3. หน่วย รับ เข้า ซีพียู หน่วย ความ จำ และ หน่วย ส่ง ออก มี การ ทำ งาน ที่ สัมพันธ์ กัน อย่างไร


         1. องค์ประกอบทางด้านฮาร์ดแวร์ (Hardware)

          หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำงาน ได้ 5 หน่วย  ดังนี้

3. หน่วย รับ เข้า ซีพียู หน่วย ความ จำ และ หน่วย ส่ง ออก มี การ ทำ งาน ที่ สัมพันธ์ กัน อย่างไร

ส่วนประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์


         1.1 ส่วนรับข้อมูล (Input Unit) เป็น ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลจากคน และส่งต่อข้อมูลไปยัง หน่วยประมวลผล(Process Unit) เพื่อทำการประมวลผลต่อไป รูปแบบการส่งข้อมูลจากอุปกรณ์รับข้อมูลจะอยู่ในรูปของการส่งสัญญาณเป็นรหัสดิจิตอล (หรือเป็นเลข 0 กับ 1) นั่นเอง อุปกรณ์ส่วนรับข้อมูล ได้แก่

3. หน่วย รับ เข้า ซีพียู หน่วย ความ จำ และ หน่วย ส่ง ออก มี การ ทำ งาน ที่ สัมพันธ์ กัน อย่างไร

3. หน่วย รับ เข้า ซีพียู หน่วย ความ จำ และ หน่วย ส่ง ออก มี การ ทำ งาน ที่ สัมพันธ์ กัน อย่างไร

   - คีย์บอร์ด (keyboard)

    - เมาส์ (mouse)

3. หน่วย รับ เข้า ซีพียู หน่วย ความ จำ และ หน่วย ส่ง ออก มี การ ทำ งาน ที่ สัมพันธ์ กัน อย่างไร

3. หน่วย รับ เข้า ซีพียู หน่วย ความ จำ และ หน่วย ส่ง ออก มี การ ทำ งาน ที่ สัมพันธ์ กัน อย่างไร

    - สแกนเนอร์ (scanner)

 - อุปกรณ์สแกนลายนิ้วมือ (finger scan)

3. หน่วย รับ เข้า ซีพียู หน่วย ความ จำ และ หน่วย ส่ง ออก มี การ ทำ งาน ที่ สัมพันธ์ กัน อย่างไร

3. หน่วย รับ เข้า ซีพียู หน่วย ความ จำ และ หน่วย ส่ง ออก มี การ ทำ งาน ที่ สัมพันธ์ กัน อย่างไร

   - ไมโครโฟน(microphone)

   - กล้องเว็บแคม (webcam)

    อุปกรณ์ใน ส่วนรับข้อมูล ยังมีอีกมากมายและสามารถจะยังมีเพิ่มตามขึ้นไปเรื่อยๆ ตามการพัฒนาด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

           1.2 หน่วยประมวลผลกลาง (CPU หรือ Central Processing Unit)
         หน่วยประมวลผลกลาง หรือไมโครโพรเซสเซอร์ของไมโครคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่นำคำสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ใน หน่วยความจำมาแปลความหมาย และกระทำตามคำสั่งพื้นฐานของไมโครโพรเซสเซอร์ ซึ่งแทนด้วยรหัสเลขฐานสอง

                                                 

3. หน่วย รับ เข้า ซีพียู หน่วย ความ จำ และ หน่วย ส่ง ออก มี การ ทำ งาน ที่ สัมพันธ์ กัน อย่างไร

         การทำงานของคอมพิวเตอร์ ใช้หลักการเก็บคำสั่งไว้ที่หน่วยความจำ ซีพียูอ่านคำสั่งจากหน่วยความจำมาแปล ความหมาย และกระทำตามเรียงกันไปทีละคำสั่ง หน้าที่หลักของซีพียู คือควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ ตลอดจนทำการประมวลผล
         กลไกการทำงานของซีพียู มีความสลับซับซ้อน ผู้พัฒนาซีพียูได้สร้างกลไกให้ทำงานได้ดีขึ้น โดยแบ่งการทำงาน เป็นส่วน ๆ มีการทำงานแบบขนาน และทำงานเหลื่อมกันเพื่อให้ทำงานได้เร็วขึ้น

