สิทธิผู้บริโภค 5 ประการ ตัวอย่าง

                ยังมีรายละเอียดเกี่ยวกับกระบวนวิธีพิจารณาในศาล ซึ่งเป็นประโยชน์และสร้างความเป็นธรรม รวมทั้งมีแต้มต่อให้กับ ผู้บริโภคอีกหลายประเด็น แต่อย่างไรก็ตามเจตนารมณ์ เบื้องต้นของศาลผู้บริโภค จะดำเนินการไกล่เกลี่ยให้คู่ความได้ตกลงกัน หรือ ประนีประนอม ยอมความเป็นสำคัญ แต่ขอย้ำต่อจากนี้ไปผู้ประกอบการธุรกิจจะถูกผู้บริโภคฟ้องง่ายขึ้น และมากขึ้น ทั้งเป็นเรื่องใหม่ต่อ ศาลที่จะต้องรับภาระคดีพิพาทระหว่างผู้ประกอบการธุรกิจ และผู้บริโภค อย่างไรก็ตาม หากผู้ประกอบการธุรกิจมีความรับ ผิดชอบต่อ สินค้า หรือการให้บริการ มีความสุจริตจริงใจไม่ค้ากำไรเกินควร ก็ไม่ต้องกลัวว่าจะต้องขึ้น “ศาลผู้บริโภค” แต่อย่างไร

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่ให้ความสำคัญของการคุ้มครองผู้บริโภค โดยบัญญัติถึงสิทธิของผู้บริโภคไว้ในมาตรา 57 ว่า”สิทธิของบุคคลซึ่งเป็นผู้บริโภคย่อมได้รับความคุ้มครองทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ


พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541 ได้บัญญัติสิทธิของผู้ บริโภคที่จะได้รับความคุ้มครอง



ตามกฎหมาย 5 ประการ ดังนี้


1. สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคำพรรณนาคุณภาพที่ถูกต้องและเพียงพอเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ ได้แก่ สิทธิที่ จะได้รับการโฆษณาหรือการ


แสดงฉลากตามความเป็นจริงและปราศจากพิษภัยแก่ผู้บริโภค รวมตลอดถึงสิทธิที่จะได้รับทราบ ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการอย่างถูกต้องและเพียงพอที่จะ


ไม่หลงผิด ในการซื้อสินค้าหรือรับบริการโดยไม่เป็นธรรม


2. สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการ ได้แก่ สิทธิที่จะเลือกซื้อสินค้าหรือรับบริการโดยความ สมัครใจของผู้บริโภค และปราศจากการ


ชักจูงใจอันไม่เป็นธรรม


3. สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ ได้แก่ สิทธิที่จะได้รับสินค้าหรือบริการที่ปลอดภัย มีสภาพและคุณภาพได้มาตรฐาน


เหมาะสมแก่การใช้ ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกายหรือทรัพย์สิน ในกรณีใช้ตามคำแนะนำหรือระมัดระวังตามสภาพของสินค้าหรือบริการนั้นแล้ว


4. สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญา ได้แก่ สิทธิที่จะได้รับข้อสัญญาโดยไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบจากผู้ประกอบธุรกิจ


5. สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย ได้แก่ สิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองและชดใช้ค่าเสียหาย เมื่อมีการละเมิดสิทธิของผู้บริโภค

สิทธิ 5 ประการของผู้บริโภค

  พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่2) พ.ศ. 2541 ได้บัญยัติให้ความคุ้มครองผู้บริโภคไว้ 5 ประการ ดังนี้

1.) สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคำพรรณนาคุณภาพที่ถูกต้องและเพียงพอเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ   ผู้บริโภคมีสิทธิที่จะได้รับการโฆษณาหรือการแสดงฉลากตามความเป็นจริงปราศจากพิษภัยและรับทราบข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการอย่างถูกต้องและเพียงพอ

2.) สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกซื้อสินค้าหรือบริการ ผู้บริโภคมีสิทธิที่จะเลือกซื้อสินค้าหรือรับบริการตามความสมัครใจ ปราศจากการชักจูงไม่เป็นธรรม

3.) สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากาารใช้สินค้าหรือบริการ ผู้บริโภคมีสิทธิที่จะได้รับสินค้าหรือบริการที่ปลอดภัย มีสภาพและคุณภาพมาตราฐาน ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สินหากใช้ตามคำแนะนำหรือระมัดระวังตามสภาพของสินค้าและบริการนั้น

4.) สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมจากการทำสัญญา  ผู้บริโภคมีสิทธิที่จะได้รับข้อสัญญา โดยไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบจากผู้ประกอบธุรกิจ

5.)สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย ผู้บริโภคมีสิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองและชดใช้ค่าเสียหายเมื่อถูกละเมิดจากข้อ 1,2,3 และ 4

สิทธิผู้บริโภค 5 ประการมีอะไรบ้าง

5 สิทธิผู้บริโภคที่ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย.
สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคำพรรณนาคุณภาพที่ถูกต้อง และเพียงพอเกี่ยวกับสินค้าและบริการ.
สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการ.
สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ.
สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญา.
สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย.

ในฐานะผู้บริโภคนักเรียนได้รับสิทธิอะไรบ้าง

สิทธิขั้นพื้นฐานของผู้บริโภค.
1. สิทธิที่จะได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง (Right to be informed) ผลิตภัณฑ์ ... .
2. สิทธิที่จะเลือกใช้บริการได้อย่างอิสระ (Right to choose) บุคลากรหรือกระบวนการ ... .
3. สิทธิที่จะร้องเรียนเพื่อความเป็นธรรม (Right to be heard) ... .
4. สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาค่าชดเชยหากเกิดความเสียหาย (Right to redress).

สิทธิผู้บริโภคสื่อ พ.ศ.2522 มีกี่ประการ

รู้หรือไม่ – พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.. 2522 แก้ไขเพิ่มเติม .. 2541 มีหลักการสำคัญเรื่องคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค 5 ประการคือ สิทธิที่จะได้รับข่าวสารข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการที่ถูกต้อง สิทธิที่จะเลือกซื้อสินค้าและบริการ สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าและบริการ

สิทธิผู้บริโภคสากล 8 ประการประกอบด้วยอะไรบ้าง

ข่าวสาร และรณรงค์.
ด้านการเงินและการธนาคาร.
ด้านการขนส่งและยานพาหนะ.
ด้านอสังหาริมทรัพย์และที่อยู่อาศัย.
ด้านอาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพ.
ด้านบริการสุขภาพ.
ด้านสินค้าและบริการทั่วไป.
ด้านการสื่อสาร โทรคมนาคม และเทคโนโลยีสารสนเทศ.
ด้านบริการสาธารณะ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม.