อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

                    การเลี้ยงปลาสวยงามในปัจจุบันมีการพัฒนาขึ้นมากมีการนำปลาแปลกๆและปลาที่ไม่ค่อยพบเห็นได้ง่ายนักมาจำหน่ายเป็นปลาสวยงาม ถึงแม้ปลาเหล่านั้นจะไม่สวยงามแต่ก็ได้รับความนิยมเพราะมีการนำไปเลี้ยงเพื่อประดับห้องรับแขกหรือใช้ในการตกแต่งห้องโชว์รูมทำให้มีการเน้นเพิ่มความสวยงามเป็นพิเศษและเพิ่มบรรยากาศของความมีชีวิตชีวาให้มากขึ้น จึงมักนิยมใช้ตู้กระจกสำหรับเลี้ยงปลาและตกแต่งด้วยอุปกรณ์ต่างๆเพื่อให้ดูสวยงามซึ่งปัจจุบันมีการผลิตอุปกรณ์ตกแต่งให้มีรูปทรงต่างๆมากมายผู้เลี้ยงควรจะต้องศึกษาวิธีการใช้และประโยชน์ของอุปกรณ์ต่างๆให้เข้าใจจึงจะช่วยให้การเลี้ยงปลาสวยงามแลดูสวยงามสมดังตั้งใจ และทำให้ปลามีสุขภาพดีและมีการเจริญเติบโตได้ดีด้วย

                   การเลี้ยงปลาสวยงามในปัจจุบันมีการพัฒนาขึ้นมาก   มีการนำปลาแปลกๆและปลาที่ไม่ค่อยพบเห็นได้ง่ายนักมาจำหน่ายเป็นปลาสวยงาม ถึงแม้ปลาเหล่านั้นจะไม่สวยงามแต่ก็ได้รับความนิยม   เพราะมีการนำไปเลี้ยงเพื่อประดับห้องรับแขก   หรือใช้ในการตกแต่งห้องโชว์รูม   ทำให้มีการเน้นเพิ่มความสวยงามเป็นพิเศษ   และเพิ่มบรรยากาศของความมีชีวิตชีวาให้มากขึ้น   จึงมักนิยมใช้ตู้กระจกสำหรับเลี้ยงปลา   และตกแต่งด้วยอุปกรณ์ต่างๆเพื่อให้ดูสวยงาม   ซึ่งปัจจุบันมีการผลิตอุปกรณ์ตกแต่งให้มีรูปทรงต่างๆมากมาย  ผู้เลี้ยงควรจะต้องศึกษาวิธีการใช้และประโยชน์ของอุปกรณ์ต่างๆให้เข้าใจ   จึงจะช่วยให้การเลี้ยงปลาสวยงามแลดูสวยงามสมดังตั้งใจ   และทำให้ปลามีสุขภาพดีและมีการเจริญเติบโตได้ดีด้วย

                 อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงปลาสวยงามมีดังต่อไปนี้   

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

1 ภาชนะสำหรับเลี้ยงปลา

                 ภาชนะหรือสิ่งที่จะใช้ในการเลี้ยงปลาสวยงาม   จะเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญที่ผู้เลี้ยงปลาจะต้องพิจารณาให้รอบคอบ   เพราะจะต้องเน้นให้สามารถชมปลาที่เลี้ยงได้ง่าย   แลดูสวยงาม   กลมกลืนเข้ากับสภาพพื้นที่   และยังต้องมีความเหมาะสมต่อการดำรงชีพของปลาสวยงามที่จะเลี้ยงด้วย   ประเภทของภาชนะที่นิยมกันในปัจจุบันมีดังนี้

             1.1 ขวดหรือโหลรูปทรงต่างๆ   ภาชนะเลี้ยงปลาสวยงามประเภทนี้ได้แก่  โหลแก้ว   และขวดต่างๆ   ซึ่งในสมัยก่อนมักเป็นขวดเหลี่ยมที่นิยมใช้เลี้ยงปลากัด   เพราะมีความจำเป็นต้องเลี้ยงขวดละตัว   มิฉะนั้นปลาจะกัดกัน   แต่ในปัจจุบันจะมีขวดทรงกลมรูปทรงต่างๆสวยงาม   มีขนาดความจุประมาณ 3 - 6 ลิตร    นิยมใช้เลี้ยงปลาสวยงามตั้งโชว์ตามโต๊ะทำงาน   หลังตู้เย็น   ตู้โชว์   ห้องรับแขก   และตามร้านในห้างสรรพสินค้า   ภาชนะเลี้ยงปลาสวยงามพวกนี้จัดว่ามีความจุน้อยเกินไป   ส่วนปากค่อนข้างแคบลง   และมักไม่มีการต่อสายเพิ่มอากาศให้แก่ปลา  เนื่องจากจะดูเกะกะทำให้ไม่สวยงาม   การเลี้ยงปลาสวยงามในภาชนะชนิดนี้จึงเท่ากับเป็นการทรมานปลา   เพราะการละลายของออกซิเจนในน้ำจะมีน้อยมาก   การนำปลาที่ต้องการออกซิเจนสูงมาเลี้ยง   เช่น  ปลาทอง   ปลาเทวดา   จะพบว่าภายใน 1 - 2 วัน ปลาจะลดการกินอาหารและจะลอยตัวอยู่ที่ผิวน้ำตลอดเวลา   เนื่องจากปริมาณออกซิเจนไม่เพียงพอ   ปลาที่พอจะเลี้ยงได้  ได้แก่   ปลาหางนกยูง   และปลากัด   ซึ่งเป็นปลาที่มีอวัยวะช่วยหายใจ   แต่ก็ควรจะต้องเปลี่ยนถ่ายน้ำทุกวัน   เพื่อขจัดเศษอาหารไม่ให้บูดเน่าได้

              

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
          
อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
            
อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
           
อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
    

              1.2 ตู้กระจกหรือตู้เลี้ยงปลา   เป็นภาชนะเลี้ยงปลาที่มักจะประกอบด้วยกระจกทั้ง 4 ด้าน   ในสมัยก่อนมักจะมีโครงเหล็กประกอบอยู่ภายนอก   เพื่อเป็นตัวรับแรงดันของน้ำ   เพราะวัสดุที่ใช้ในการยาขอบตู้ยังมีแรงยึดเหนี่ยวกระจกไม่ดีพอ   แต่ในปัจจุบันมีกาวซิลิโคนสำหรับยาขอบตู้ปลา   ซึ่งเป็นวัสดุที่มีแรงยึดเหนี่ยวกระจกได้ดี   และมีความเหนียวพอที่จะรับแรงดันของน้ำได้มาก   ทำให้ลดการใช้ขอบเหล็กไปเพราะดูไม่สวยงาม   แต่ก็ยังมีการใช้ขอบอะลูมิเนียมกันบ้างเพื่อเพิ่มความแข็งแรง   สะดวกในการเคลื่อนย้ายและเป็นขาตั้งตู้ให้สูงขึ้น   ปัจจุบันตู้ปลาที่ประกอบขึ้นมีหลายขนาดและหาซื้อได้ง่ายตามท้องตลาดทั่วไป   อีกทั้งยังสามารถสั่งให้ประกอบตู้ปลาตามขนาดที่ต้องการได้   หรือหากต้องการดำเนินการประกอบตู้ปลาเองก็สามารถกระทำได้เช่นกัน  ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเลือกหรือประกอบตู้ปลาคือ

                                       

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

                   1.2.1 ขนาดของตู้ปลา   ตู้ปลาที่มีจำหน่ายในท้องตลาดมีหลายขนาด   ผู้เลี้ยงควรเลือกให้เหมาะสมกับขนาดของพื้นที่   ชนิดและขนาดปลา   รวมทั้งจำนวนปลาสวยงามที่ต้องการเลี้ยง   ควรเลือกตู้ปลาให้มีขนาดค่อนข้างใหญ่มากที่สุดเท่าที่จะทำได้   เพราะปลาจะมีพื้นที่ในการว่ายน้ำได้มากเหมือนอยู่ในธรรมชาติ   คุณภาพน้ำจะค่อนข้างดี   ทำให้ปลามีสุขภาพสมบูรณ์   แข็งแรง   และเจริญเติบโตเร็ว   การบอกขนาดของตู้ปลาในการซื้อขายมักจะนิยมบอกเป็น �นิ้ว   โดยมักจะบ่งเฉพาะความยาว   เช่น  ตู้ขนาด  18  นิ้ว   หมายถึงตู้ปลาที่มีด้านยาวเท่ากับ  18  นิ้ว   แต่ถ้าต้องการคำนวณหาความจุหรือปริมาณน้ำในตู้ปลา   จะต้องวัดความกว้าง   ความยาว   และความสูงของตู้ปลาเป็นเซนติเมตร   เช่นตู้ขนาด  18  นิ้ว   จะมีความกว้าง  23  เซนติเมตร  ความยาว  45  เซนติเมตร  และความสูง  32  เซนติเมตร   จะมีความจุ  33  ลิตร   โดยคำนวณได้ดังนี้   

                 จากสูตร      การหาปริมาตร   =   กว้าง  X  ยาว X  สูง

                                   ความจุของตู้      =   23  X  45  X  32

                                                            =  33,120        ลูกบาศก์เซนติเมตร  หรือ  ซีซี

               จาก  ปริมาตร   1 ลิตร             = 1,000             ลูกบาศก์เซนติเมตร  หรือ  ซีซี

                             ความจุของตู้            =   33,120 / 1,000        

                                                          =  33.1           ลิตร  

ตารางที่ 1  ขนาดและความจุของตู้ปลาที่มีจำหน่ายกันมากในท้องตลาด

ขนาด

                  ขนาด

 ความจุ

 วัสดุกรอง

   หลอดไฟ

 (นิ้ว)

    กว้าง X ยาว X สูง ( ซม.)

  (ลิตร)

(กิโลกรัม)

      (วัตต์)

  10

      12  X  25  X  15

4.5

3

-

  14

      18  X  35  X  20

12.6

3

-

  16

      20  X  40  X  32

25.6

5

10

  18

      23  X  45  X  32

33.1

7

10

  20

      25  X  50  X  32

40.0

10

10

  36

      40  X  90  X  45

162.0

30

20

  60

      45  X  152  X  45

307.8

60

40

                1.2.2 เทคนิคการประกอบตู้ปลา   ถึงแม้จะสามารถหาซื้อหรือสั่งประกอบตู้ปลาได้ง่าย   แต่ถ้าหากจำเป็นต้องใช้จำนวนมาก  หรืออยากมีความสามารถในการประกอบตู้ปลาเอง   ก็สามารถดำเนินการได้ไม่ยากเช่นกัน   โดยดำเนินการตามขั้นตอนดังนี้

                 ขั้นที่ 1การวัดขนาดของพื้นที่หรือขนาดกระจกที่จะประกอบตัวตู้   ควรกำหนดเป็นนิ้ว   เนื่องจากความหนาของกระจกกำหนดเป็น หุน ( 1  นิ้ว  มีค่าเท่ากับ  8  หุน )   ต้องการใช้กระจกหนากี่หุน   จะทำให้สามารถหักลบการเหลื่อมเนื่องจากความหนาของกระจกได้ง่าย   เช่น   ตู้ขนาด  60  นิ้ว   ใช้กระจกหนา  2  หุน   จะใช้แผ่นกระจกดังนี้

  • แผ่นพื้นตู้  ขนาดกว้าง  16  นิ้ว   ยาว  60  นิ้ว   จำนวน  1  แผ่น

  • แผ่นด้านยาว  ขนาดกว้าง  20  นิ้ว(ความสูงของตู้)  ยาว  60  นิ้ว  จำนวน  2  แผ่น

  • แผ่นด้านกว้าง  ขนาดกว้าง 20 นิ้ว (ความสูงของตู้) ยาว 15 นิ้ว 4 หุน จำนวน 2 แผ่น                    

 

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

ภาพที่ 1  แสดงการหักความหนาของกระจกออกจากแผ่นด้านกว้าง     

                 ขั้นที่ 2   ก่อนทำการประกอบตู้ควรใช้ผ้าหนาๆหรือผ้าห่มปูพื้น   เพื่อป้องกันกระจกแตก

                 ขั้นที่ 3   ใช้กระดาษกาวติดที่แผ่นกระจกโดยติดให้ห่างจากขอบกระจกประมาณ  1.0 - 1.2 เซนติเมตร    เพื่อป้องกันไม่ให้กาวซิลิโคนเปรอะเปื้อน   และช่วยให้แต่งขอบกาวซิลิโคนให้มองดูตรงสวยงาม   แผ่นพื้นตู้จะติดทั้ง  4  ด้าน   แผ่นด้านยาวและด้านกว้างจะติดเพียง  3  ด้าน

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

ภาพที่ 2 แสดงลักษณะการติดกระดาษกาวที่แผ่นพื้นตู้(ซ้าย)  กับแผ่นด้านยาวและกว้าง(ขวา)

                 ขั้นที่ 4   วางแผ่นพื้นตู้เพื่อรองรับแผ่นด้านกว้างและด้านยาว

                 ขั้นที่ 5   ใช้แผ่นด้านกว้างและด้านยาวอย่างละ 1 แผ่น ทากาวซิลิโคนที่สันของทั้ง 2 แผ่น   เฉพาะด้านที่จะวางลงบนแผ่นพื้นตู้   และทาที่สันของแผ่นด้านกว้างตรงด้านที่จะประกบกับแผ่นด้านยาว

                 ขั้นที่ 6   วางแผ่นด้านกว้างและด้านยาวที่ทากาวซิลิโคนแล้ว   ลงบนแผ่นพื้นตู้   แล้วใช้เทปใสหรือกระดาษกาวติดยึดแผ่นทั้งสองที่มุมด้านบน   ก็จะช่วยยึดแผ่นกระจกทั้ง 2 ให้ตั้งคงรูปอยู่บนแผ่นพื้นตู้ได้

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

               ภาพที่ 3  การติดเทปใสหรือกระดาษกาวช่วยยึดแผ่นกระจกในขณะที่กาวซิลิโคนยังไม่แห้ง

                 ขั้นที่ 7  ใช้แผ่นด้านกว้างอีก 1 แผ่น   ทากาวซิลิโคนที่สันด้านที่จะวางลงบนแผ่นก้นตู้และด้านที่จะประกบกับแผ่นด้านยาวที่ประกอบไว้แล้ว   วางแผ่นด้านกว้างนี้ลงบนแผ่นพื้นตู้   และใช้เทปใสติดยึดกับด้านยาวเช่นเดิม

                 ขั้นที่ 8  ใช้แผ่นด้านยาวแผ่นสุดท้าย   ทากาวซิลิโคนที่สันด้านที่จะวางลงบนแผ่นก้นตู้   และทากาวซิลิโคนที่สันของแผ่นด้านกว้างทั้ง 2 แผ่น   ตรงด้านที่แผ่นยาวจะประกบเข้าไป   แล้ววางแผ่นด้านยาวประกบเข้าไป   และใช้เทปใสช่วยยึดเช่นเดียวกัน   ก็จะได้รูปทรงของตู้ปลาที่ต้องการ

                 ขั้นที่ 9 ทากาวซิลิโคนตรงรอยต่อระหว่างขอบกระจกแต่ละแผ่นทุกแห่งอีกครั้ง   เพื่อช่วยเพิ่มแรงยึดและประสานรอยต่อให้สนิท

                 ขั้นที่ 10  ปล่อยทิ้งไว้  24 - 48  ชั่วโมงกาวซิลิโคนจะแห้ง   จึงลอกกระดาษกาวภายในและแต่งขอบกาวซิลิโคนให้ดูเรียบร้อยสวยงาม   แล้วลอกเทปใสที่ติดเพื่อช่วยยึดแผ่นกระจกออก

                 ขั้นที่ 11ตกแต่งขอบหรือคิ้วด้านบนและด้านล่างเพื่อความสวยงาม   โดยใช้แผ่น พลาสติกกว้าง 2 - 3เซนติเมตร แล้วแต่ขนาดตู้   ใช้กาวซิลิโคนทายึดแผ่นพลาสติกติดกับกระจก   ตรงที่ต้องหักมุมใช้ไฟลนก็จะงอพับหักมุมได้ตามต้องการ   คิ้วด้านบนควรให้สูงกว่าขอบตู้เล็กน้อย   เพื่อใช้เป็นขอบสำหรับกันฝาปิดตู้ปลาได้ด้วย

                 ขั้นที่ 12   ตู้ขนาดใหญ่ที่มีขนาดตั้งแต่  24  นิ้วขึ้นไป   ควรติดโครงช่วยยึดตู้ด้านบนด้วย   โดยใช้แผ่นกระจกกว้างประมาณ  2  นิ้ว   ยึดติดขอบด้านบนทั้ง  4  ด้าน   และเสริมยึดด้านยาว  1 - 2  ช่วง   แล้วแต่ความยาวของตู้

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

ภาพที่ 4  การติดกระจกเป็นโครงช่วยยึดด้านบนของตู้

                 1.3บ่อซีเมนต์   เป็นบ่อเลี้ยงปลาที่มักสร้างอยู่ภายนอกอาคาร   ส่วนใหญ่ใช้สำหรับเลี้ยงปลาคาร์พ   มักเป็นบ่อขนาดใหญ่และมักขุดลึกลงไป   ปากบ่อจะเสมอกับพื้นดิน   หรืออาจสร้างร่วมไปกับการตกแต่งสวนหย่อม   บ่อลักษณะนี้จะต้องมีระบบบ่อกรองน้ำที่ดี   โดยมักสร้างแยกหลบออกไปต่างหาก   เช่น บ่อเลี้ยงอยู่ที่สวนหย่อมหน้าบ้าน   แต่บ่อกรองจะแยกไปอยู่ข้างบ้านหรือหลังบ้าน   มีผู้เลี้ยงปลาหลายรายที่ต้องการเลี้ยงปลาคาร์พ   โดยสร้างบ่อซีเมนต์ในบริเวณสวนหย่อมโดยไม่มีระบบบ่อกรองน้ำ   เมื่อนำปลาคาร์พมาเลี้ยงจะประสบปัญหาเรื่องน้ำขุ่น   มีเศษอาหารและมูลของปลาชัดเจน   ดูไม่สวยงาม   ลักษณะนี้จะดำเนินการแก้ไขค่อนข้างยาก   หลายรายจำเป็นต้องเปลี่ยนไปเป็นบ่อเลี้ยงบัว(ปลูกบัว)  ดังนั้นการสร้างบ่อเลี้ยงปลาคาร์พหรือบ่อซีเมนต์จะต้องมีการศึกษาและวางแผนการสร้างให้ถูกต้อง   สำหรับระบบบ่อกรองน้ำจะกล่าวโดยละเอียดในหัวข้อ 4.3

                                              

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
                     
อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

ภาพที่ 5  ลักษณะบ่อซีเมนต์สำหรับเลี้ยงปลาคาร์พ

2 เครื่องปั๊มอากาศ       

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

                 เครื่องปั๊มอากาศ หรือ แอร์ปั๊ม (Air  Pump)   เป็นอุปกรณ์ที่มีความจำเป็นต่อการเลี้ยงปลาสวยงามอย่างยิ่ง   หากไม่ใช้แอร์ปั๊มก็แทบจะทำให้ไม่สามารถดำเนินการเลี้ยงปลาสวยงามได้   หลักการทำงานของเครื่องแอร์ปั๊ม  ก็คือ   เครื่องจะปั๊มหรือดูดเอาอากาศตรงบริเวณที่เครื่องตั้งอยู่   แล้วส่งผ่านออกไปตามท่อหรือสายลมซึ่งต่อไปจุ่มลงน้ำในตู้ปลา   และลมจะถูกทำให้กระจายตัวออกเป็นฟองอากาศลงไปในน้ำ   เพราะผ่านรูพรุนของหัวฟูหรือหัวทรายที่ปลายสายลม   ออกซิเจนที่มีอยู่ในอากาศก็จะละลายลงในน้ำในขณะที่ฟองอากาศลอยขึ้นผิวน้ำ   ดังนั้นการละลายของออกซิเจนจะเกิดขึ้นได้มากหรือน้อย   ก็จะขึ้นกับชนิดของหัวทรายที่จะช่วยทำให้ลมมีการแตกตัวเป็นฟองฝอยได้มากเพียงใด   กับ  ระดับความลึกของสายลมที่แหย่ลงไปในน้ำ   ถ้าน้ำมีความลึกมากก็จะยิ่งมีการละลายของออกซิเจนได้มาก   แต่ทั้งนี้ต้องขึ้นกับกำลังของเครื่องแอร์ปั๊มที่จะสามารถปั๊มลมลงไปได้ด้วย   แอร์ปั๊มจึงทำหน้าที่เพิ่มปริมาณออกซิเจนละลายน้ำในตู้ปลา   ทำให้ปลาสดชื่นไม่อึดอัด   ปลาจะมีสุขภาพดีและเจริญเติบโตได้เป็นปกติ

 

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
         
อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
        
อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

ภาพที่ 6  ลักษณะแอร์ปั๊มแบบต่างๆ

                 นอกจากนั้นในปัจจุบันได้มีการปรับปรุงการใช้ระบบแอร์ปั๊ม   ควบคู่ไปกับชุดกรองน้ำหรือระบบกรองน้ำ   ซึ่งจะทำให้เกิดประโยชน์ทั้งเป็นการเพิ่มปริมาณออกซิเจนและกรองน้ำไปพร้อมๆกัน

                 2.1 ลักษณะของแอร์ปั๊มที่ด

                    2.1.1มีกำลังมาก   สามารถปั๊มอากาศส่งไปได้ไกลหรือลงน้ำได้ลึก   และกำลังลมสม่ำเสมอ

                   2.1.2เครื่องไม่ร้อนจัดจนเกินไปเมื่อเปิดทำงานติดต่อกันเป็นเวลานานๆ   เพราะปกติจะต้องเปิดเครื่องตลอดเวลาตลอดระยะการเลี้ยง

                    2.1.3ต้องมีความทนทาน   ควรมีอายุการใช้งานมากกว่า  1  ปี

                    2.1.4 เสียงไม่ดัง   เนื่องจากต้องติดตั้งอยู่ภายในอาคาร

                    2.1.5ไม่มีไอน้ำมันเครื่องถูกขับออกมาปะปนกับลมที่ส่งลงไปในน้ำ

                    2.1.6 ควรเป็นเครื่องที่ประหยัดไฟฟ้า

                 2.2 หลักการติดตั้งแอร์ปั๊ม

                    2.2.1ติดตั้งอยู่ใกล้กับตู้ปลา   จะช่วยให้ไม่เสียกำลังลมไปกับระยะทาง   ยิ่งตั้งเครื่องห่างไปมากเท่าใดกำลังลมจะยิ่งลดลง