3. หน่วย รับ เข้า ซีพียู หน่วย ความ จำ และ หน่วย ส่ง ออก มี การ ทำ งาน ที่ สัมพันธ์ กัน อย่างไร

         หน่วยนี้จะประกอบด้วยหน่วยย่อยๆ อีก 2 หน่วย  ได้แก่  หน่วยคำนวณเลขคณิตและตรรกวิทยา (ALU หรือ Arithmetic and Logical Unit)  และ หน่วยควบคุม (CU หรือ Control Unit)

           1.3 หน่วยความจำหลัก (Main Memory)  เป็นหน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์  แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
          1. รอม (ROM : Read Only Memory)  เป็นหน่วยความจำหลักที่
                    -  ใช้บรรจุโปรแกรมสำคัญ ที่ใช้ในการสตาร์ทอัพเครื่อง
                    -  เก็บโปรแกรมคำสั่งไว้อย่างถาวร
                    -  ไม่ต้องใช้กระแสไฟฟ้าเลี้ยง ข้อมูลก็จะยังคงอยู่
                    -  เขียนหรือบันทึกข้อมูลคำสั่งได้เพียงครั้งเดียว ในขั้นตอนการผลิตเครื่องจากโรงงาน ไม่สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้อีก
                    -  อ่านข้อมูลได้อย่างเดียว และการเข้าถึงข้อมูลเป็นแบบสุ่ม

3. หน่วย รับ เข้า ซีพียู หน่วย ความ จำ และ หน่วย ส่ง ออก มี การ ทำ งาน ที่ สัมพันธ์ กัน อย่างไร

          2. แรม (RAM : Random Access Memory) ถือเป็นหน่วยความจำของระบบ ( System Memory ) ซึ่งสามารถเขียนข้อมูลลงไปได้ตลอดเวลา ใช้เป็นที่เก็บข้อมูลแบบชั่วคราว โปรแกรมหรือชุดคำสั่งจะทำงานได้ก็ต่อเมื่อมันถูกโหลดลงในแรมเสียก่อน แต่เพราะว่าแรมนั้นไม่สามารถที่จะเก็บข้อมูลได้เมื่อไม่มีไฟมาเลี้ยงตัวมัน ( เมื่อเปิดเครื่องก็จะหายไป )                               
            

3. หน่วย รับ เข้า ซีพียู หน่วย ความ จำ และ หน่วย ส่ง ออก มี การ ทำ งาน ที่ สัมพันธ์ กัน อย่างไร

                                              -  ทำหน้าที่เก็บข้อมูลที่รับเข้ามาจากหน่วยรับข้อมูล  เพื่อนำไปประมวลผล
                    -  ทำหน้าที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้ขณะทำการประมวลผลซึ่งยังไม่ใช่ผลลัพธ์สุดท้าย  
                    -  ทำหน้าที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลซึ่งเป็นผลลัพธ์สุดท้าย
                    -  ทำหน้าที่เก็บชุดคำสั่งต่างๆ ขณะที่เรากำลังทำงานอยู่กับเครื่อง
                        เพื่อใช้ในการประมวลผล
                    -  เป็นหน่วยความจำที่เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมไว้ชั่วคราว สร้างขึ้นเพื่อผู้ใช้โดยตรง
                    -  สามารถอ่านหรือเขียนทับข้อมูลลงไปได้ตามต้องการ ถ้าไฟดับข้อมูลจะสูญหาย
                    -  การเข้าถึงข้อมูลเป็นแบบสุ่ม

       1.4 หน่วยความจำสำรอง  เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูล และโปรแกรมที่ต้องการใช้งานในคราวต่อไปได้   ซึ่งสามารถบรรจุข้อมูลและโปรแกรมได้เป็นจำนวนมาก
อุปกรณ์ที่เป็นหน่วยความจำสำรอง ได้แก่

