40 7 กับ 40 8 ต่างกันอย่างไร

ฟรีแลนซ์ วิชาชีพอิสระ รับเหมา ฟังแล้วคล้ายเหมือนกัน แต่มันมีความต่าง --- เวลายื่นภาษี หลายคนมักจะถามว่า พรี่หนอมครับ...

Posted by TaxBugnoms on Thursday, February 4, 2021

���Ѫ�� �Թ��֧�����Թ��������� 6 ���� �Թ��ҡ�ԪҪվ����� ��Сͺ���� �Ԫҡ����� ��û�Сͺ�ä��Ż� ���ǡ��� ʶһѵ¡��� ��úѭ�� ��гյ��Ż���� �����ԪҪվ�������� ����ҵ�� 40 (6) ��觻�������ɮҡ�

1.�繷�����ѧࡵ��� �Թ��֧�����Թ��������� �١�¡�͡�ҡ�Թ��ҡ����Ѻ�ӧҹ������ҵ�� 40 (2) ��觻�������ɮҡ� ��駷���鹰ҹ�ͧ������Թ�����ѡɳ������§�ѹ ����Ǥ��

(1) �繡�û�Сͺ�Ҫվ������������ö�ͧ�ؤ�Ÿ����Ҥ����ǵ���Ӿѧ

(2) �Թ����仵���ѭ���Ѻ�ӧҹ��������ѭ�Ҩ�ҧ�Ӣͧ �����觼�����稢ͧ�ҹ

(3) ����Ѻ�ӧҹ����������㹡�û�Ժѵԧҹ����ͧ�������Ѻ��ࡳ���ͺѧ�Ѻ�ͧ�����Ҩ�ҧ

2.����Ѻ�Թ��ҡ�ԪҪվ����й�� �բ��ᵡ��ҧ�ҡ�Թ���������� 2 ���ǹ�ͧ�Թ��ҡ����Ѻ�ӧҹ��� 㹻���繷���Ӥѭ ���

(2) �ԪҪվ����дѧ����Ƕ١��˹�������ԪҪվ (Professional) ���ա�úѭ�ѵԡ������ͧ�Ѻ������ԪҪվ �����ͧ�������ԪҪվ���� �� ᾷ���� ��ҷ��¤��� ����ԪҪվ�ѭ�� ���ǡ���ʶҹ �繵� �ҧ��͡�˹�����ǡѺ��û�Ժѵ���ԪҪվ����繾����

(3) ����Сͺ�ԪҪվ��� ��ͧ��ҹ����֡���������¹��Ң��ԪҪվ �����ǹ�˭��ͧ���͹حҵ㹡�û�Сͺ�ԪҪվ

�ب�� ���Ƿҧ��Ժѵ�����ǡѺ�Թ��ͧ������Ѻ͹حҵ����Сͺ�ä��Ż� �������ѡɳ����Թ��֧�����Թ����ҵ�� 40 ��觻�������ɮҡ� ������� ������� ���ҧ��

���Ѫ�� �����þҡ����ҧ�Ƿҧ��Ժѵ�����ǡѺ�Թ��ҡ��û�Сͺ�ä��ŻТͧ������Ѻ͹حҵ����Сͺ�ä��Ż� ���˹ѧ��ʹ�ǹ����ش��� �� 0811/03786 ŧ�ѹ��� 24 �չҤ� 2541 �ѧ���

1.�óռ�����Թ��ӧҹ�ʶҹ��Һ�Ţͧ�Ѱ�����͡�� �����Ѻ��ҵͺ᷹���Թ��͹���ͤ�Ҩ�ҧ ��������������ɨҡʶҹ��Һ�ŷ�赹�ӧҹ���� �� �Թ�����ǧ���Ҩҡ��������� ���ͤ�ҵͺ᷹�����㹡���ѡ�Ҽ����� �繵� ��ҵͺ᷹������Ѻ������Թ��֧�����Թ����ҵ�� 40 (1) ��觻�������ɮҡ�

2.�óռ�����Թ���� 1 价ӧҹ�繤��駤����ʶҹ��Һ���ա���˹�� �����Ѻ��ҵͺ᷹���ͤ�Ҩ�ҧ�ҡ��÷ӧҹ�繨ӹǹ��͹�������͹ ������˹�ҷ�����͵��˹觧ҹ���ͧҹ����Ѻ������鹨��繧ҹ��Ш����ͧҹ���Ǥ��� ��ҵͺ᷹������Ѻ������Թ��֧�����Թ����ҵ�� 40 (2) ��觻�������ɮҡ�

3.�óռ�����Թ����ѭ�����͢�͵�ŧ����ɡѺʶҹ��Һ�ŷ�赹�ӧҹ�������ͻ�Сͺ�ä��Ż��繡����ǹ��ǹ͡���ҷӡ�û��� �¡���Ѻ��Ǩ����ѡ�Ҽ����� ����բ�͵�ŧ���Թ��赹���Ѻ�ҡ�����������ʶҹ��Һ��������ѡɳ��ѡ�� ��ҵͺ᷹������Ѻ������Թ��֧�����Թ����ҵ�� 40 (6) ��觻�������ɮҡ�

4.�óռ�����Թ���駷��ӧҹ��Ш��������ӧҹ��Ш��ʶҹ��Һ�Ţͧ�Ѱ���ͧ͢�͡�� �����Сͺ�ä��Ż� �¡���Ѻ��Ǩ����ѡ�Ҽ����·�赹��������ѡ�ҷ��ʶҹ��Һ���ա���˹���繤��駤��� ��ҵͺ᷹������Ѻ������Թ��֧�����Թ����ҵ�� 40 (6) ��觻�������ɮҡ�

6.�óռ�����Ѻ͹حҵ����Сͺ�ä��Ż����Թ��ҡ����Դʶҹ��Һ���繢ͧ���ͧ ੾�з���������§�Ѻ����������ҧ�׹ ��ҵͺ᷹������Ѻ������Թ��֧�����Թ����ҵ�� 40 (6) ��觻�������ɮҡ�

͹�� ����Ѻ��û�Сͺ�ä��Ż� ���¶֧ ��û�Сͺ�Ҫվ�ͧᾷ����ӺѴ�ѡ������ǡѺ��ҧ��¢ͧ���������ͤ�����ҹ�� �������֧ �ѵ�ᾷ�� �������Ѫ��

�ب�� �Թ��֧�����Թ����ҵ�� 40 (7) ��觻�������ɮҡ� ��˹�������ҧ��

���Ѫ�� �Թ��֧�����Թ��������� 7 ���� �Թ��ҡ����Ѻ���ҷ�����Ѻ���ҵ�ͧ�Ѵ������������ǹ�Ӥѭ�͡�ҡ����ͧ��� �ѹ���Թ��ҡ����Ѻ�ӧҹ����ա������˹�� �� ����Ѻ���ҡ�����ҧ ���ǹ������Ѻ���ҵ�ͧ�Ѵ������������������Ҩ�ҧ����

เงินได้ประเภทที่ 7 คือ เงินได้พึงประเมินในรูปของ ค่ารับเหมาทั้งค่าแรงและค่าของ ที่ทำให้ผู้รับเงินมีหน้าที่ต้องเสีย ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ในวงการภาษีบางครั้งก็เรียกว่า เงินได้ 40(7)

อย่างไรก็ดี ถ้าคุณมีคู่สมรสที่จะแยกยื่นภาษีเองอยู่แล้ว คุณสามารถเลือกให้คู่สมรสนำเงินได้ประเภทนี้ของคุณไปยื่นเป็นรายได้ของเขาแทนก็ได้

การหักค่าใช้จ่าย

เงินได้ประเภทที่ 7 คุณสามารถเลือกหักค่าใช้จ่ายได้ 2 วิธี คือ หักตามจริง (ต้องมีหลักฐานค่าใช้จ่าย) หรือหักเหมา 60% (ไม่ต้องมีหลักฐานค่าใช้จ่าย)

ค่ารับเหมาทั้งค่าแรงและค่าของ x 60% = ค่าใช้จ่ายของค่ารับเหมา หรือเลือกหักตามจริง

อะไรเป็นเงินได้ประเภทที่ 7 ได้บ้าง?

เงินได้ประเภทที่ 7 หมายถึงค่ารับเหมาที่มีการเหมาทั้งค่าแรงและค่าของ โดยที่คุณเป็นผู้จัดหาทั้งแรงงาน เครื่องมือ และสัมภาระเอง เช่น

  • รับเหมาก่อสร้าง
  • รับผลิตสินค้าตามแบบที่ลูกค้าต้องการโดยที่ปกติคุณไม่ได้ทำขายเป็นปกติทั่วไป เช่น ผลิตตามต้นแบบของลูกค้าซึ่งไม่มีอยู่ในแคตาล็อกสินค้าของคุณ

ดังนั้น ถ้ามีการรับเหมาแต่ค่าแรงแล้วให้ลูกค้าเป็นคนซื้อวัสดุเองจะไม่ใช่การรับเหมาทั้งค่าแรงและค่าของตามความหมายนี้ เพราะเป็นเพียงการว่าจ้างธรรมดาในฐานะ เงินได้ประเภทที่ 2 หรือถ้าเป็นการรับจ้างที่มีค่าใช้จ่ายมากก็อาจเป็น เงินได้ประเภทที่ 8 ก็ได้

ไม่ว่าคุณจะเป็นผู้รับเหมาแบบไหน รายได้ที่นับเป็นเงินได้จะเป็น เงินได้ประเภทที่ 8 หรือ เงินได้ประเภทที่ 7 คุณก็ต้องคำนวณภาษีเพื่อยื่นแบบฟอร์มภาษีประจำปีด้วย โดยคุณสามารถคำนวณภาษีได้ฟรีในรูปแบบ App ทั้งบนระบบ iOS และ Android พร้อมค้นหาค้นตัวช่วยลดหย่อนภาษี ที่จะช่วยให้คุณประหยัดภาษีได้มากกว่าเดิมได้ที่ iTAX shop


อ้างอิง

  1. มาตรา 40(7) ประมวลรัษฎากร

  2. ข้อ 2.2 หน้า 2-3 คำชี้แจงกรมสรรพากร เรื่อง แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจากสามีและภริยา (ฉบับที่ 2), www.rd.go.th

  3. มาตรา 45 ประมวลรัษฎากร, มาตรา 7 พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2502, พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 629) พ.ศ. 2560

    “มาตรา 40 เงินได้พึงประเมินนั้น คือเงินได้ประเภทต่อไปนี้ รวมตลอดถึงเงินค่าภาษีอากรที่ผู้จ่ายเงินหรือผู้อื่นออกแทนให้สำหรับเงินได้ประเภทต่าง ๆ ดังกล่าว ไม่ว่าในทอดใด

           (7) เงินได้จากการรับเหมาที่ผู้รับเหมาต้องลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระในส่วนสำคัญนอกจากเครื่องมือ

           (8) เงินได้จากการธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง หรือการอื่นนอกจากที่ระบุไว้ใน (1) ถึง (7) แล้ว”  

    จากบทบัญญัติดังกล่าว อาจแยกพิจารณาเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการให้บริการรับจ้างทำของ ที่จะสามารถเปรียยบเทียบกันได้ เนื่องจากเงินไดพึงประเมินตามมาตรา 40 (8) แห่งประมวลรัษฎากร มีขอบเขตกว้างขวางกว่าเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (7) แห่งประมวลรัษฎากร อยู่มากโข

    1. สำหรับเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (7) แห่งประมวลรัษฎากร

    1.1 เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (7) แห่งประมวลรัษฎากร ได้แก่ เงินได้จากการรับเหมาที่ผู้รับเหมาต้องลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระในส่วนสำคัญนอกจากเครื่องมือ โดยทั่วไปมักเข้าใจว่าเป็นเงินได้จากรับเหมาก่อสร้าง แต่แท้จริงแล้ว ไม่ว่าจะเป็นการรับเหมาใดๆ ที่ต้องจัดหาสัมภาระในส่วนสำคัญนอกจากเครื่องมือแล้ว ทั้งนี้ เฉพาะรายการเงินได้ที่ไม่ถูกกำหนดให้เป็นเงินได้พึงประเมินตามาตรา 40 (8) แห่งประมวลรัษฎากร ก็ย่อมถือเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (7) แห่งประมวลรัษฎากร ได้ทั้งสิ้น เช่น

          เงินได้จากการรับจ้างทาสี ซ่อมสี โดยผู้รับเหมาเป็นผู้จัดหาสัมภาระในส่วนสำคัญนอกจากเครื่องมือ เป็นเงินได้ตามมาตรา 40 (7) แห่งประมวลรัษฎากร…เงินได้จากการรับจ้างทาสี ซ่อมสี โดยผู้ว่าจ้างเป็นผู้จัดหาสีให้ ได้รับแต่ค่าแรง เป็นเงินได้ตามมาตรา 40 (8) แห่งประมวลรัษฎากร (กค 0802/3628 : 26 กุมภาพันธ์ 2536)

          การรับเหมาทำตู้ โต๊ะ หรือเครื่องใช้อลูมิเนียม โดยผู้รับเหมาต้องลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระในส่วนสำคัญ นอกจากเครื่องมือ ไม่ว่าจะมีการตกลงราคาค่าจ้างกันก่อนหรือภายหลังที่งานสำเร็จ เงินได้ดังกล่าว เป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (7) แห่งประมวลรัษฎากร (กค 0802/6575: 30 เมษายน 2539

    อ้างอิง: บัญชี ภาษี การเงินในการก่อสร้าง https://dutyinconstructionthaicon.wordpress.com/…/%E0%B8%A…/

    1.2  สำหรับการรับเหมาก่อสร้างแบ่งเป็น

          (1) การก่อสร้างเพื่อพาณิชยกรรม หมายถึง การก่อสร้างที่มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ดำเนินการเกี่ยวกับการซื้อขาย แลกเปลี่ยนสินค้า การรับจำนำ การประกันภัย การเงินและการธนาคาร เช่น ร้านค้า คลังสินค้า ห้างสรรพสินค้า สำนักงาน ตลาด โชว์รูม ฯลฯ

          (2) การก่อสร้างเพื่ออุตสาหกรรม หมายถึง การก่อสร้างที่มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ดำเนินการเกี่ยวกับการผลิต-ประกอบสินค้า เช่น อู่ต่อและประกอบรถยนต์ อู่ต่อเรือ โรงกลึง และโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ

    1.3 แท้จริงการรับเหมา เป็นส่วนหนึ่งของการรับทำงานให้ ซึ่งอาจเข้าลักษณะเป็นเงินได้ประเภทอื่นได้อีก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับข้อเท็จจริงของที่มาของเงินได้ดังนี้  

          (1) กรณีเงินได้ประเภทที่ 2 เงินได้จากการรับทำงานให้เป็นกรณีที่ผู้มีเงินได้จากการรับทำงานให้นั้นต้องอาศัยแรงงานเป็นปัจจัยสำคัญในอันที่จะก่อให้เกิดเงินได้ และมีค่าใช้จ่ายจำนวนน้อย (ร้อยละ 50 ของเงินได้แต่ไม่เกิน 100,000 บาท)  

          (2) กรณีเงินได้ประเภทที่ 6 เงินได้จากวิชาชีพอิสระ เป็นเงินได้จากการรับทำงานให้ ซึ่งผู้มีเงินได้ต้องอาศัยวิชาชีพอิสระเป็นปัจจัยในอันที่จะก่อให้เกิดเงินได้ อันได้แก่ วิชากฎหมาย การประกอบโรคศิลปะ วิศวกรรม สถาปัตยกรรม การบัญชี และประณีตศิลปกรรม

          (3) กรณีเงินได้ประเภทที่ 7 เงินได้จากการรับเหมาที่ผู้รับเหมาต้องลงทุน ด้วยการจัดหาสัมภาระในส่วนสำคัญนอกจากเครื่องมือ เป็นเงินได้จากการรับทำงานให้โดยการับเหมาที่ผู้รับเหมาต้องจัดหาสัมภาระ หรือวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการรับจ้างทำงานให้นอกจากเครื่องมือมาประกอบการรับทำงานให้นั้นด้วย

          (4) กรณีเงินได้ประเภทที่ 8 เงินได้จากการธุรกิจซึ่งส่วนหนึ่งอาจเป็นเงินได้จากการรับทำงานให้ที่กระทำในรูปธุรกิจที่ผู้มีเงินได้มุ่งหวังผลกำไรและมีค่าใช้จ่ายในการดำเนินกิจการสูง

    2. สำหรับเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (8) แห่งประมวลรัษฎากร  

    2.1 เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (8) แห่งประมวลรัษฎากร อาจจำแนกได้ดังนี้  