                    2.2.2ควรติดตั้งตัวเครื่องสูงกว่าระดับน้ำในตู้ปลา   เพราะถ้าตั้งเครื่องต่ำกว่าระดับน้ำเมื่อเกิดไฟฟ้าขัดข้อง   เครื่องจะหยุดทำงานทันที   น้ำจะทะลักกลับเข้าสายลมแล้วอาจมีแรงดูดไหลย้อนกลับเข้าไปในเครื่อง   เมื่อไฟฟ้าเป็นปกติเครื่องอาจช๊อตได้

                    2.2.3ควรติดตั้งในบริเวณที่มีฝุ่นน้อย   เพราะฝุ่นละอองจะอุดตันแผ่นกรอง   ทำให้เครื่องทำงานหนักและอายุการใช้งานลดลง

                2.3 อุปกรณ์ประกอบเครื่องแอร์ปั๊ม

                 ตัวเครื่องแอร์ปั๊มจะทำหน้าที่ในการดูดและขับลมออกเท่านั้น   จำเป็นต้องมีอุปกรณ์ประกอบอื่นเพื่อช่วยให้สามารถกระจายลมออกได้หลายทาง   และมีกำลังลมสม่ำเสมอกันทุกทางที่ถูกแยกออกไป   จึงจำเป็นต้องมีอุปกรณ์สำหรับใช้ร่วมด้วยดังนี้

                    2.3.1 สายยางหรือสายลม   สายลมที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปเป็นสายพลาสติกใส ขนาด  1  หุน   ใช้ต่อจากตัวเครื่องไปลงน้ำในตู้ปลา   สายลมที่มีจำหน่ายจะมี 2 ชนิด  คือ สายหนาและสายบาง   ควรเลือกสายชนิดอย่างหนาเพื่อป้องกันสายหักพับได้ง่าย

                    2.3.2 ข้อต่อ   ใช้สำหรับต่อเชื่อมสายลม  หรือเพิ่มทิศทางของสายลมให้มีสาขามากขึ้น   จึงมีข้อต่อตั้งแต่  2  ทาง   3  ทาง   และ  4  ทาง   ส่วนใหญ่ทำด้วยพลาสติก   ส่วนน้อยทำด้วยสเตนเลสส์เนื่องจากมีราคาแพง

                    2.3.3ลูกบิดหรือวาวปรับลม   ใช้สำหรับช่วยปรับความแรงของลมให้มีความสม่ำเสมอทุกทิศทาง   หรือแรงในทิศทางที่ต้องการ   เพราะจากการใช้ข้อต่อเพิ่มทิศทางลม   เส้นทางที่อยู่ใกล้ตัวเครื่องจะมีลมออกแรง   ในขณะที่เส้นทางที่อยู่ไกลออกไปแรงลมจะลดน้อยลงไปเรื่อยๆ   จำเป็นต้องใช้ลูกบิดปรับลมบังคับลมให้ออกในเส้นทางที่อยู่ใกล้น้อยลง   ก็จะทำให้มีกำลังลมไปยังเส้นทางที่อยู่ไกลได้   แต่ถ้าเป็นข้อต่อแบบสเตนเลสส์มักจะมีวาวปรับลมในตัว   

                    2.3.4หัวฟูหรือหัวทราย   ใช้สำหรับกระจายลมให้ลมกระจายตัวออกในน้ำเป็นฟองฝอย   จะต่อไว้ปลายสุดของสายลมที่ลงไปในน้ำ   มีหลายชนิดและหลายขนาด   คือทั้งรูปทรงกลม   สี่เหลี่ยม   หรือแท่งยาว   หรือเป็นรูปสัตว์และสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ   เป็นส่วนที่ค่อนข้างจะมีความสำคัญ   เพราะการละลายของออกซิเจนจะเกิดได้มากถ้าหัวทรายสามารถกระจายลมให้แตกเป็นฟองฝอยได้มากที่สุด

            

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
     
อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
    
อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
    
อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
       
อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

ภาพที่ 7  ลักษณะอุปกรณ์ประกอบเครื่องแอร์ปั๊ม

3 เครื่องกรองน้ำ         

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

                การกรองน้ำในตู้ปลามีความสำคัญมาก เพราะการเลี้ยงปลาสวยงามผู้เลี้ยงต้องการให้มีความสวยงามมากที่สุด น้ำควรจะต้องใส ไม่มีเศษอาหาร ตะกอน หรือสิ่งขับถ่ายของปลามาลอยรบกวนสายตา อีกทั้งยังช่วยกำจัดสิ่งไม่ต้องการดังกล่าวออกจากตู้ปลาได้ด้วย ทำให้น้ำมีคุณภาพดี ส่งผลให้ปลามีสุขภาพดีด้วย การกรองน้ำจึงมีความจำเป็นในระบบการเลี้ยงปลาสวยงาม เครื่องกรองน้ำหรืออุปกรณ์ที่ใช้ในการกรองน้ำมีหลายชนิด จัดแบ่งตามกลุ่มการใช้งานหรือระบบการใช้งานได้ดังนี้

                 3.1 ระบบการกรองน้ำใต้ทราย  หรือ  Sub  Sand  Filter เป็นระบบการกรองน้ำที่นิยมใช้กับการเลี้ยงปลาสวยงามในตู้กระจกในปัจจุบันมากที่สุด   เป็นระบบกรองน้ำที่อาศัยแรงลมที่มาจากเครื่องแอร์ปั๊มเป็นตัวช่วยดันน้ำให้เกิดการหมุนเวียน   ระบบนี้มีส่วนประกอบต่างๆ  คือ

                    3.1.1 แผ่นกรอง   เป็นแผ่นพลาสติกสูงโปร่ง   ซึ่งมีความสูงประมาณ  2  เซนติเมตร   ด้านบนเป็นรูพรุนหรือช่องตาข่ายเล็กๆเพื่อให้น้ำผ่านได้สะดวก   และมักมีขนาดกว้าง  29  เซนติเมตร   ยาว  29  เซนติเมตร

                    3.1.2 ท่อส่งน้ำหรือท่อพ่นน้ำ   ใช้ประกอบติดตั้งที่มุมบนของแผ่นกรอง   ปลายด้านบนมีหัวครอบที่สามารถปรับทิศทางของน้ำที่พ่นออกมา   ให้ไปในแนวที่ต้องการได้

                    3.1.3 สายลม   สำหรับต่อจากเครื่องแอร์ปั๊ม   และต่อเข้ากับฐานท่อส่งน้ำ

                    3.1.4 กรวด   ทราย   หรือเศษปะการัง   สำหรับปูบนแผ่นกรอง   โดยมักปูให้มีความหนาประมาณ  2  นิ้ว

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

ภาพที่ 8  ลักษณะการติดตั้งท่อส่งน้ำบนแผ่นกรอง

                 การทำงานของระบบกรองน้ำใต้ทราย   เมื่อติดตั้งอุปกรณ์เรียบร้อยแล้ว   แอร์ปั๊มจะส่งอากาศเข้าไปในท่อส่งน้ำ   แล้วเป็นฟองขึ้นไปตามท่อส่งน้ำดันเอาน้ำเคลื่อนที่พุ่งออกไปทางหัวครอบด้านบน   พุ่งไปตามทิศทางที่ปรับไว้   น้ำที่อยู่ในพื้นที่ว่างใต้แผ่นกรองจะไหลขึ้นไปแทนที่   โดยดึงน้ำเหนือแผ่นกรองไหลผ่านวัสดุกรองลงมา   ทำให้เกิดการหมุนเวียนของน้ำจากบริเวณที่ปลาอาศัยอยู่   ไหลผ่านกรวดหรือเศษปะการังลงไป   ในช่วงนี้จะทำให้ตะกอน   เศษอาหาร   และสิ่งขับถ่ายซึ่งปกติจะมีน้ำหนักตกลงก้นตู้ตามแรงดึงดูดของโลกอยู่แล้ว   ถูกดูดลงไปติดอยู่ตามซอกกรวดและปะการัง   ส่วนน้ำใสที่ถูกกรองแล้วจะผ่านแผ่นกรองไปออกทางท่อส่งน้ำ   ดังนั้นน้ำในตู้ปลาจะค่อนข้างใสอยู่ตลอดเวลา   ในกรณีที่เลี้ยงปลาขนาดใหญ่หรือปลาที่ชอบขุดคุ้ย   ปลามักจะขุดคุ้ยให้กรวดหรือเศษปะการังกระจาย   มีผลทำให้ตะกอนต่างๆฟุ้งกระจายออกมา   การแก้ไขคือ  ควรปูทับด้วยเศษปะการังชิ้นใหญ่   หนาขึ้นมา  1  นิ้ว   ก็จะป้องกันการขุดคุ้ยได้                            

                ข้อดีของระบบกรองน้ำใต้ทรายคือ   น้ำจะค่อนข้างใสตลอดเวลา   และเป็นการเพิ่มออกซิเจนในน้ำไปพร้อมๆกันด้วย

                 ข้อเสียของระบบนี้คือ   ตะกอน   เศษอาหาร   และสิ่งขับถ่ายทั้งหมดจะถูกดูดลงไปหมักหมมรวมกันในวัสดุกรอง   ในขณะที่น้ำดูใส   ทำให้ผู้เลี้ยงปลามักไม่ค่อยมีการกำจัดสิ่งหมักหมมออกจากวัสดุกรอง   ประกอบกับการจะกำจัดสิ่งหมักหมมที่วัสดุกรองทำได้ค่อนข้างยากด้วย ผู้เลี้ยงปลาสวยงามที่ใช้ระบบกรองน้ำแบบนี้ส่วนใหญ่จึงแทบไม่มีการกำจัดตะกอนออกเลย   มักใช้เวลาเลี้ยงปลามากกว่า  6 เดือน ถึง  1  ปี  จึงจะมีการกำจัดตะกอนโดยล้างวัสดุกรองครั้งหนึ่ง   จึงมักมีผลต่อสุขภาพของปลาโดยเฉพาะการเจริญเติบโตของปลา   จะพบว่าปลามีการเติบโตค่อนข้างน้อยมาก   สีสันไม่สดใส   และอาจติดเชื้อโรคได้ง่าย  การแก้ไขคือควรมีการกวนล้างวัสดุกรองอย่างน้อยเดือนละ  1  ครั้ง

                 3.2 ระบบกรองน้ำแบบหม้อกรองในตู้ หรือ Box  Filterเป็นระบบกรองน้ำที่สามารถ ติดตั้งได้สะดวก   ง่าย   และรวดเร็วที่สุด   นิยมใช้กันมากกับการเลี้ยงปลาสวยงามในตู้ขนาดเล็ก

                 อุปกรณ์ที่ใช้จะเป็นกล่องสำเร็จรูปขนาดเล็กรูปทรงต่างๆ   มักมีขนาด กว้าง X ยาว X สูง  ประมาณ  10 X 10 X 10  ลูกบาศก์เซนติเมตร   ที่พื้นภายในกล่องจะมีแผ่นกรองลักษณะเดียวกับแผ่นกรองในระบบกรองน้ำใต้ทราย   จากแผ่นกรองจะมีท่อเล็กๆต่อขึ้นมา 2 ท่อพ้นฝาปิดกล่องขึ้นมา   ท่อที่มีปลายขนาดเล็กเป็นท่อสำหรับต่อสายลมจากเครื่องแอร์ปั๊ม   บนแผ่นกรองจะมีแผ่นใยสังเคราะห์สำหรับเป็นวัสดุกรองตะกอน   โดยมักมีกรวดหรือเศษปะการังใส่ไว้บ้างเพื่อให้กล่องกรองมีน้ำหนัก   ด้านบนสุดของกล่องจะมีฝาปิดที่เป็นร่องเล็กๆพอให้ตะกอน   เศษอาหาร  และสิ่งขับถ่ายของปลาผ่านเข้าไปได้   แต่จะกันปลาไม่ให้เข้าไปในกล่องกรอง   เมื่อเปิดแอร์ปั๊มลมจากเครื่องจะผ่านไปออกที่อีกท่อหนึ่งซึ่งอยู่ติดกัน   และดันให้น้ำพุ่งขึ้นไปตามท่อเช่นเดียวกัน   น้ำในตู้ปลาจะถูกดูดเข้าไปในกล่องกรองหมุนเวียนไปมาตลอดเวลา

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
    
อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

ภาพที่ 9  ลักษณะการทำงานของระบบกรองน้ำแบบหม้อกรอง

                 ข้อดีของระบบกรองน้ำแบบหม้อกรองในตู้คือ   ราคาถูก   ติดตั้งง่าย   ล้างหรือกำจัดตะกอนออกจากวัสดุกรองได้ง่าย   สามารถทำได้ทุกวัน   และเป็นการเพิ่มออกซิเจนในน้ำไปกับระบบกรองด้วย

                 ข้อเสียของระบบนี้คือ   ตัวกล่องทำให้มองดูเกะกะ   ลดความสวยงามทางธรรมชาติภายในตู้ปลา   การกรองมักกรองได้แต่ตะกอนที่ค่อนข้างเบา   เศษอาหารและสิ่งขับถ่ายของปลามักจะตกลงตามพื้นตู้   มองดูไม่สวยงามหรือหมักหมมตามวัสดุที่ใช้รองพื้นตู้

                3.3 ระบบกรองน้ำนอกตู้ปลา   หรือ  External  Filter  เป็นระบบที่ตัวเครื่องกรองและ   วัสดุกรองทั้งหมดจะอยู่ภายนอกตู้ปลา   และมีเครื่องมอเตอร์ปั๊มน้ำไฟฟ้าสำหรับสูบน้ำผ่านเข้าสู่ระบบ   เป็นระบบกรองน้ำที่นิยมใช้กับตู้ปลาขนาดใหญ่   หรือกับการเลี้ยงปลาแบบหนาแน่น   ในสมัยก่อนมักจะเป็นกล่องขนาดเล็กใช้แขวนอยู่ข้างตู้   โดยมีมอเตอร์เล็กๆช่วยสูบน้ำให้หมุนเวียนผ่านกล่องกรอง   แต่ในปัจจุบันจะเป็นกล่องค่อนข้างใหญ่สำหรับวางอยู่บนตู้   แต่ก็ถูกซ่อนอยู่ภายในฝาปิดตู้ปลาได้   

                 อุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบ  ได้แก่   กล่องรองรับ   เป็นกล่องสำหรับวางอุปกรณ์อื่นๆทั้งหมด   มอเตอร์สูบน้ำพร้อมท่อน้ำเข้าและท่อส่งน้ำออก   กล่องใส่วัสดุกรอง   เมื่อเปิดมอเตอร์สูบน้ำ   เครื่องจะสูบน้ำจากตู้ปลาโดยปลายท่อจะอยู่เกือบก้นตู้ปลาแล้วปล่อยน้ำออกสัมผัสอากาศก่อนตกลงในกล่องกรอง   ซึ่งน้ำจะรับเอาออกซิเจนไว้   แล้วไหลผ่านแผ่นใยสังเคราะห์ในกล่องกรองผ่านก้นกล่องกรอง   แล้วจึงไหลกลับลงตู้ปลา   น้ำที่ไหลกลับลงตู้ปลาจะเป็นน้ำใสและมีออกซิเจนด้วย

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
     

ภาพที่ 11  ลักษณะการทำงานของระบบกรองน้ำนอกตู้ปลา

                 ข้อดี ของระบบกรองน้ำนอกตู้ปลาคือ   กรองน้ำได้ดี   น้ำใส   ตะกอนและสิ่งหมักหมมต่างๆจะถูกดึงออกมาสะสมอยู่นอกตู้ปลา   สามารถล้างวัสดุกรองได้ง่ายและทำได้ทุกวัน   ในระหว่างล้างวัสดุกรองไม่จำเป็นต้องหยุดเครื่อง   สามารถเพิ่มออกซิเจนจากระบบกรองได้เช่นกัน   

                 ข้อเสีย ของระบบนี้คือ   ราคาแพง   มีขนาดใหญ่ไม่เหมาะกับตู้ปลาขนาดเล็ก   หรือการเลี้ยงปลาขนาดเล็กบางชนิด   เช่น  ปลานีออน   เพราะปลาอาจถูกปั๊มน้ำดูดเข้าไปตายในเครื่องได้

            3.4 ระบบกรองน้ำแบบใช้ปั๊มช่วย  หรือ  Power  Filter เป็นระบบกรองน้ำที่มีการใช้ปั๊มน้ำไฟฟ้าแบบจุ่ม คือตัวปั๊มจมอยู่ในน้ำโดยมีจุกยางช่วยยึดติดกับผนังตู้กระจกหรือผนังบ่อซิเมนต์  และติดตั้งกล่องกรองไว้ที่ส่วนปลายท่อน้ำเข้าทางด้านล่าง  ส่วนทางน้ำออกจะสามารถต่อท่ออากาศเพื่อดึงลมเหนือผิวน้ำลงมาผสมกับน้ำโดยอาศัยแรงฉีดของน้ำ เป็นระบบกรองน้ำที่กำลังได้รับความนิยมค่อนข้างมาก

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
    
อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
     
อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

ภาพที่ 12  ลักษณะและการทำงานของ Power  Filter

                 ข้อดี ของระบบกรองน้ำแบบใช้ปั๊มช่วยคือ   กรองน้ำได้ดี   น้ำใส   สามารถถอดวัสดุกรองออกมาล้างได้ง่ายและทำได้ทุกวัน  ใช้ได้ดีทั้งตู้ปลาขนาดกลางและขนาดใหญ่  สามารถเพิ่มออกซิเจนจากระบบกรองได้ค่อนข้างดีมาก

                 ข้อเสีย ของระบบนี้คือ   ปั๊มต้องใช้งานจากกระแสไฟฟ้า  คุณภาพของเครื่องต้องอยู่ในเกณฑ์ที่ดี  เพราะหากเกิดกระแสไฟฟ้ารั่วจะเป็นอันตรายต่อปลาหรือต่อผู้เลี้ยงได้  การถอดวัสดุกรองออกมาล้างควรจะต้องถอดปลั๊กไฟทุกครั้ง

                3.5 ระบบกรองน้ำแบบบ่อกรอง  เป็นระบบกรองน้ำที่มีการสร้างบ่อกรองน้ำแยกออกมาต่างหากจากบ่อเลี้ยง   แล้วใช้เครื่องปั๊มน้ำแบบปั๊มจุ่ม  หรือ  Submersible  Pump   ซึ่งนิยมเรียกว่า  ไดรโว่   ช่วยปั๊มน้ำให้เกิดการหมุนเวียนน้ำผ่านไปมาระหว่างบ่อเลี้ยงกับบ่อกรองน้ำ   เป็นระบบกรองน้ำที่นิยมใช้กับบ่อซีเมนต์   หรือบ่อขนาดใหญ่   เช่น   บ่อปลาคาร์พ   หรือห้องแสดงพันธุ์ปลาขนาดใหญ่   เหมาะสำหรับการเลี้ยงปลาขนาดใหญ่   และการเลี้ยงปลาอย่างหนาแน่นได้เป็นอย่างดี

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

ภาพที่ 13  ลักษณะและการทำงานของระบบกรองน้ำแบบบ่อกรอง

                 ส่วนประกอบของบ่อกรองประเภทนี้คือ   ตัวบ่อจะแบ่งออกเป็น  4  ส่วน   โดยส่วนที่ 1  จะเป็นส่วนที่รับน้ำมาจากบ่อเลี้ยง   ตะกอนหนัก   เศษอาหาร   และสิ่งขับถ่ายขนาดใหญ่จะตกตะกอนอยู่ในส่วนนี้   จากนั้นน้ำจะล้นไปส่วนที่ 2  ไปผ่านถาดกรองจากด้านล่างขึ้นสู่ด้านบน   จัดเป็นส่วนที่ 3   ตะกอนต่างๆจะถูกกรองไว้   แล้วน้ำใสจะล้นผ่านไปส่วนที่ 4   ซึ่งมีปั๊มจุ่มสูบน้ำกลับไปยังบ่อเลี้ยง

                 การล้างตะกอนหรือระบบกรอง   ปิดเครื่องปั๊มน้ำแล้วปิดท่อน้ำที่มาจากบ่อเลี้ยงที่ส่วนที่ 1   ย้ายปั๊มน้ำจากส่วนที่ 3  มาไว้ที่ส่วนที่ 1  แล้วเปิดเครื่องสูบน้ำทิ้ง   จากนั้นย้ายปั๊มน้ำมาส่วนที่ 2  แล้วเปิดเครื่องสูบน้ำทิ้ง   พร้อมทั้งฉีดน้ำล้างที่ถาดกรองด้วย

                 ข้อดี ของระบบกรองน้ำแบบบ่อกรองคือ   กรองน้ำปริมาณมากได้เร็วน้ำค่อนข้างใส   และจะมีระบบดูดอากาศในขณะพ่นน้ำออกที่บ่อเลี้ยง   เป็นการเพิ่มออกซิเจนในน้ำได้อย่างดี

                 ข้อเสีย ของระบบนี้คือ   ไม่เหมาะกับการใช้เลี้ยงปลาสวยงามในตู้   การก่อสร้างผู้ก่อสร้างและผู้คุมงานต้องมีความเข้าใจในระบบดีพอควร   การล้างวัสดุกรองก็ต้องทำความเข้าใจกับระบบ

                 นอกจากนั้นในปัจจุบันนี้จะมีเครื่องกรองน้ำอีกหลายรูปแบบ   ที่ใช้เครื่องปั๊มน้ำไฟฟ้าเข้าช่วย   เป็น  Power   Filter   เป็นลักษณะปั๊มไฟฟ้าที่ตัวปั๊มและวัสดุกรองจะติดตั้งอยู่ในน้ำ   นิยมใช้กับตู้ปลาขนาดใหญ่  หรือบ่อเลี้ยงปลานอกอาคาร   กรองน้ำได้รวดเร็ว   สามารถล้างวัสดุกรองได้ง่าย   แต่ควรล้างวัสดุกรองทุกวัน   มิฉะนั้นอายุการทำงานของเครื่องจะสั้นลง   และต้องระมัดระวังเรื่องไฟฟ้ารั่ว   เพราะตัวเครื่องจะต้องจุ่มอยู่ในน้ำตลอดเวลา         

                                                                                                                                                                               

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

4เครื่องทำความร้อน   หรือฮีตเตอร์ (Heater)            

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

                เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยปรับอุณหภูมิของน้ำในตู้หรือในบ่อปลา   โดยมักจะพยายามปรับให้น้ำมีอุณหภูมิสูงขึ้นหรือร้อนขึ้น   นิยมใช้ในฤดูหนาวและใช้กับการเลี้ยงปลาบางชนิด   ฮีตเตอร์จะมีจำหน่ายตามร้านขายปลาสวยงามทั่วไป   ลักษณะเป็นหลอดแก้ว   ภายในมีขดลวดนำความร้อน   มีหน่วยการใช้งานเป็นวัตต์   มีให้เลือกหลายขนาดผู้เลี้ยงควรเลือกให้เหมาะสมกับปริมาณน้ำในตู้ปลา   โดยอาจพิจารณาจากขนาด  1  วัตต์  ต่อปริมาตรน้ำ  1  ลิตร   ในปัจจุบัน  ฮีตเตอร์ส่วนใหญ่สามารถควบคุมระดับของอุณหภูมิให้ค่อนข้างคงที่ได้   โดยมีตัวควบคุมที่เรียก  เทอร์โมสตัท (Thermostat)  ซึ่งจะมีปุ่มปรับและตัวเลขให้ตั้งระดับอุณหภูมิตามที่ต้องการได้   ทำให้เครื่องฮีตเตอร์สามารถควบคุมอุณหภูมิน้ำให้ค่อนข้างคงที่ตามที่ต้องการตลอดเวลา