  • จานแม่เหล็ก (Magnetic Disk)  
    3. หน่วย รับ เข้า ซีพียู หน่วย ความ จำ และ หน่วย ส่ง ออก มี การ ทำ งาน ที่ สัมพันธ์ กัน อย่างไร

    ฮาร์ดิสก์

    จานแม่เหล็กสามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง (Direct Access)  ได้แก่  ฮาร์ดดิสก์ และฟล็อปปี้ดิสก์

  • เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape)  สามารถบันทึกและเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลำดับ (Sequential Access) การบันทึกทำโดยสร้างสนามแม่เหล็กลงบนเนื้อเทป
  • จานแสง (Optical Disk)  
  •  ซีดีไรเตอร์ (CD-ReWritable Drive) มีอุปกรณ์บันทึกขนาด 24X10X40X หมายถึง สามารถบันทึกลงสื่อ CD-R ได้ด้วยความเร็ว 24X และบันทึกลงสื่อ CD-RW ได้ด้วยความเร็ว 10X และสามารถอ่านสื่อได้ด้วยความเร็ว 40X นั่นเอง ซึ่งแผ่นสื่อ CD นี้ส่วนใหญ่จะบรรจุข้อมูลได้ 700 MB
  •  ดีวีดี(DVD หรือ Digital Versatile Disk) แผ่นดีวีดีสามารถเก็บข้อมูลได้ต่ำสุดที่ 4.7 จิกะไบต์ ซึ่งเพียงพอสำหรับเก็บภาพยนตร์เต็มเรื่องด้วยคุณภาพสูงสุดทั้งภาพและเสียง (ในขณะที่ CD-ROM หรือ Laser Disk ที่นิยมใช้เก็บภาพยนตร์ในปัจจุบันต้องใช้หลายแผ่น) ข้อกำหนดของดีวีดีจะสามารถมีความจุได้ตั้งแต่ 4.7 GB ถึง 17 GB และมีความเร็วในการเข้าถึง (Access time) อยู่ที่ 600 กิโลไบต์ต่อวินาที ถึง 1.3 เมกะไบต์ต่อวินาที

        

 1.5  หน่วยแสดงผล (Output Unit) เป็นหน่วยที่แสดงผลลัพธ์ที่มาจากการประมวลผลข้อมูล ของส่วนประมวลผลข้อมูล โดยปกติรูปแบบของการแสดงผล มีอยู่ 2 แบบ ด้วยกันคือ แบบที่สามารถเก็บไว้ดูภายหลังได้ และแบบที่ไม่มีสำเนาเก็บไว้

    - แบบที่สามารถเก็บไว้ดูภายหลังได้ เช่น เครื่องพิมพ์ (Printer) และ เครื่องวาด (Plotter)

3. หน่วย รับ เข้า ซีพียู หน่วย ความ จำ และ หน่วย ส่ง ออก มี การ ทำ งาน ที่ สัมพันธ์ กัน อย่างไร

3. หน่วย รับ เข้า ซีพียู หน่วย ความ จำ และ หน่วย ส่ง ออก มี การ ทำ งาน ที่ สัมพันธ์ กัน อย่างไร

เครื่องพิมพ์ (Printer)

เครื่องวาด (Plotter)

    - แบบที่ไม่มีสำเนาเก็บไว้ เช่น จอภาพ(Monitor) , เครื่องฉายภาพ(LCD Projector) และ ลำโพง (Speaker)

3. หน่วย รับ เข้า ซีพียู หน่วย ความ จำ และ หน่วย ส่ง ออก มี การ ทำ งาน ที่ สัมพันธ์ กัน อย่างไร

3. หน่วย รับ เข้า ซีพียู หน่วย ความ จำ และ หน่วย ส่ง ออก มี การ ทำ งาน ที่ สัมพันธ์ กัน อย่างไร

จอภาพ (monitor)

เครื่องฉายภาพ (LCD Projector)