสแกนไม่ใชซ้ ้าเส้นเดิม เป็ นหนา้ ท่ีของการบงั คบั
การสแกนทางแนวต้งั ) ดงั น้นั เส้นสวา่ งทางแนวนอนที่มองเห็นในทางปฏิบตั ิ เรียกวา่ เส้นราสเตอร์ (Raster)

การบงั คบั การสแกน คือ การสแกนจากซ้ายมือไปยงั ขวามือ การที่จะเกิดการสแกนดงั กล่าวจะตอ้ งนา
สญั ญาณระหวา่ งรูปฟันเลื่อย เรียกวา่ ซอว์ ทูธ (Saw Tooth) ป้อนใหแ้ ก่ขดลวดของฮอริซอนทอล โยก้ (Horizontal
Yoke) ขดลวดก็จะเกิดแรงแม่เหลก็ ไปยงั คบั ใหเ้ กิดการสแกนทางแนวนอน

การบงั คบั สแกนทางแนวต้งั คือ การบงั คบั เส้นสแกนทางแนวนอนไม่ใหซ้ ้าเส้นเดิม หรือทบั เส้นเดิมจาก
ขอบบนของจอลงมายงั ส่วนล่างของจอ จะตอ้ งนาสัญญาณรูปฟันเล่ือย ซอว์ ทูธ ตอ่ เขา้ กบั ขดลวดเวอร์ติคอล โยก้
(Vertical Yoke) ขดลวดจะเกิดเส้นแรงแม่เหลก็ ไปบงั คบั การสแกนทางแนวต้งั ต่อไป

ลาดบั ข้นั ตอนการสแกน
ข้นั ตอนในการทางานดงั กล่าวแบ่งไดเ้ ป็น 4 ข้นั ตอน ดงั น้ี
1. การสแกนจะเร่ิมต้นจากเส้นท่ีหน่ึงจากซ้ายมือไปยงั ด้านขวามือ ใช้สัญญาณบงั คบั ทางแนวนอน
ฮอริซอนทอล เทรซ (Horizontal Trace)
2. เส้นสะบดั กลบั จากทางขวามือมายงั ซา้ ยมือ ใชส้ ัญญาณการบงั คบั ทางแนวนอนฮอริซอนทอล รี เทรซ
(Horizontal Retrace) เส้นสะบดั กลับมองไม่เห็น เพราะมีสัญญาณบังคบั ฮอริซอนทอล รีเทรซ (Horizontal
Retrace) เส้นสะบดั กลบั มองไม่เห็น เพราะมีสญั ญาณบงั คบั ใหห้ ลอดภาพคดั ออฟ (Cut off)
3. เส้นสแกนใหม่จากซ้ายมือไปขวามือ เพ่ือไม่ให้ซ้ารอยเดิมหรือทบั แนวเดิม ใช้สัญญาณการบงั คบั
แนวต้งั เวอร์ติคอล เทรซ (Vertiacl Trace)
4. เมื่อเส้นสแกนมาตรงดา้ นล่างของจอแลว้ จะตอ้ งสะบดั กลบั ไปต้งั ตน้ ต้งั แต่เส้นที่ 1 ใหม่ ใชส้ ัญญาณ
การบงั คบั ทางแนวด่ิงเวอร์ติคอล รีเทรซ (Vertical Retrace) เส้นสะบดั กลบั มองไม่เห็น เพราะมีสญั ญาณบงั คบั ให้
หลอดภาพคตั ออฟ (Cut off)
การสแกน (Scanning)
การสแกนแบบ Interlaced Scanning คือ การสแกนแบบสอดแทรกระหว่างฟิ สด์ค่ีและฟิ ลด์คู่ มีวิธีการ
ดงั น้ี
สแกนฟิ ลดค์ ี่จนครบ 312.5 เส้น แลว้ นาฟิ ลดค์ ู่มาสอดแทรก โดยสแกนฟิ ลดห์ รือเส้นคู่จบครบ 312.5 เส้น
เม่ือนบั รวมกนั แลว้ ระหวา่ งฟิ ลดค์ ี่และฟิ ลดค์ ู่จะได้ 625 เส้น เป็นมาตรฐานของระบบ PAL วธิ ีการคือ การ
สแกนเร่ิมตน้ จากเส้นคี่ก่อน คือ เส้น 1, 3, 5, 7 ไปจนครบเส้นค่ี แลว้ นาเส้นคี่ 2, 4, 8, 10 มาสอดแทรก
การสแกนแบบน้ีเป็ นการสแกนแบบสอดแทรก คือ ภาพ 1 ภาพ เรียกว่า 1 เฟรม มี 625 เส้น 1 เฟรมมา
แบ่งเป็ น 2 ฟิ ลด์คี่ (Odd Field) และฟิ ลด์คู่ (Even Filed) ฟิ ลด์คี่มี 312.5 เส้น และฟิ ลด์คู่มี 312.5 เส้น ดังน้ัน 1
Frame = 2 Filed