          (1) เงินได้จากการธุรกิจ ได้แก่ เงินได้จากการให้บริการ  

          (2) เงินได้จากการพาณิชย์ ได้แก่ เงินได้จากการค้าขายสินค้า โดยเฉพาะการซื้อมาขายไป แต่การประกอบการพาณิชย์ในเชิงกว้างย่อมหมายความรวมถึง การให้เช่าซื้อ การขายเงินผ่อน การแลกเปลี่ยน การโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ด้วย

          (3) เงินได้จากการเกษตร ได้แก่ เงินได้จากการขายผลิตผลจากการกสิกรรม ปศุสัตว์ ประมง และป่าไม้  

          (4) เงินได้จากการอุตสาหกรรม ได้แก่ เงินได้จากการขายผลิตภัณฑ์จากผลิตสินค้า

          (5) เงินได้จากการขนส่ง ได้แก่ เงินได้จากการขนส่งคนโดยสาร และการขนสัมภาระ

          (6) เงินได้จากการอื่นนอกจากที่ระบุไว้ในมาตรา 40 (1) ถึง (7) แล้ว อาทิ เงินรางวัลจากการประกวด การแข่งขัน หรือชิงโชค เงินส่วนแบ่งของกำไรที่ได้จากกองทุนรวมที่จัดตั้งตาม พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ที่ผู้มีเงินได้ซึ่งเป็นผู้อยู่ในประเทศไทย และยอมให้ผู้จ่ายเงินได้นั้นหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 50 (2) ในอัตราร้อยละ 10.0 ของเงินได้ เมื่อถึงกำหนดยื่นรายการให้ได้รับการยกเว้น ไม่ต้องนำเงินส่วนแบ่งของกำไรดังกล่าวมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ ทั้งนี้ เฉพาะกรณีที่ผู้มีเงินได้ดังกล่าวไม่ขอรับเงินภาษีที่ถูกหักไว้นั้นคืน หรือไม่ขอเครดิตเงินภาษีที่ถูกหักไว้นั้นไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน (พระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 262) พ.ศ. 2536)

    ภาษี 40(7) คืออะไร

    เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 7 (มาตรา 40 (7))ได้แก่ เงินได้จาก การรับเหมาที่ผู้รับเหมาต้องลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระในส่วนสําคัญ นอกจากเครื่องมือ เช่น รับเหมาก่อสร้างทั้งของและทั้งแรงงาน หาก รับเหมาเฉพาะแรงงานจะเป็นเงินได้ตาม ม.40(2) เป็นการรับทํางานให้

    เงินได้มาตรา 40 (1)

    เงินได้ตามมาตรา 40 ( ) ได้แก่ เงินได้เนื่องจากการจ้าง แรงงานไม่ว่าจะเป็นเงินเดือน ค่าจ้าง เบี้ยเลี้ยง โบนัส เบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ เงินค่าเช่าบ้าน เงินที่คำนวณได้จากมูลค่าของการได้อยู่บ้าน ที่นายจ้างให้อยู่โดยไม่เสียค่าเช่า เงินที่นายจ้างจ่ายชำระหนี้ใดๆ ซึ่ง ลูกจ้างมีหน้าที่ต้องชำระ และเงิน ทรัพย์สิน หรือ ประโยชน์ใดๆ ...

    เงิน ได้ มาตรา 40 1 8 กับ 40 2 อย่างไร

    เงินได้มาตรา 40(1): ได้รับเงินค่าจ้างตามระยะเวลาที่กำหนดในสัญญาการจ้างงาน เงินได้มาตรา 40(2): ได้รับเงินตามผลงานที่ทำเสร็จ 3. ความอิสระในการทำงาน เงินได้มาตรา 40(1): ลูกจ้างอยู่ในการควบคุมของนายจ้างตลอดระยะเวลาทำงาน

    เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 7 มีอะไรบ้าง

    7. เงินได้ประเภทที่ 7 ได้แก่ เงินได้จากการรับเหมาที่ผู้รับเหมาต้องลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระ ในส่วนสำคัญนอกจากเครื่องมือ 8. เงินได้ประเภทที่ 8 ได้แก่ เงินได้จากการธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง การขายอสังหาริมทรัพย์ หรือการอื่นนอกจากที่ระบุไว้ในประเภทที่ 1 ถึงประเภทที่ 7 แล้ว