การทำน ำหม กนมสด โดย ว ทยาเขตกำแพงแสน ม เกษตร

ภาคผนวก ก ........................................................................................................................................................... 53

ภาคผนวก ข แบบวิเคราะหคูมอื สำหรบั การเรยี นการสอนออนไลน มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร วิทยาเขต กำแพงแสน............................................................................................................................................................. 55

ภาคผนวก ค ผลการวเิ คราะหค มู อื สำหรับการเรยี นการสอนออนไลน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วทิ ยาเขต กำแพงแสน............................................................................................................................................................. 58

ภาคผนวก ง ประกาศที่เกย่ี วของตา งๆ................................................................................................................... 60

ประกาศของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วจิ ยั และนวัตกรรม............................................................ 61

ประกาศมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร................................................................................................................... 61

ประกาศมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร วทิ ยาเขตกำแพงแสน................................................................................ 61

บทที่ 1 บทนำ หลกั การและความเปน มา จากสถานการณการแพรระบาดของ COVID-19 (โควดิ -19) ทำใหผ ูค นเกดิ ความวติ กกงั วลไปท่ัวโลก มีการ ปดเมือง ปดประเทศ เพื่อปองกันการแพรกระจายของโรค การระบาดของเชื้อไวรัส โควิด-19 สงผลตอระบบ การศึกษาเปนอยางมาก ตั้งแตเชื้อไวรัสเริ่มระบาดในประเทศจีนปลายปที่แลวจนถึงปจจุบัน UNESCO รายงานวา รัฐบาล 191 ประเทศทั่วโลก ประกาศปดสถานศึกษาทั้งประเทศ มีผูเรียนไดรับผลกระทบกวา 1.5 พันลานคน (มากกวารอยละ 90 ของผูเรียนทั้งหมด) (พงศท ัศ วนิชานนั ท, 2563) สำหรับประเทศไทยสถานการณการระบาดเกิดขึ้นในชวงสถานศึกษาขั้นพื้นฐานปดภาคเรียน โดยในชวง ตนเดือนเมษายน คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบใหเลื่อนวนั เปดเทอมภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2563 ไปเปนวันที่ 1 กรกฎาคม 2563 ไทยจึงมีโอกาสทบทวนบทเรียนจากตางประเทศเพื่อเตรียมตัวใหพรอมในการจัดการเรียนการ สอนรูปแบบใหมที่สอดรบั กบั มาตรการปองกันการระบาด พรอมกับเตรยี มมาตรการตาง ๆ เพอ่ื ปอ งกันไมใหผูเรียน ไดร บั ผลกระทบจากรปู แบบการเรียนท่ีเปลี่ยนไป และตามประกาศกระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร วิจัยและ นวัตกรรมไดออกประกาศ เรื่อง มาตรการและการเฝาระวังการระบาดของโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรค โควิด-19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) ฉบับที่ 3: การปฏิบัติการของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อปองกนั การแพรระบาดของโรคโควิด-19 ลงวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2563 นั้นมีสาระสำคัญ ใหสถานศึกษาหยุดดำเนินการ สอนทุกรูปแบบยกเวนการสอนแบบออนไลน (Online) เพื่อใหสถาบันอุดมศึกษาไดปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียน การสอนจากแบบปกตเิ ปน แบบออนไลนโ ดยสมบรู ณทุกหลักสูตรภายในวนั ท่ี 1 เมษายน 2563 มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน จึงไดดำเนินการจดั การเรียนการสอนออนไลน และใน หองเรียน โดยจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข โดยมีการเวนระยะหาง (Physical Distancing) ในชวงการแพรระบาด และปรับเปลี่ยนเปนการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน 100%ในชวง สถานการณการแพรร ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ระลอกใหม และจากขอ มูลผลการวจิ ยั ความพงึ พอใจ ของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน ตอการจัดการเรียนการสอนออนไลน เพื่อใชแนวทางใน การบริหารการศึกษาของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน อโรชา ทองลาวและพัลลภ สุวรรณ ฤกษ (2563) ซึ่งผลการวิจัย พบวา โปรแกรมที่เหมาะสม สะดวกตอการเรียนการสอน มากที่สุดไดแก โปรแกรม Google Classroom รอยละ 59.4 รองลงมา โปรแกรม Microsoft Team รอยละ 20.3 และ โปรแกรม Zoom Meeting รอยละ 11.8 จากขอมูลดังกลาว ผูเขียนไดเล็งเห็นความสำคัญของการปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอน เปนรูปแบบออนไลน และผลกระทบทีเ่ กดิ ขึ้นตอผูสอน จึงไดดำเนินการจัดทำคูมือสำหรับการจัดการเรียนการสอน

2

ออนไลน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน เพื่อรวบรวมรูปแบบการเรียนการสอนออนไลนท่ี สอดคลองกับความตองการของนิสิต และใชเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน ที่เหมาะสม ตอการเรียนรูของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน ในรูปแบบออนไลนใหเกิดประสิทธิภาพ สงู สุด ตอ ไป

วตั ถุประสงค 1. เพอ่ื ใหอาจารยผูส อนสามารถใชง านโปรแกรม โปรแกรม Google Classroom โปรแกรม Microsoft

Team และ โปรแกรม Zoom Meeting ได 2. เพื่อใหผูปฏิบัติงานของงานบริการการศึกษา กองบริหารการศึกษาสามารถใหคำแนะนำอาจารยผูสอน

ในเบอื้ งตน ได 3. เพื่อรวบรวมรูปแบบการเรียนการสอนออนไลนที่สอดคลองกับความตองการของนิสิต

มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน ประโยชนที่ไดร บั

1. อาจารยผ สู อนสามารถใชโปรแกรมและแกไขปญหาการใชง านเบอื้ งตน ได 2. ผปู ฏบิ ตั ิงานสามารถใหค ำแนะนำ และชวยเหลืออาจารยแกไ ขปญหาเบ้ืองตนไดส ำเรจ็ 3. มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน มคี ูมอื สำหรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน ขอบเขตของคมู ือการปฏิบัตงิ าน คูมือการสำหรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน เปน การรวบรวมการใชงาน และเทคนิคการแกไขปญหาการใชงานโปรแกรมที่สอดคลองกับความตองการของนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน จำนวน 3 โปรแกรม ที่ไดจากผลการวิจัย เรื่อง การศึกษาความ พึงพอใจของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสนตอการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน ประจำภาคตน ปการศึกษา 2563 ประกอบดวย 1. การใชง านโปรแกรม Google Classroom 2. การใชง านโปรแกรม Microsoft Team 3. การใชง านโปรแกรม Zoom Meeting

3

คำจำกัดความเบ้ืองตน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน หมายถึง หนวยงานที่ดูแลจัดการเรียนการสอนของ

มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ตงั้ อยทู ่ี เลขที่ 1 หมู 6 ตำบลกำแพงแสน อำเภอกำแพงแสน จังหวดั นครปฐม มีคณะท่ี จัดการเรียนการสอน ณ ปการศึกษา 2563 จำนวน 8 คณะ ไดแก 1) คณะเกษตร กำแพงแสน 2) คณะ วิศวกรรมศาสตร กำแพงแสน 3) คณะศึกษาศาสตรและพัฒนศาสตร 4) คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร

  1. คณะวทิ ยาศาสตรการกีฬา 6) คณะประมง 7) คณะส่งิ แวดลอ ม และ 8) คณะสัตวแพทยศาสตร (ช้นั ปท ่ี 4-6)

อาจารยผ สู อน หมายถงึ ผทู ี่ปฏบิ ัตงิ านดานการสอนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วทิ ยาเขต กำแพงแสน

ผปู ฏบิ ัตงิ าน หมายถึง บคุ ลากรในตำแหนง นักวชิ าการโสตทศั นศกึ ษาและตำแหนง นักวชิ าการศึกษาของ กองบรหิ ารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน

บทที่ 2 โครงสรางและหนา ทค่ี วามรบั ผิดชอบ

รูปที่ 1 โครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสาํ นกั งานวทิ ยาเขตกาํ แพงแสน (ทมี่ า : https://kpsoffice.kps.ku.ac.th/index.php/info/2018-03-08-01-30-46)

โครงสรางการบรหิ ารงาน กองบรหิ ารการศึกษา

นายสมเกยี รติ ไทยปรีชา ผอู ํานวยการกองบริหารการศกึ ษา

นายพลั ลภ สวุ รรณฤกษ นางพรรวินท จันทรคลองใหม นางสาวพรรณพนัช จนั หา หัวหนา งานบรกิ าร หวั หนา งานทะเบยี นและ หวั หนางานหลักสตู รและ การศกึ ษา ประมวลผล ยุทธศาสตรก ารศกึ ษา

แผนภาพที่ 1 แสดงโครงสรางการบริหารงาน กองบรหิ ารการศึกษา (ท่ีมา: นายพลั ลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

5

ภาระหนา ที่ของกองบริหารการศึกษา

กองบรหิ ารการศกึ ษา สงั กัดสำนกั งานวทิ ยาเขตกำแพงแสน มีภารกจิ ในการสนบั สนนุ การ เรียนการสอนของวทิ ยาเขตกำแพงแสน โดยมกี ารแบง โครงสรางการบริหารงานดังน้ี

งานบรกิ ารการศึกษา มหี นา ท่ี

สนับสนุนกระบวนการจัดการเรียนการสอน ตารางเรียน ตารางสอบ บริการสื่อและอุปกรณการเรียนการ สอน สง เสรมิ การฝกอบรมของคณาจารย บริหารจัดการอาคารศนู ยเรยี นรวม จัดทำสอ่ื ประชาสมั พนั ธในการรับเขา ศึกษา ดูแลการเขารับศึกษา พัฒนาระบบฐานขอมูล MIS และศูนยขอมูลกลางดานการศึกษาของวิทยาเขต กำแพงแสน จัดทำขอ มลู สถติ ิดา นการศึกษาเพอ่ื ใชใ นการวางนโยบาย วางแผนและบรหิ ารจดั การ

งานทะเบียนและประมวลผล มหี นาที่

มีหนาที่บริหารจดั การระบบลงทะเบียน การประมวลผลการศึกษา การตรวจสอบผลการศกึ ษาและรับรอง การสำเร็จการศึกษาตามมาตรฐานสากล การใหบริการขอมูล คำแนะนำ และการปรึกษาแกนิสิต อาจารย และ หนว ยงานตา ง ๆ ท่ีเกี่ยวของกบั ระบบการศึกษาของมหาวิทยาลยั ในระดบั ปรญิ ญาตรี

งานหลักสตู รและบริหารยทุ ธศาสตรการศกึ ษา มหี นา ท่ี

มีหนาที่วางแผน สนับสนุนการบริหารหลักสูตรและยุทธศาสตรการศึกษาเพื่อนำไปสูการปฏิบัติ ควบคุม คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาการจัดการหลักสูตร พัฒนาหลักสูตรและการขออนุมัติเปด/ปรับปรุงหลักสูตรของ วิทยาเขตกำแพงแสน จัดทำแผนและนโยบายที่เกี่ยวของกับมาตรฐานคุณภาพฯ บริหารงานระบบคลังหนวยกิตระ ดับอุดมศึกษา ตามนโยบายของกระทรวงการอดุ มศึกษาวทิ ยาศาสตร วจิ ยั และนวตั กรรม สรางความเปน เลิศในการ บริหารจัดการคุณภาพมาตรฐานการศึกษา การใหบริการแกน ิสิตและอาจารย รวมถึงการดำเนินการขั้นตอนตาง ๆ ของงานการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรรี วมกบั คณะตา ง ๆ ในวทิ ยาเขตกำแพงแสน

** ตามประกาศสภามหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร เร่อื ง การปรับโครงสรา งหนวยงานภายในสำนกั งานวทิ ยา เขตกำแพงแสน ประกาศ ณ วนั ท่ี 25 ธันวาคม พ.ศ.2562**

โครงสรางการบรหิ ารงา

แผนภาพท่ี 2 แสดงโครงสรางการ (ทม่ี า: นายพลั ลภ ส

าน งานบริการการศกึ ษา

รบริหารงาน งานบรกิ ารการศึกษา สุวรรณฤกษ,2564)

7

ภารกจิ ของงานบรกิ ารการศกึ ษา รับเขา ศึกษา มหี นาท่ี จัดทำสื่อประชาสัมพันธในการรับเขาศึกษา ดูแลการเขารับศึกษา พัฒนาระบบฐานขอมูล MIS และศูนย

ขอ มูลกลางดานการศึกษา จดั ทำขอ มูลสถิตดิ า นการศึกษาเพ่ือใชในการวางนโยบาย โครงการวิชาบูรณาการ วิทยาเขตกำแพงแสน มหี นาที่ มีหนาที่สนับสนุนกระบวนการจัดการเรียนการสอน ตารางเรียน ตารางสอบ สงเสริมการฝกอบรมของ

คณาจารย จัดทำขอมูลสถิติดานการศึกษาเพื่อใชในการวางนโยบาย วางแผนและบริหารจัดการโครงการวิชา บรู ณาการ วทิ ยาเขตกำแพงแสน

อาคารศูนยเรยี นรวม มหี นาท่ี มีหนาที่สนับสนุนกระบวนการจัดการเรียนการสอน ตารางเรียน ตารางสอบ บริการสื่อและอุปกรณการ เรียนการสอน สงเสริมการฝกอบรมของคณาจารย บริหารจัดการอาคารศูนยเรียนรวม เพื่อใชในการวางนโยบาย วางแผนและบรหิ ารจัดการอาคารศูนยเ รียนรวม 2-4 งานส่อื การเรียนการสอนออนไลน มีหนาท่ี บริการสื่อและอุปกรณการเรียนการสอน สงเสริมสนับสนุนการฝกอบรมของคณาจารย จัดทำสื่อ ประชาสมั พนั ธ วางแผนและบรหิ ารจดั การ

8

บทท่ี 3 เอกสารท่ีเกีย่ วของ

งานวจิ ยั ทเ่ี กีย่ วของ สุรศักดิ์ ทิพยพิมล (2560) ไดวิจัยเรื่อง การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช Google classroom ใน