จากรูป การทางานฟิ ลดค์ ่ีเร่ิมตน้ จากทางดา้ นซา้ ยมือ (A) เส้นท่ี 1 จะเร่ิมจากมุมทางดา้ นซา้ ยจนถึงทางดา้ น
ขวามือ แล้วจะสะบดั กลบั สแกนเส้นท่ี 3 เส้นที่ 3 จะเร่ิมจากทางดา้ นซ้ายมือไปทางดา้ นขวามือ แลว้ จะสะบดั
กลบั ไปสแกนเส้นที่ 5 การดาเนินการจะเป็นลกั ษณะเดียวกนั จนมาถึงเส้นสุดทา้ ยของฟิ ลดค์ ี่ ท่ีดา้ นล่างของจอตรง
จุดก่ึงกลาง (B) จะได้ 312.5 เส้น จากน้นั จะตอ้ งกลบั ไปสแกนฟิ ลด์คู่ใหม่ โดยจะตอ้ งสะบดั กลบั ไปกลางจอภาพ
ดา้ นบน (C)

การเร่ิมตน้ การสแกนฟิ ลดค์ ู่ จะกาเนินการจากจุดก่ึงกลางของขอบจอดา้ นบน (C) ดาเนินการจากซา้ ยมือ
ไปยงั ดา้ นขวามือ ฟิ ลดค์ ูจ่ ะเร่ิมนบั จากเส้นที่ 2-2 เส้นที่ 4-4 เส้นที่ 6-6 จนครบ เส้นคู่ 312.5 เส้น ท่ีจุด D กจ็ ะสะบดั
กลบั ไปต้งั ตน้ เส้นใหม่ที่ขอบบนดา้ นซา้ ยมือเพอ่ื ดาเนินการสแกนฟิ ลดใ์ หมต่ ่อไป

เส้นสะบดั กลบั หรือรีเทรซ (Retrace) ท้งั ทางแนวนอนและแนวต้งั เส้นสะบดั กลบั จะมองไม่เห็น เพราะ
ช่วงท่ีเกิดการทางานสะบดั กลบั หลอดภาพจะคตั ออฟ (Cut Off)