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
  
อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
  
อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
 

                           ภาพที่ 14  ลักษณะของเครื่องทำความร้อน   หรือฮีตเตอร์ แบบต่างๆ         

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
             

5 หลอดแสงแดดเทียม        

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
    

                 เป็นอุปกรณ์สำหรับเพิ่มแสงสว่างในตู้ปลา   ทำให้มองดูปลามีสีสันสดใสมากขึ้น   โดยมีการพัฒนาปรับระดับของช่วงแสงให้คล้ายคลึงกับแสงแดดตามธรรมชาติ   จึงเรียก  Biolux  Lamp   ปกติตู้ปลาจะได้รับแสงแดดค่อนข้างน้อย   การใช้หลอดแสงแดดเทียมเปิดให้ปลาในช่วงเวลากลางวันจะช่วยให้พรรณไม้น้ำสามารถสังเคราะห์แสงได้   ทำให้ลดธาตุอาหารต่างๆที่เกิดขึ้นในระหว่างเลี้ยงปลา  ช่วยทำให้ปลามีสุขภาพดี   อาจเรียกหลอดชนิดนี้ว่า  Aquarium  Light   ควรเปิดให้ตู้ปลาวันละ  8  ชั่วโมง

 

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
  
อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
  

                              ภาพที่ 15  ลักษณะของหลอดไฟฟูออเรสเซน์และหลอดไฟใต้น้ำ             

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

6 อุปกรณ์ตกแต่งตู้ปลา        

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

                 ปัจจุบันมีการผลิตอุปกรณ์ตกแต่งตู้ปลาออกมามากมายหลายชนิด   มีจุดประสงค์ทั้งเพื่อเพิ่มความสวยงาม   เพิ่มออกซิเจน   และเป็นที่อาศัยของปลาได้ด้วย   ผู้เลี้ยงควรเลือกอุปกรณ์ตกแต่งต่างๆให้เหมาะสมกับชนิดปลาและขนาดของตู้ปลาด้วย   อุปกรณ์ตกแต่งดังกล่าวมีดังนี้คือ

                 6.1 วัสดุรองพื้นตู้ปลา   ได้แก่พวกทรายหยาบ   กรวด   และเศษปะการัง   ปกติใช้เพื่อช่วยรองพื้นตู้ปลาทำให้แลดูสวยงาม   แต่ปัจจุบันมักใช้เพื่อช่วยในระบบกรองน้ำใต้ทราย   เป็นตัวช่วยกักตะกอนและสิ่งสกปรกต่างๆเอาไว้   นอกจากนั้นจะมีประโยชน์สำหรับปลูกพรรณไม้น้ำ   เป็นที่ยึดเกาะของรากพรรณไม้น้ำให้ลำต้นอยู่ได้มั่นคง   และทำให้สภาพตู้ดูเป็นธรรมชาติ   การใช้วัสดุรองพื้นตู้ปลาเหล่านี้จะต้องมีการล้างให้สะอาดก่อนใช้   หากต้องการฆ่าเชื้อโรคและพยาธิต่างๆ   ควรแช่น้ำเกลือเข้มข้นทิ้งไว้  1  คืน   จากนั้นฉีดน้ำล้างแล้วแช่น้ำจืดทิ้งไว้  1  คืน   ก็จะนำไปใช้ได้อย่างปลอดภัย   และควรมีสำรองไว้   เพราะเมื่อเลี้ยงปลาไปเป็นเวลาประมาณ  6  เดือน   ควรเปลี่ยนวัสดุรองพื้นเก่าออกทั้งหมด   เอาของใหม่ที่สำรองไว้ใส่แทน   ถึงแม้จะมีการล้างวัสดุรองพื้นเพื่อขจัดตะกอนและสิ่งหมักหมมอยู่ประจำทุกเดือนก็ตาม  แต่ก็จะมีคราบต่างๆสะสมอยู่ซึ่งหากดมที่วัสดุกรองจะได้กลิ่นเหม็นเน่าเด่นชัด   จึงควรเปลี่ยนเอาวัสดุกรองเก่านี้ออกมาตากแดดให้แห้งสนิทเป็นเวลา  4 - 5 วัน   โดยมีการเกลี่ยสลับทิศทางวันละครั้ง   เมื่อแห้งสนิทดีและหมดกลิ่นแล้วจึงเก็บไว้เป็นตัวสำรองสำหรับเปลี่ยนในโอกาสต่อไป

                 6.2 หินประดับ   จะเป็นก้อนหินขนาดใหญ่ที่นำมาจัดวางประดับภายในตู้ปลา   เพื่อให้ดูเป็นธรรมชาติมากขึ้น   มีรูปทรงต่างๆทั้งที่เป็นแท่งตั้งตรง   ทรงกลม  แหว่งเว้า   และเป็นโพรง   มีปลาบางชนิดที่ชอบว่ายวนเวียนอยู่ใกล้กับก้อนหิน   หรืออาศัยอยู่ตามโพรงหิน  เช่น  ปลา     ทรงเครื่อง   ปลากาแดง  ปลาเสือตอ  และปลาหมู  การจัดวางหินประดับยังอาจช่วยกำบังท่อพ่นน้ำ   ท่ออากาศ   หรือกล่องกรองได้ด้วย   นอกจากนั้นปลาบางชนิด  เช่นปลาเทวดา   และกลุ่มปลาหมอสวยงามทั้งหลายยังอาจใช้ก้อนหินเป็นที่วางไข่ได้ด้วย   ข้อควรระวังในการใช้หินประดับคือ ไม่ควรเป็นก้อนหินที่มีสันหรือเหลี่ยมแหลมคม   เพราะอาจทำให้ปลาได้รับบาดแผลได้

                 6.3 พรรณไม้น้ำ   เป็นพืชน้ำที่นำมาประดับทำให้ตู้ปลาดูมีชีวิตชีวา   และเป็นธรรมชาติได้อย่างมาก   มีส่วนช่วยในการลดสารประกอบต่างๆที่เกิดจากตัวปลาและเศษอาหารในระหว่างการเลี้ยงปลา   พรรณไม้น้ำที่นิยมปลูกประดับในตู้ปลาในปัจจุบันมีมากมายหลายชนิด  แต่ก็อาจถูกทำลายจากปลาสวยงามบางชนิด  เช่น  ปลาทอง   ทำให้มีการผลิตพรรณไม้น้ำเทียมจากพลาสติก   ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกับพรรณไม้น้ำจริงๆ   และได้รับความนิยมมากเช่นกัน

                 6.4 เปลือกหอย   เป็นเปลือกของหอยทะเลทั้งหอยกาบเดี่ยวและหอยกาบคู่   ที่นำมาตกแต่งทำให้ตู้ปลาดูมีจุดเด่นสวยงามมากขึ้น   เปลือกหอยที่ใช้มักเป็นเปลือกหอยขนาดใหญ่   ได้แก่  หอยสังข์หนาม(หอยมะระ)   หอยตีนช้าง   และหอยมือเสือ   ซึ่งเปลือกหอยเหล่านี้ค่อนข้างมีขนาดใหญ่มาก   จึงทำให้ตู้ปลาดูมีจุดเด่นยิ่งขึ้น   ปัจจุบันมีความนิยมในการสะสมเปลือกหอยทะเลกันมากขึ้น   จึงทำให้มีการนำเปลือกหอยหลายชนิดมาจำหน่ายตามร้านขายปลาสวยงามมากด้วย   ทำให้สามารถเลือกเปลือกหอยแปลกๆมาตกแต่งตู้ปลาได้มากขึ้น   