รายวิชาคอมพิวเตอรกราฟก ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ซึ่งผลการวิจัย พบวา 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนรายวิชาคอมพิวเตอรกราฟกของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชระบบ จัดการเรียนการสอนออนไลน Google classroom มีคาคะแนนผานเกณฑประเมินทุกคน คิดเปนรอยละ 100 รอยละของคะแนนทีเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้น 55.95 2) ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ที่มีตอจัดกิจกรรม การเรียนการสอนโดยใช Google classroom ในรายวิชาคอมพิวเตอรกราฟก พบวามีความพึงพอใจอยูในระดับ มากที่สดุ

อุมาสวรรค ชูหา และคณะ (2562) ไดวิจัยเรื่อง การศึกษาความพึงพอใจในการใชแอปพลิเคชั่น Zoom cloud meeting ชวยสอนในรายวิชาปฏิบัติการผดุงครรภ ซึ่งผลการวิจัย พบวา ความพึงพอใจในการใช แอปพลิเคชั่น Zoom ชวยสอนอยูในระดับมากที่สุด นักศึกษามีความรูสึกเสมือนไดเรียนจริงภายในหองเรียนมี คาเฉล่ยี 4.61 รองลงมาคือความพงึ พอใจดานสามารถทบทวนการเรียนการสอนไดต ามที่ตองการมคี า เฉลี่ย 4.59

อโรชา ทองลาว พัลลภ สุวรรณฤกษ (2563) ไดวิจัยเรื่อง ความพึงพอใจของนิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน ตอการจัดการเรียนการสอนออนไลน เพื่อใชแนวทางในการ บริหารการศึกษาของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน ซึ่งผลการวิจยั พบวา โปรแกรมท่ีเหมาะสม สะดวกตอการเรียนการสอน มากที่สุดไดแก โปรแกรม Google Classroom รอยละ 59.4 รองลงมา โปรแกรม Microsoft Teams รอยละ 20.3 และ โปรแกรม Zoom Meeting รอยละ 11.8

ธนวัฒน ชาวโพธิ์และคณะ (2563) ไดวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรูรายวิชา ความรู เบื้องตนทางรัฐศาสตร โดยใช Microsoft Teams ซึ่งผลการวิจัย พบวา 1) รูปแบบการจัดการเรียนรูรายวิชา ความรูเบื้องตนทางรัฐศาสตร โดยใช Microsoft Teams ที่พัฒนาขึ้นสามารถนำไปใชในการจัดการเรียนการสอน ได โดยผูเชีย่ วชาญมคี วามคิดเห็นตอ รูปแบบโดยรวมอยใู นระดับมาก คาเฉลี่ย 4.37 ดานเน้ือหาของรปู แบบ มีความ คิดเห็นโดยรวมอยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 4.44 ดานหองเรียนออนไลนของรูปแบบ มีความคิดเห็น โดยรวมอยูที่ ระดับมาก คาเฉลี่ย 4.44 2) นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ดานการเรียนรูสูงขึ้นจากการเรียนรูโดยใชรูปแบบ โดยผลการ ทดสอบหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 3) นักศึกษามีความพึงพอใจโดยรวมตอ รปู แบบการจัดการเรยี นรูรายวิชา ความรูเบ้อื งตน ทางรัฐศาสตร โดยใช Microsoft Teams ทรี่ ะดบั มาก

ศุภวรรณ วงศสรางทรัพยและคณะ (2564) ไดวิจัยเรื่อง การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช Google Classroom ในรายวิชากิจกรรมพลศึกษาสำหรับนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน ซึ่ง ผลการวจิ ัย พบวา 1) ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชากิจกรรมพลศกึ ษา ของนสิ ติ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร วทิ ยา

9

เขตกำแพงแสน หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชระบบจัดการเรียนการสอนออนไลน Google Classroom มี คาคะแนนผานเกณฑประเมินทุกคน คิดเปนรอยละ 100 รอยละของคะแนน เฉลี่ยที่เพิ่มขึ้น 58.93 2) มีความพึง พอใจของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน ที่มีตอจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช Google Classroom ในรายวชิ ากจิ กรรมพลศกึ ษา พบวามีความพึงพอใจอยใู นระดับมากท่ีสดุ

จากผลการวิจัยขางตน พบวา การใชงานเครื่องมือสำหรับการเรียนการสอนออนไลน ที่สงผลตอ ประสทิ ธิภาพ และผลสมั ฤทธ์ิทางการศกึ ษา รวมถึงระดบั ความพงึ พอใจของผูเรยี นอยใู นระดับมากทีส่ ุด ผูเขียนจึงมี แนวความคิดในการจัดทำคูมือสำหรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต กำแพงแสน ซึ่งจะชวยใหการเรียนการสอนของอาจารย จำนวน 3 โปรแกรมประกอบดวย Google Classroom Microsoft Teams และ Zoom Meeting เพื่อชวยใหการจัดการเรียนการสอนของอาจารยผูสอนในชวง สถานการณโ ควิด 19 ในปจจบุ นั สามารถเรยี นไดอยางมีประสทิ ธิภาพ

จากประกาศของประกาศของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม, ประกาศของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และประกาศของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน ทำใหการจัดการ เรียนการสอนในภาคการศึกษา อยางนอย 2 ภาคการศึกษา ที่ตองใชเครื่องมือการสอนออนไลน ดังนั้น การจัดทำ คูมือการใชโปรแกรม ทั้ง 3 โปรแกรม จึงมีสวนชวยใหการเรียนการสอนสามารถดำเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ เพม่ิ มากขนึ้

จากนโยบายการบริหารงาน ทั้งในสวนของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน ยังคงมีการใหจัดการเรียนการ สอนในรูปแบบออนไลน ทั้งแบบ 100% และแบบผสมผสาน (hybrid) ดังนั้น ผูเขียนคูมือจึงไดเล็งเหน็ ความสำคญั ของการจดั ทำคูมือสำหรบั การเรยี นการสอนออนไลน มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน

บทที่ 4 ข้ันตอนการใชง านสำหรบั อาจารยผ สู อน การใชง านโปรแกรมการเรยี นการสอนออนไลน ประกอบไปดว ย 1. วิธีการตรวจสอบ Email ([email protected]) 2. การใชง าน Google Classroom 3. การใชง าน Microsoft Teams 4. การใชงาน Zoom วิธีการการตรวจสอบ Account กอ นการเขาใชง าน การตรวจสอบอีเมลการใชงาน Application Google Classroom ของ Google และ Application Microsoft Teams ของ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร 1 ตรวจสอบ email ได 2 ชอ งทาง คอื 1.1 เขาเว็บไซต https://accounts.ku.ac.th

ใสบ ญั ชี nontri เชน User: kpspls Pass: xxxxx

รูปที่ 2 หนา้ เวบ็ ไซต์ login (ทีม่ า : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

เขา มาแลวจะพบหนาจอใหม เลือก “My Account and Recovery Email” ในกรอบสีแดง ดังรูปท่ี 3