จะเห็นวา่ เมื่อดาเนินการฟิ ลดค์ ่ีและฟิ ลดค์ ูเ่ รียบร้อยแลว้ กจ็ ะครบ 1 เฟรม
คือ 1 ภาพที่สมบูรณ์จะมีจานวนเส้น 625 เส้น ตามมาตรฐานระบบ PAL
2.4 การหักเหของลาอเิ ลก็ ตรอน (Electron Beam Deflection)
การหกั เหของลาอิเล็กตรอน หรือการกวาดของลาอิเล็กตรอน คือ การบงั คบั ให้ลาอิเล็กตรอนขีดหรือ
กวาดลาอิเลก็ ตรอน
จากการมองเห็นเส้นทางแนวนอน หรือเรียกวา่ เส้น Rastor มองเห็นเต็มจอภาพ กระทาไดโ้ ดยการบงั คบั
ใหล้ าอิเลก็ ตรอนเคลื่อนที่จากซา้ ยไปขวา และจากบนลงล่าง มีดว้ ยกนั 2 วธิ ี คือ
วิธีที่ 1 เรียกวา่ Static Deflection วิธีใช้แรงเคล่ือนรูปซอว์ ทูธ (Saw Tooth) ป้อนเขา้ ยงั ดีเฟล็คชนั่ เพลต
ซ่ึงอยภู่ ายในหลอดภาพ วธิ ีน้ีนิยมใชเ้ ครื่องมือที่เรียกวา่ ออสซิลโลสโคป (Oscilloscope)
วิธีที่ 2 เรียกวา่ Magnetic Deflection วธิ ีน้ีจะใชก้ ระแสรูปซอว์ ทูธ ป้อนเขา้ ที่ Deflection Coil เพ่ือทาให้
เกิดเส้นแรงแมเ่ หลก็ ไปบงั คบั การหกั เหของลาอิเล็กตรอน วธิ ีน้ีใชใ้ นเครื่องรับโทรทศั น์
ชุดหักเหลาอิเล็กตรอนท้ัง 2 แบบ คือ ดีเฟล็คชั่น เพลต (Deflection Plate) หรื อดีเฟล็คชั่นคอยล์
(Deflection Coil) อยา่ งละ 2 ชุด ต้งั ฉากซ่ึงกนั และกนั เพอื่ ใหเ้ กิดการหกั เหท้งั ทางแนวนอนและแนวต้งั จะมองเห็น
เฉพาะเส้นสแกนทางแนวนอน เรียกว่า เส้นราสเตอร์ ในระบบ PAL-B มาตรฐาน CCIR กาหนดความถี่ของ
ความถ่ีทางแนวนอน หรือฮอริซอนทอล ฟรีเควนซี่เท่ากบั 15.625 เฮิรตซ์ และความถ่ีทางแนวต้งั เทา่ กบั 50 เฮิรตซ์
สัญญาณรูปซอว์ ทูธ ท่ีป้องกนั ชุดหกั เหลาอิเล็กตรอน ถา้ ให้เวลาในการสแกนท้งั หมดเท่ากบั T จะแบ่ง
ออกเป็น 2 ส่วน คือ
TS = เป็นระยะขอบขาลงดา้ นหนา้ ของการสแกนจะใชเ้ วลามาก คือ ระยะเทรซ
TR = เป็นระยะของขาลงดา้ นหลงั คือ ระยะรีเทรซ
T = เวลาท้งั หมด 100%

- ทางแนวนอนเวลาท่ีใชใ้ นการเทรซ ประมาณ 82%

การรีเทรซ ประมาณ 18%

- ทางแนวต้งั เวลาที่ใชใ้ นการเทรซ ประมาณ 93.5%

การรีเทรซ ประมาณ 6.5%

หลอดภาพ (Picture Tube)

หลอดภาพ เรียกวา่ พกิ เจอร์ ทิ้วบ์ (Picture Tube) หรือเรียกวา่ CRT แคโทด เรย์ ทิ้วบ์ (Cathode Ray Tube)

จะแบง่ ส่วนสาคญั ออกเป็น 3 ส่วน คือ

ส่วนท่ี 1 ชุดจา่ ยอิเล็กตรอนหรือปื นอิเลก็ ตรอน (Electronz Gun)

ส่วนที่ 2 ส่วนบงั คบั อิเลก็ ตรอน

ส่วนที่ 3 ส่วนรับอิเลก็ ตรอนหรือจอภาพ (Screen) เพอื่ ใหห้ ลอดภาพดาเนินการไดค้ ือ

 เมื่อลาอิเล็กตรอนวิง่ ออกมาทางชุดจ่ายลาอิเลก็ ตรอน (Electron Gun) จะถูกแอโนด (Anode) ของภาพ