                 6.5 รูปจำลอง   เป็นวัสดุจำลองรูปทรงต่างๆ   มีทั้งรูปคน  สัตว์   สิ่งของ   สิ่งประดิษฐ์   ขอนไม้   และพรรณไม้น้ำต่างๆ   เช่น  รูปเด็กยืนปัสสาวะ   รูปเด็กตกปลา   รูปแมวน้ำ   รูปเปลือกหอย   และรูปสะพาน   เป็นวัสดุที่เน้นสีสันให้สวยงาม   และรูปทรงดูสะดุดตา   เพื่อทำให้ตู้ปลาดูมีจุดเด่น   โดยส่วนใหญ่จะมีท่อสำหรับต่อสายลม   เพื่อทำให้วัสดุจำลองบางชนิดมีการเคลื่อนไหว   และเป็นการเพิ่มออกซิเจนละลายน้ำไปด้วยในตัว   ทำให้รูปจำลองมีบทบาทสำคัญในการเลี้ยงปลาสวยงามเช่นกัน 

                 6.6 แผ่นภาพ    ใช้สำหรับติดเป็นฉากประกอบด้านหลังตู้ปลา   ส่วนใหญ่จะเป็นแผ่นภาพทิวทัศน์ใต้น้ำ   ทำให้ตู้ปลาดูเป็นธรรมชาติมากขึ้น

                                                                                                                                                                                    

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

7 กระชอนหรือสวิง                  

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

                เป็นอุปกรณ์ที่ผู้เลี้ยงปลาสวยงามมักจะต้องซื้อไว้ใช้ด้วยเสมอ   เป็นอุปกรณ์ที่ส่วนใหญ่มักใช้ในการจับปลา   ถ้าเป็นปลาขนาดเล็กก็อาจใช้กระชอนช้อนปลาได้ง่าย   ไม่ต้องระมัดระวังมากนัก   แต่ถ้าเป็นปลาขนาดใหญ่จะต้องมีความระมัดระวังค่อนข้างมาก   ดังที่ได้กล่าวไว้แล้วในหัวข้อ 2.3.9  สิ่งสำคัญในการเลือกซื้อกระชอน คือ   ควรเป็นกระชอนที่ทำด้วยผ้าเนื้อนุ่มๆ   จะช่วยลดความบอบช้ำที่จะเกิดในการจับปลาได้   บางรายอาจใช้ในการช้อนอาหารมีชีวิต   พวกไรน้ำ   ลูกน้ำ   เพื่อนำมาใช้ในการเลี้ยงปลา   หรืออาจใช้กระชอนและสวิงในการช้อนเศษใบไม้   และเศษวัสดุต่างๆที่ไม่ต้องการออกได้   โดยเฉพาะบ่อเลี้ยงปลาคาร์พซึ่งอยู่ภายนอกอาคาร   ก็จะมีใบไม้   และเศษวัสดุต่างๆปลิวตามลมมาตกลงบ่ออยู่เสมอ   ทำให้บ่อปลาดูไม่สวยงามหรือหากปล่อยทิ้งไว้จะไปอุดตันปากท่อในระบบกรองน้ำได้   จำเป็นต้องหมั่นดูแลและตักออกอยู่เสมอ

  

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
 
อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
      

                                       ภาพที่ 16  ลักษณะของกระชอนหรือสวิง                                 

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

8 ฝาปิดตู้ปลา       

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

                 เป็นอุปกรณ์ช่วยป้องกันฝุ่นละออง   และที่สำคัญคือ  ช่วยป้องกันปลากระโดดออกจากตู้ได้เป็นอย่างดี   ตู้ขนาดเล็กฝาปิดตู้มักทำด้วยกระจกและเป็นฝาโปร่งธรรมดา   ไม่สามารถติดหลอดไฟหรือวางเครื่องแอร์ปั๊มได้   แต่ตู้ขนาดใหญ่นั้นฝาตู้มักทำด้วยพลาสติกสีสันสวยงาม   มีรูปทรงสวยช่วยทำให้ตู้ปลาดูสวยงามมากขึ้น   มีช่องระบายลม   ช่องปิดเปิดสำหรับให้อาหารปลา   และมีการปรับปรุงให้สามารถติดหลอดไฟและเครื่องแอร์ปั๊มอยู่ภายในฝาปิดตู้ด้วย   นอกจากนั้นสีของพลาสติกยังมีส่วนสะท้อนกับแสงไฟที่ใช้   ทำให้น้ำในตู้ปลาดูสวยงามยิ่งขึ้น

                                                                                                                                  

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

9 ขารองรับตู้ปลา         

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

                 เป็นอุปกรณ์ที่ต้องมีความแข็งแรงพอควร   เพราะตัวตู้พร้อมกรวดและหินประดับล้วนแต่เป็นวัสดุที่มีน้ำหนักมาก  อีกทั้งน้ำหนักของน้ำซึ่งมีน้ำหนักประมาณ 1  กิโลกรัมต่อน้ำ  1  ลิตร   ดังนั้นตู้ปลาสวยงามแต่ละตู้เมื่อจัดตู้และเติมน้ำแล้ว   จะมีน้ำหนักหลายสิบกิโลกรัม   แล้วแต่ขนาดตู้   ขารองรับตู้จึงต้องมีความแข็งแรง   ซึ่งปัจจุบันได้รับการพัฒนาค่อนข้างมาก   เป็นโครงเหล็กแข็งแรงและเสริมลวดลายสวยงาม   นอกจากนั้นจะมีแผ่นโฟมรองรับตู้ปลาเพื่อลดแรงเสียดทานด้วย

 

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
   

ภาพที่ 17  ลักษณะของฝาปิดตู้ปลาและขารองรับตู้ปลา

                 ยังมีอุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงปลาสวยงามอีกหลายชนิด เช่น ปั๊มจุ่ม หลอดUV เทอร์โมมิเตอร์กะละมัง  หรือถังพลาสติก   ใช้สำหรับถ่ายน้ำหรือกักปลาชั่วคราวในขณะเคลื่อนย้าย   หรือทำความสะอาดตู้ปลา   ชุดทดสอบสภาพน้ำ   ใช้วัดความเป็นกรดเป็นด่างของน้ำอย่างคร่าวๆ   เครื่องวัดอุณหภูมิหรือเทอร์โมมิเตอร์   ใช้สำหรับวัดอุณหภูมิน้ำ   ซึ่งมีทั้งแบบชนิดแท่งแก้วติดไว้ภายในตู้ปลา   หรือแบบแถบกาวใช้ติดไว้ที่กระจกนอกตู้ปลา   ชุดแม่เหล็กสำหรับขูดตะไคร่น้ำที่กระจก   ใช้ทำความสะอาดผนังตู้ปลา   และกรวยอาหาร   ใช้สำหรับให้อาหารมีชีวิตบางชนิด   เช่นหนอนแดง   และไส้เดือนน้ำ

 

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
   
อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
   
อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
 

ภาพที่ 18  ลักษณะของปั๊มน้ำแบบจุ่ม หลอด UV และเทอร์โมมิเตอร์

                        

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
          
อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง

    

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
                                                                                                                               
อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง
  

 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม         

อุปกรณ์ ในข้อใด เป็น ของ เทียม เพื่อ สะดวก และ ปลอดภัย ในการแสดง