รปู ท่ี 3 หนา Login เขา หนา เวบ็ ไซต (ท่ีมา : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

11

จะปรากฏขอมูล รายละเอียดของบญั ชี ดงั รปู ท่ี 4

รูปท่ี 4 ตรวจสอบอีเมล (ท่มี า : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

1.2 เขา ตรวจสอบใน นามานุกรม ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร https://directory.ku.ac.th ดงั รูปที่ 5

รูปที่ 5 เว็บไซตท ี่ตรวจสอบอีเมล อีกเวบ็ ไซต (ที่มา : นายพลั ลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

**หมายเหตุ เขา ดู https://www.youtube.com/watch?v=K-RXOaEFtf4 ** 2. login เขาระบบ ท่ีตองการใชงาน หาก login แลว ไมส ามารถเขา ใชงานไดหรอื ตอ งกำหนดรหสั ผา น

ใหม ใหไ ปที่ https://accounts.ku.ac.th เพ่อื เขา มาเปลี่ยนรหัสผา นใหม (โดยมหาวทิ ยาลัย เปน ระบบ One key One Password) เมื่อเปลย่ี นแลว จะสามารถใชร หัสใหมก บั อีเมลของ KU ได

12

การใชง าน Application Google Classroom Google Classroom คืออะไร Classroom เปดใหบ ริการสำหรบั ทกุ คนทใ่ี ช Google Apps for Education ซึ่งเปน ชดุ เครอื่ งมือ

เพอ่ื ประสิทธิภาพการทำงานทีใ่ หบ รกิ ารฟรี ประกอบดวย Gmail, เอกสาร และไดรฟ Classroom ไดร ับการออกแบบมาเพื่อชว ยสนับสนุนใหผ สู อนสามารถสรา งและเกบ็ งานไดโ ดยไม

ตองสน้ิ เปลอื งกระดาษ มคี ุณลกั ษณะทีช่ วยประหยดั เวลา เชน สามารถทำสำเนาของ Google เอกสารสำหรับ นิสติ แตละคนไดโ ดยอตั โนมัติโดยระบบจะสรา งโฟลเดอรของไดรฟส ำหรับแตละงานและนิสิตแตล ะคนเพอ่ื ชวยจัด ระเบียบใหท กุ คน

นิสติ สามารถติดตามวามีอะไรครบกำหนดบางในหนางาน และเริ่มทำงานไดดวยการคลิกเพียง ครง้ั เดียว ผสู อนสามารถดูไดอ ยางรวดเร็ววาใครทำงานเสรจ็ หรือไมเสรจ็ บา ง ตลอดจนสามารถแสดงความคิดเห็น และใหค ะแนน

รูปที่ 6 แสดงประโยชนข์ องการใชง้ าน Google Classroom (ทมี่ า : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

13

การเขา ระบบและสรา งหองเรียนของ Google Classroom ([email protected]) 1. เขาสรู ะบบของ Google Classroom ที่ https://classroom.google.com/

รปู ท่ี 7 หนา Login ของ google (ที่มา : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

2. สำหรับการใชง าน Google Classroom ในครง้ั แรก เมอ่ื เขาสรู ะบบแลว จำเปน ตองเลือก บทบาทในการใชงาน Google Classroom (กรณีเปนอาจารยผสู อนใหเลอื ก “I’m a teacher” กรณเี ปน นสิ ติ ใหเ ลอื ก “I’m a student”)

รูปที่ 8 เลอื กรูปแบบ (ท่มี า : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

3. คลกิ เครือ่ งหมาย + ท่ีบรเิ วณดา นมมุ ขวา

รูปที่ 9 รูปกอนการสรา งหอ งเรียน (ทม่ี า : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

14

4.หลงั จากนั้นให เลอื กสรางชั้นเรยี น (Create Class)

รูปท่ี 10 รปู การณสรางหอ งเรียน (ทมี่ า : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

5. กรอก ขอ มลู ในการสรางชัน้ เรยี น ชอง ชือ่ ชนั้ เรยี น (Class name) : กรอกช่อื รายวิชา/ช้ันเรยี น/ ชอ ง หอ ง (Section) : ใหกรอกรายละเอยี ดสน้ั ๆ ลงในหอ ง ยกตวั อยางเชน ชน้ั เรยี น ระดับชน้ั ป ผูที่สนใจหรอื เวลาเรียน ชอ ง เร่ือง (Subject) : ในที่นอี้ าจจะยกตวั อยาง “คูมือการใชง าน Google Classroom” หรือไมตองกรอกก็ได ชอ ง หอ ง (Room) : ใหกรอกเปน หองเรียน หรอื อาคารเรยี น หรือบอกเปนการเรยี นออนไลน เม่ือกรอกขอมลู เสรจ็ ใหค ลกิ เลือกท่ี สรา ง (Create)

รปู ที่ 11 ใสข อ มลู การสรางหอ งเรยี น (ที่มา : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

15

หนาจอการทำงานของ Google Classroom

2 7 1

36

4

5

รปู ท่ี 12 หนาแรกของ Google classroom (ทมี่ า : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

หมายเลข 1 : ชื่อของรายวิชา หมายเลข 2 : แถบเมนูการใชงานของผูสอนและผูเรียน ประกอบดว ย

สตรีม : แถบเมนูแสดงขาวสาร งานทีม่ อบหมาย เอกสารตา ง ๆ ในรายวิชานัน้ ๆ งานในชั้นเรียน : แถบเมนูใชในการแจงขาวสาร มอบหมายงาน สงงานหรือแชรเอกสาร ประกอบการสอนตา ง ๆ ในรายวิชาน้ัน ๆ ผูค น : แถบเมนแู สดงรายช่ือผสู อน การเพม่ิ ผูส อน และผเู รยี น การเพมิ่ ผูเ รยี น เกรด : แถบเมนแู สดงรายละเอยี ดงานมอบหมายของรายวิชาและคะแนนท้งั หมดท่ไี ด หมายเลข 3 : สว นสำหรบั ประกาศขอความใหกบั นสิ ติ หมายเลข 4 : กิจกรรมทั้งหมดที่ผูสอนดำเนินการสรางไวจะถูกแจงเตือนขึ้นมาหากใกลถึง ชวงเวลาที่ กำหนด รวมไปถึงสามารถเรยี กดูกิจกรรมไดทั้งหมดดวยการคลิก ดูทั้งหมด (View All) และใหคะแนนไดท ันที โดย ไมตอ งเสยี เวลาในการเลือ่ นหากจิ กรรม ท่มี อบหมายไป หมายเลข 5 : สวนของการประกาศ มอบหมายงาน สงงาน หรือแชรเอกสารประกอบการสอน ตางๆ ใน รายวชิ านน้ั ๆ หมายเลข 6 : สวนของการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการแสดงของชั้นเรียน เชน เปลี่ยนรูปภาพ เลือกธีม เปน ตน หมายเลข 7 : สวนของการตั้งคาของหองเรียน การเปลี่ยนแปลงขอมูลของหองเรียน การกำหนดคะแนน กำหนดสิทธิข์ องผเู รยี นตาง ๆ และรวมถึงการสรางลงิ กการเรียนการสอน

16

การเพิม่ นสิ ิตเขา ชน้ั เรยี น มี 2 วิธี คือ 1 เพิ่มโดยใช Email ([email protected]) ของนิสติ ทีล่ งทะเบยี น (แนะนำ) 2 เพม่ิ โดยการนำ Code Room ไปใสในระบบ my.ku.th เพอื่ ประกาศใหน ิสิต Join Classroom

วิธที ่ี 1 เพิ่มจาก Email ([email protected]) ของนิสิตที่ลงทะเบยี น 1.1 ใหผ สู อนเขา ระบบ my.ku.th ไปรายวิชาท่ีนิสิตลงทะเบียน ดังรูปท่ี 13

ใสบญั ชี nontri เชน User: kpspls Pass: xxxxx

รูปที่ 13 หนา แรกของ website my.ku.th (ทีม่ า : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

1.2 หลังจากท่เี ขาระบบมาแลวใหส งั เกตเมนดู านซายมอื ทีเ่ ขียนวา “วชิ าทเ่ี ปดใหล งทะเบยี น” (ดงั ภาพ กรอกส่ีเหลียม) ดังรูปที่ 14

รูปที่ 14 เมนูการใชง้ านของระบบ my.ku.th (ทีม่ า : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

17

1.3 จะปรากฏหนาตางท่แี สดงใหค นหารายวชิ าท่เี ปด ใหล งทะเบียน ในภาคการศกึ ษาตา ง ๆ ดังรูปท่ี 15

คนหารายวชิ า : วิชาท่ีตองการรายชอ่ื เชน 01999111 วิทยาเขต : กำแพงแสน ปก ารศกึ ษา : 2564 ภาคการศกึ ษา : ตน

รปู ท่ี 15 หนา คน หาขอมูลรายวชิ า (ทม่ี า : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

1.4 จะปรากฏหนา ตางทีแ่ สดงใหเห็นถึงหมเู รยี นท่ีเปดสอนของรายวิชา 01999111 ใหกดเขา ไปดู รายชื่อผูลงทะเบยี นตามกรอบสแี ดง ดังรปู ท่ี 16

รูปที่ 16 คน หาขอ มลู รายวชิ า (ทม่ี า : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

18

1.5 จะปรากฏขอมูลของนสิ ติ ท่ลี งทะเบียนและสามารถ Export ไฟลได (จากสัญลักษณ ในกรอบสแี ดง ดังรปู ท่ี 17)

รูปที่ 17 ขอมูลการลงทะเบยี นของนิสิต และ Export (ท่ีมา : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

1.6 เมื่อกด จะไดร บั ไฟลดาวนโหลดขอ มูลของนสิ ิตทีล่ งทะเบียน ในไฟล Excel ตาม

ภาพ จะไดข อ มลู อีเมลของนสิ ิตทสี่ ามารถนำไปใสใ น Google Classroom ได ดงั รูปที่ 18

รูปท่ี 18 ไฟลท่ี export ตรวจสอบอเี มลของนิสติ ลงทะเบียน (ทีม่ า : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

19

1.7 หลงั จากท่ีเราไดขอมูลอีเมลของนิสิตแลว ใหกลับมาท่ีหนา Google Classroom ไปทเ่ี มนผู ูคน “people” ตาม หมายเลข 1 และกดที่ หมายเลข 2 เพือ่ จะเพมิ่ ผเู รยี นหรอื นิสติ (ดังรปู ท่ี 19) จะปรากฏหนาตา ง “เชญิ นักเรียน” ใหน ำอีเมลทไี่ ดจ ากไฟล Excel ในชอ ง Email Google มาใสใน หมายเลข 3 ดังรูปที่ 20

รปู ท่ี 19 เพ่ิมผเู รยี นในหองเรยี น (ทมี่ า : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

รปู ที่ 20 เพิม่ ผูเ รียนในหองเรยี น (ตอ) (ที่มา : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

20

1.8 หลังจากทใ่ี สอีเมลเรยี บรอ ยแลว ใหกด “เชญิ ” เพื่อสงขอ มูลหองใหก ับนสิ ิตเขา มาในหอ งเรยี นได ดังรปู ที่ 21

รูปที่ 21 หนา ท่เี พิ่มผูเรียนผา นอเี มล (ทมี่ า : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

วิธที ี่ 2 เพ่มิ จากการนำ Class code ไปใสใ นระบบ my.ku.th เพ่อื ประกาศใหน ิสติ Join Classroom 2.1. คลกิ ทีผ่ คู น (People) หมายเลข 1 หลงั จากนั้นใหเ ลอื กวา จะใหนสิ ิตเขารว มชั้นเรียนดว ยวิธีใด 2.2. ใหเขา รว มดว ยรหัสโดยแจงหรอื ประกาศรหัส ในกรอบสแี ดง ดงั รปู ดา นลางนี้

รูปท่ี 22 เพ่ิมผเู รยี น ผาน Class Code (ทม่ี า : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

21

2.3 สามารถนำไปประกาศในระบบลงทะเบยี นของนสิ ติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วทิ ยาเขตกำแพงแสน ได ผานระบบ my.ku.th ตามภาพตอ ไปน้ี

รูปที่ 23 หนา แรกของ website: my.ku.th ใสบ ญั ชี nontri เชน (ทีม่ า : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564) User: kpspls Pass: xxxxx 2.4 เขา มาในเมนู “รายวชิ า (อนุมตั ิเพ่ิม-ถอน/ประกาศ)” คนหา : วชิ าทต่ี อ งการรายชื่อ เชน รปู ที่ 24 เมนูของเว็บไซต my.ku.th 01999111 (ที่มา : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564) วทิ ยาเขต : *กำแพงแสน* เน่ืองจากเรยี นท่ีกำแพงแสน ปการศึกษา : 2564 ภาคการศกึ ษา : ตน

22

ผลทไ่ี ดห ลังจากเลือกแลวน้นั

สถานะของสัญลักษณ

\= มขี อมลู ประกาศในรายวชิ า/หมเู รยี นแลว \= ยงั ไมม ีขอ มลู ประกาศในรายวิชา/หมเู รยี น

รปู ท่ี 25 คน หารายวชิ าท่ีเปดสอน (ท่มี า : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

2.5 โดยสามารถคลิกใน เพอ่ื สรา งประกาศ หรอื เพอ่ื แกไ ขประกาศไดเชนกัน หากแกไข เรียบรอยแลว สามารถกด “บันทึก” ดังตวั อยางตอ ไปน้ี

รูปที่ 26 หนาเว็บไซตประกาศของรายวิชา (ที่มา : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

23

การสรา งงาน (Assignments) ผูสอนสามารถสรางงานในงานของชนั้ เรยี น (Classwork) แนบเอกสารประกอบการสอน มอบหมายงาน

ใหก ับช้ันเรยี น ตลอดจนใหค ะแนนและสง คืนใหก ับนิสติ หลงั จากที่ผสู อนสรางงานแลว นิสิตทุกคนในชน้ั เรียนจะ ไดรบั การแจงเตอื นทางอเี มล (ถานิสิตไมไดป ดการแจงเตือนไว) และจะเหน็ งานในชั้นเรียน (Classwork) ขั้นตอน การสรางงานในชน้ั เรียนมดี ังตอไปน้ี

1. เลอื กชั้นเรียนท่ีตองการสรา งงาน (Assignments) 2. เลือก “งานของช้ันเรียน” ตามหมายเลข 1 หลังจากนน้ั ไปทส่ี ราง ใหคลกิ 1 ครัง้ จะปรากฏขอ มูล ให เลอื ก “งาน” ตามหมายเลข 2 จะมีกลอ งขอ ความปรากฏ

รปู ที่ 27 หนาแรกของสรา งงานในชัน้ เรยี น (ทม่ี า : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

เคร่อื งมอื การใชง าน

รปู ที่ 28 หนาเครอ่ื งมือการใชงานในการสรา งงานในช้ันเรียน (ทม่ี า : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

24

หมายเลข 1 : ปอ นชอื่ กิจกรรมหรืองานทตี่ องการใหน สิ ติ ทำกจิ กรรม หมายเลข 2 : สรา งหัวขอ คอื อาจจะเปนช่อื ของบทเรียน หรือ ชอื่ ของเน้ือหาท่สี อน หมายเลข 3 : แทรกไฟลจาก Google Drive หมายเลข 4 : แนบไฟลรปู ภาพ หรือ ไฟลเอกสาร จากในเคร่อื งคอมพวิ เตอร หมายเลข 5 : แทรกลงิ ค (URL Link) หมายเลข 6 : แทรกไฟลว ดี ีโอ จาก Youtube หมายเลข 7 : แนบรายการใหม ท่เี ก่ียวของการ G-Suit หมายเลข 8 : กำหนดเวลาการสง งาน ของงานช้ินท่มี อบหมาย

การแกไ ขงานมอบหมายที่สรางไวแ ลว 1. คน หางานมอบหมายในหวั ขอ งานของชนั้ เรยี น ทตี่ องการจะแกไ ข

2. คลิก และเลอื กแกไ ข (Edit) ดงั ภาพ 3. เมอ่ื แกไ ขเสร็จแลว ใหก ดบนั ทึก (Save)

รปู ท่ี 29 หนา การแกไ ขการสรางงานในช้นั เรยี น (ทม่ี า : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

25

การลบงานที่โพสตแลว 1. คน หางานในงานของช้นั เรียน (Classwork) ท่ีตอ งการจะลบ ดงั หมายเลข 1

2. คลิก และเลอื กลบ (Delete) และกดลบ (Delete) ซ้ำอกี ที

รปู ที่ 30 ขัน้ ตอนการลบงานที่โพสในหอ งเรยี น (ท่มี า : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

หมายเหตุ ∙ กรณี ผูสอนตอ งการลบงาน คะแนนและความคิดเห็นท้ังหมดสำหรับงานนัน้ จะถกู ลบไปดว ย ไฟลแนบหรอื ไฟล อืน่ ๆ ท่ีผูส อนหรอื นสิ ิตไดสรางไวจ ะยังคงอยใู น Google Drive

การใชง านสว นเสรมิ ในการเรยี นการสอน ดวย Google meet

หลงั จากทีผ่ ูส อนไดสรา งงานหรือกจิ กรรมในหอ งเรยี นแลว ผสู อนยังสามารถนดั หมายใหน สิ ติ เขา เรียน

พรอ มกนั ได โดยมีขอ จำกดั ของโปรแกรมที่ไมเกนิ 100 คน โดยสามารถสรา ง Link Google Meet ในหอ งเรียนได

ทันที ดงั ตอไปนี้

1. เลอื กชนั้ เรยี นท่ีตองการสราง หองออนไลน โดยจะเหน็ เครื่องหมาย ตามกรอกสีเขียว ให

ผูสอน กด “สรางลิงก” เพ่ือสรา งหองออนไลนใหกบั ชั้นเรยี น

26

รูปท่ี 31 ขน้ั ตอนการสรา งลงิ ค google meet ในหองเรียน (ทม่ี า : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

2. หลังจากทกี่ ด “สรางลงิ ก” แลว จะปรากฏหนาตางจัดการลิงก โดยสามารถคัดลอกลิงกเ พื่อสง ใหนิสิตใน กลุมไลน ไดทันที หรือเปดใหมองเห็นหากนิสิตเขารวมในชั้นเรียนออนไลนเรียบรอยแลว ก็จะมองเห็นไดเชนกัน หลังจากทีจ่ ัดการลงิ ก Meet เรยี บรอยแลวกส็ ามารถกด “บันทึก”

รูปท่ี 32 ลิงคท่ีไดจากการสรา งในหองเรยี น (ท่มี า : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

3. หลงั จากท่กี ดบนั ทึกแลว ขอ ความจะเปล่ยี นเปน “เขารว ม”

รูปท่ี 33 สถานะการสราง google meet แลวเสร็จ (ทีม่ า : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

27

การเพ่ิมเกณฑค ะแนนและตดั เกรด หากพูดถึงการตัดเกรดของนิสิต ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบออนไลนแลว ก็ถือวาเปนสวน

หนึ่งของการวัดและประเมินผลการเรียนรูเปนที่กังวลกับผูสอนหลาย ๆ ทานวาจะมีเครื่องมือที่ชวยใหผูสอนตัด เกรดไดงายและสะดวกขึ้นหรือไม ในสวนนี้จะนำเสนอวิธีการตัดเกรดใน google classroom มาใหผูสอนได ทดลองใชงานกัน โดยมขี ้ันตอน ดังนี้

1. คลิกชนั้ เรยี น การตัง้ คา

รปู ที่ 34 ขั้นตอนการสรา งเกณฑในการตัดเกรด (ที่มา : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

2. เลอื กตวั เลือกการคำนวณเกรดโดยรวม (Overall Grade Calculation) • ไมม เี กรดโดยรวม จะไมมกี ารคำนวณเกรดใหน สิ ิต และนิสติ จะไมเ ห็นเกรดโดยรวม • คะแนนรวม หารคะแนนรวมท่ไี ดด วยคะแนนเต็ม และแสดงเกรดโดยรวมใหน สิ ิตเหน็ ได • การถว งน้ำหนกั ตามหมวดหมู รวมคะแนนจากหมวดหมตู า ง ๆ และแสดงเกรดโดยรวมใหน ิสติ เห็นได

รปู ท่ี 35 ข้ันตอนการสรา งเกณฑใ นการตดั เกรด (ตอ) (ท่ีมา : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

28

3. (ไมบงั คบั ) หากตอ งการแสดงเกรดโดยรวมใหน สิ ติ เหน็ ในหนาโปรไฟลของตน ใหค ลกิ แสดง หมายเหต:ุ ตวั เลอื กนี้จะใชไมไ ดห ากตง้ั คาการคำนวณเกรดเปนไมมเี กรดโดยรวม

รูปท่ี 36 ขนั้ ตอนการสรางเกณฑในการตดั เกรด (ตอ) (ทม่ี า : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

4. คลิกบนั ทึกท่มี มุ ขวาบน

การดาวนโ หลดคะแนน ออกมาเปน รูปแบบ google sheet หรือไฟล Excel นามสกุล .csv ดาวนโหลดคะแนนไปที่ชีต

1. ไปที่ classroom.google.com 2. คลิกชนั้ เรียน 3. ทีด่ า นบน ใหคลิกงานของชน้ั เรียน > คลกิ ทงี่ าน > ดูงาน 4. ในหนา งานของนสิ ติ ใหค ลกิ การตัง้ คา > คัดลอกคะแนนทง้ั หมดไปที่ Google ชีต

ระบบจะสรางสเปรดชตี ในโฟลเดอร Classroom ในไดรฟ

รปู ท่ี 37 ข้ันตอนการดาวโหลดคะแนน (ท่มี า : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

29

ดาวนโ หลดคะแนนเปน ไฟล CSV

1. ไปท่ี classroom.google.com 2. คลกิ ชัน้ เรยี น 3. ทด่ี านบน ใหค ลกิ งานของชน้ั เรียน > คลิกทงี่ าน > ดูงาน 4. ในหนางานของนิสติ ใหค ลกิ การตัง้ คา แลว เลือกตัวเลือกดังน้ี

• หากตอ งการดาวนโ หลดคะแนนสำหรับงาน 1 รายการ ใหเ ลอื กดาวนโหลดคะแนนเหลา นเ้ี ปน CSV

• หากตองการดาวนโ หลดคะแนนท้ังหมดของชน้ั เรยี น ใหเลอื กดาวนโ หลดคะแนนท้ังหมดเปน CSV

5. ระบบจะบนั ทึกไฟลไ ปยงั คอมพิวเตอร

รูปที่ 38 ไฟลค์ ะแนนทถี่ กู บนั ทกึ ลงคอมพวิ เตอร์ (ท่ีมา : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

30

การใชง าน Microsoft Teams Microsoft Teams (เรียกสั้น ๆ วา Teams) คือเครื่องมือที่ถูกออกแบบมาเพื่อเปนสื่อกลางในการทำงาน

ในดานตาง ๆ เชน การติดตอสื่อสาร การนัดหมาย การประชุม การประกาศและติดตาม ขาวสาร การติดตามงาน หรือโครงการตาง ๆ เปนตน โดยเปนเหมือนศูนยกลางในการเขาถึงบริการตาง ๆ ที่มีอยู ในตัวระบบ Office 365 เชน จัดการการสนทนา ไฟล และเครื่องมือของคุณทั้งหมดในพื้นที่ทำงานของทีมที่เดียว รวมทั้งสามารถเขาถึง SharePoint, OneNote, PowerBI และ Planner ไดในทนั ที สรา งและแกไข เอกสารไดโดยตรงจากในแอป ทำให ทีมของคุณมีสวนรวมอยูเสมอดวยการรวมอีเมล คนหาทั่วบุคคล ไฟล และ การสนทนาไดอยางอัจฉริยะจาก Microsoft Graph

อีกทั้งมีจุดเดนในดานความสะดวกสบาย ความปลอดภัย รูปรางหนาตาที่ทันสมัยใชงานงาย รวมถึงยังมี การจัดการแบงพื้นที่หรือกลุมในการทำงานกันอยางชัดเจน ใชเปนพื้นที่ทำงานรวมกันสำหรับบุคลากรและ เจาหนาท่ี การเขา ใชง านโปรแกรม Microsoft Teams

สำหรบั นิสติ และผูสอน สามารถเขาใชผ านบญั ชีผูใช Microsoft ไดท ่บี ัญชี [email protected] การ Login เขาสูระบบสามารถเขาไปไดที่ https://www.office.com จากนั้นกด Sign In เพื่อพิมพชื่อ ผูใชและ รหสั ผานทีท่ า นไดรบั ดงั รูปที่ 39

รปู ท่ี 39 Sign in เขา ระบบของ Microsoft (ทม่ี า : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

หลังจากนัน้ คลกิ ทเี่ มนู Teams เพือ่ เขา สหู นา Dashboard ของ Microsoft Teams (ตอ จากน้จี ะ เรียกวา team) ดังรปู ท่ี 2 จะแสดง Dashboard ของ Teams ดงั รปู ท่ี 40-41

รปู ที่ 40 เขาสู Dashboard Teams (ทม่ี า : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

31

รูปท่ี 41 Teams Dashboard (ท่ีมา : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

ผูใช สามารถเปลี่ยนแปลงการตั้งคาภาษาไทยของเมนูใน Team ไดโดยไปที่เมนู Setting โดย คลิกท่ี ไอคอนมุมขวาบน (1) และคลิกที่เมนู Manage Account (2) ดังแสดงในรูปที่ 4 และคลิกที่เมนู Setting (3) ดัง แสดงในรปู ที่ 42-43

รูปที่ 42 การต้ังคาภาษาใน Teams (ทีม่ า : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

รปู ท่ี 43 การตั้งคา ภาษาใน Teams (ตอ ) (ทมี่ า : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

32

คลกิ ท่ีเมนู Language (4) เปล่ยี นการต้ังคา ภาษาไทย ในรปู ที่ 6 หลงั จากน้นั กด Save and restart (5) ดงั รูปท่ี 44

รปู ที่ 44 การตง้ั คา ภาษาใน Teams (ทม่ี า : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

33

สวนตาง ๆ ของ Microsoft Teams สำหรับกลุมเมนหู ลกั ของตัวโปรแกรม Teams จะอยใู นแถบดา นซายมือ ในโซนสีเขม ๆ เปน หลกั ซงึ่ จะ

ประกอบดวย (ดงั รูปที่ 45) 1. กิจกรรม (Activity) สำหรบั เรียกดกู ิจกรรมตา ง ๆ ทผี่ สู อนทำงานอยูในระบบ (เสมอื น News Feed) 2. การแชท (Chat) สำหรับสนทนากับผใู ชง านอืน่ ๆ ท้ังแบบเดี่ยวและแบบกลุม 3. ทมี (Teams) พน้ื ท่ีการทำงานสำหรับกลมุ ของทา น (จะอธบิ ายละเอยี ดในหวั ขอ ถัดไป) 4. งานที่มอบหมาย (Assignments) หากทา นสรางพนื้ ทกี่ ลุม ในรปู แบบ Classes หรอื เปน สมาชกิ ทา น สามารถสรา ง Assignment หรอื ตรวจสอบงานที่ทานสงไปแลว ได 5. ปฏทิ นิ (Calendar) ตารางการนดั หมายของทา น 6. การโทร (Call) ทานสามารถโทรหาทีมหรือผูต ิดตอของทา นไดท ่เี มนนู ้ี 7. ไฟล (File) เรียกดู file ของทา นท่ีเก็บอยูใ นสวนตา ง ๆ ในทเ่ี ดยี ว

รูปท่ี 45 เมนูของ Ms Teams (ท่ีมา : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

34

การสรา งทมี ในการสรา งทีมของผูสอน สามารถสรางโดยเขาไปทเี่ มนู “ทีม” ทอ่ี ยแู ทปซายมอื ทีห่ นา จอ และคลกิ ที่เมนู

Join or create team (1) และคลกิ ท่ีเมนู create team (2) สรา งทมี ดังรูปที่ 46-47

รปู ที่ 46 การสรา งทีม (ทีม่ า : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

รูปที่ 47 การสรางทีม (ตอ) (ทีม่ า : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

หลังจากนน้ั เลือกประเภทของทมี ในทน่ี ้ีจะเลอื กเปนชนั้ เรียนดังรูปท่ี 48

รูปท่ี 48 การเลือกประเภทของทีม (ท่มี า : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

35

หลังจากนน้ั ตัง้ ชอื่ ทีมของทานและคำอธบิ ายของทีมและคลกิ ถัดไปจะปรากฏหนาจอดงั รูปที่ 49

รูปท่ี 49 ตง้ั ชือ่ ทีมและคำอธิบาย (ท่ีมา : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

หลังจากนั้นจะปรากฏหนาจอการเพ่ิมบุคคลเขา ไปในทมี ซง่ึ บางรายวชิ าอาจมีผสู อนหลายทา น สอน รวมกัน ทานสามารถเพม่ิ ผสู อนเขา ไปในชน้ั เรยี นได โดยคลิกท่ีแท็ป Teachers “ครู” ดงั รปู ท่ี 50

รปู ที่ 50 การเพ่ิมผสู อนเขาช้นั เรียน (ทมี่ า : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

จากน้ันคน หาผูส อนรว มโดยพมิ พชอื่ หรืออีเมลของผสู อนทานนน้ั เพื่อคน หาในระบบ โดยผสู อนตองมบี ญั ชี ของ Microsoft กอ น แลวกดทีเ่ มนู “เพมิ่ ” ดงั รูปที่ 51

รูปที่ 51 การเพม่ิ ผูส้ อนเขา้ ชนั้ เรียนผา่ นอเี มล (ท่มี า : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

36

หลงั จากนัน้ จะเขา สชู ้นั เรียนของทา น ซึ่งจะมีหนา ตาของช้ันเรยี นและเมนตู าง ๆ ของการทำงาน ดังรูปที่ 52

รปู ที่ 52 หนาแรกของชน้ั เรยี น (ทม่ี า : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

การเชญิ ผคู นเขา รวมทมี หรอื การเพ่มิ บคุ คลเขา ในทีม การเพ่มิ บุคคลอื่นเขาในทมี สามารถทำได 2 วธิ ี คอื เพิม่ โดยใชอ ีเมลของบุคคลทีต่ องการเพ่ิม หรอื สรา ง

รหสั เขาทมี เพื่อสง ใหบุคคลอนื่ มาเขาทมี มขี ั้นตอนท่ีสำคญั ดังนี้ 1. การเพิม่ ดวยตัวเอง การเพม่ิ บุคคลอื่นเขาทีมดว ยตัวเอง สามารถเพมิ่ ดว ยการเขา เมนู จัดการทีม โดยคลิกทจี่ ุด 3 จุด ทาง

ซายมือ ดังรูปท่ี 53

รปู ท่ี 53 การจดั การทมี (ท่มี า : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

37

หลังจากนั้นจะปรากฏหนาจอการจดั การทีม ใหคลิกที่เมนู “เพ่ิมสมาชิก” ดงั รูปที่ 54

รปู ที่ 54 การเพ่มิ สมาชิกในทีม (ที่มา : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

หลังจากนัน้ ผสู อนสามารถเพมิ่ สมาชิกโดยพิมพช ่ือของนิสติ หรือ ช่ืออีเมลของบุคคลอนื่ ที่ ตอ งการเพ่มิ เขา ทมี โดยบคุ คลนนั้ ตองมบี ญั ชีของ Microsoft กอนจึงจะคน หาเจอ ดงั รปู ที่ 55

รปู ท่ี 55 การคน หาบุคคลเขารว มทีม (ที่มา : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

“Tip! ผสู อนสามารถหาอเี มลของนสิ ติ ไดจากระบบ my.ku.th ซงึ่ คลายกบั การใชง าน Google Classroom”

2. การสรา งรหสั เขา ทมี การสรางรหัสทมี เพื่อเชญิ ใหก บั บุคคลท่ที า นตองการใหเ ขา รวมทมี สามารถเขา ไปทีเ่ มนูการตง้ั คา “Setting” คลกิ แถบรหัสทมี “Code team” และคลิกปมุ สราง “Generate” ดงั รูปท่ี 56

รูปที่ 56 การสรา งรหสั ทมี (ทีม่ า : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

38

หลงั จากนนั้ ผูสอนสามารถนำโคด รหสั ทมี ของชน้ั เรียน เพ่ือสงตอใหกับนิสติ หรือบคุ คลทตี่ อ งการเชิญ เขา ทมี ของตน การสรา งการนัดหมาย หรือ การมอบหมายงาน

การสรา งการนัดหมาย หรอื การมอบหมายงาน สามารถเขา ไปทีเ่ มนูงานทม่ี อบหมาย “Assignments” โดยคลิกทีแ่ ถบมอบหมายงาน (1) “Assignments” และ คลิกสรา ง (2) “Create” ดังรูปท่ี 57

รูปท่ี 57 การสรางการนดั หมาย หรอื การมอบหมายงาน (ทม่ี า : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

การสรา งงานทีม่ อบหมายใหม ใหค ลิกทแี่ ถบงานที่มอบหมาย “Assignments” ดังรูปที่ 58

รปู ที่ 58 การสรางงานท่ีมอบหมายใหม (ท่ีมา : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

39

รูปที่ 59 มอบหมายงาน (ทม่ี า : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

รปู ท่ี 60 มอบหมายงานแลว (ที่มา : นายพัลลภ สุวรรณฤกษ, 2564)

หลังจากนน้ั จะปรากฏหนาจอการสรา งงานมอบหมายดังปรากฏในรูปที่ 59 ใหท านกรอกขอมลู ให ครบถวน หลงั จากนั้นใหก ดมอบหมาย “Assign” งานจะปรากฏในแถบเมนู “งานทม่ี อบหมายแลว ” ดังรูปที่ 60

40

เม่ือคลกิ เขาไปดใู บงาน จะปรากฏรายละเอียดตา ง ๆ ของงาน เชน การแกไ ขใบงาน การดู มุมมองของ นสิ ติ การเช็ควาใครสงงานแลว บา ง ดงั รูปท่ี 61

รูปท่ี 61 รายละเอยี ดของใบงานทีม่ อบหมาย (ทมี่ า : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

การสอนสด หรือ VDO Conference การสอนสด หรือ VDO Conference แบบเปนกลุม สามารถเขาไปโดยไปที่แถบ “ทั่วไป” แลวคลิกท่ี

ไอคอนรปู กลองวีดีโอดา นบน และเลือกเมนูประชมุ ในตอนนี้ “Meet now” ดงั รปู ที่ 62

รูปที่ 62 การสอนสด หรือ vdo conference (ท่ีมา : นายพัลลภ สวุ รรณฤกษ, 2564)

41

จากนนั้ ผสู อนสามารถเปดการประชมุ ไดท ันที โดยคลกิ ทีเ่ มนูประชมุ ในตอนนี้ “Join now” ดงั รปู ที่ 63