ดึงลาอิเล็กตรอนใหช้ นจอภาพตรงจุดก่ึงกลางของจอภาพ จอภาพจะถูกฉาบดว้ ยสารเรืองแสง เม่ือมีลาอิเล็กตรอน

มาตกกระทบจะเกิดแสงเป็นจุดก่ึงกลางของจอภาพเพยี งจุดเดียว

 หลอดภาพยงั ไมใ่ ส่ชุดหกั เหลาอิเลก็ ตรอน คือ ใหห้ ลอดภาพทางานอิสระจะมีเพยี งจุดกลางจอจุดเดียว

วธิ ีท่ี 1 วธิ ีการ Static Deflection

วธิ ีการของสนามไฟฟ้าจะใชแ้ รงดนั ไฟฟ้า (Voltage) รูปซอร์ ทูธ ให้แก่ดีเฟล็คชน่ั เพลตท่ีทาใหเ้ กิดการ

หกั เหของลาอิเล็กตรอน จะมีหลกั การอยูว่ า่ ข้วั หรือศกั ยไ์ ฟฟ้าต่างชนิดกนั ดึงดูดกนั และข้วั ศกั ยห์ รือศกั ยไ์ ฟฟ้า

เหมือนกนั จะผลกั กนั จากหลกั การดงั น้ีเองท่ีจะบงั คบั ลาอิเล็กตรอนเคลื่อนท่ีไปยงั ตาแหน่งใดก็ได้ เพราะว่า

อิเลก็ ตรอนมีศกั ยเ์ ป็นลบ

Plate A และ Plate B จะทาหนา้ ที่บงั คบั การสแกนทางแนวนอน

Plate C และ Plate D จะทาหนา้ ท่ีบงั คบั การสแกนทางแนวต้งั

สมมติวา่ ตอ้ งการให้ลาอิเล็กตรอนไปอยูท่ ี่ตาแหน่งดา้ นบนของภาพ กระทาไดโ้ ดยใหแ้ รงไฟศกั ยบ์ วกแก่

เพลต A และแรงไฟศกั ยล์ บแก่เพลต B ลาอิเล็กตรอนจะเคลื่อนท่ีจากก่ึงกลางไปยงั ซา้ ยมือ และใหไ้ ฟศกั ยบ์ วกแก่

เพลต C ใหไ้ ฟลบแก่เพลต D ลาอิเล็กตรอนก็จะเคลื่อนที่ไปตาแหน่งดา้ นซา้ ยมือขอบบนของจอภาพตามตอ้ งการ

ณ ตาแหน่งน้ีเรี่มตน้ การสแกน

ถา้ ตอ้ งการใชล้ าอิเล็กตรอนสแกนจากกา้ นขวามือไปยงั ซา้ ยมือ กระทาไดโ้ ดยเพลต A ตอ้ งค่อยๆ ลดแรง

ไฟลงไปหาศกั ยล์ บ ส่วนเพลต B ตอ้ งค่อย ๆ เพิ่มศกั ยไ์ ฟบวก ลาอิเล็กตรอน จะสแกนจากดา้ นซา้ ยมือมายงั ดา้ น

ขวามือ

ในทานองเดียวกนั ถา้ ตอ้ งการใหเ้ กิดการสแกนกลบั ไปต้งั ตน้ ทางซา้ ยมือใหม่ ใหเ้ พลต A ค่อยๆ เปล่ียน

จากข้วั ลบมาเป็ นข้วั บวก และเพลต B ค่อยๆ เปลี่ยนจากข้วั บวกเป็ นข้วั ลบ เพลต A ก็จะดึงการสแกนไปทางดา้ น

ซา้ ยมือ