ตัวอย่าง โครง งาน นาฏศิลป์ สร้างสรรค์

2.1.1 ทฤษฎีทัศนศลิ ป.์ ....................................................................................................

2.1.1.1 ทัศนศิลป์ (Visual Arts).........................................................................

2.1.1.2 โสตศลิ ป์ (Aural Art)..............................................................................

2.1.1.3 โสตทัศนศลิ ป์ (Audiovisual Arts).........................................................

2.1.2 ทฤษฎีแหง่ การเคล่อื นไหว......................................................................................

สารบญั (ต่อ)

บทท่ี หนา้

2.1.2.1 การใช้พลงั ............................................................................................... 19 2.1.2.2 การใช้ท่วี า่ ง.............................................................................................. 19

2.2 ข้นั ตอนการเกดิ ความคดิ สร้างสรรค์.................................................................................. 20

2.2.1 ข้ันเตรยี ม (Preparation).................................................................................... 20 2.2.2 ขั้นฟักตวั (Incubation) ....................................................................................... 20 2.2.3 ขน้ั คิดออก (Illumination or Inspiration)......................................................... 20 2.2.4 ข้ันพสิ จู น์ (Verification)....................................................................................... 20 2.3 กระบวนการสร้างสรรค์นาฏศิลป.์ ..................................................................................... 21 3 การสร้างผลงานนาฏศิลป์......................................................................................................... 27

3.1 แนวคิด............................................................................................................................... 27

3.2 ทา่ ทาง................................................................................................................................ 31

3.2.1 รปู รา่ ง รปู ทรง........................................................................................................ 31 3.2.2 ท่าทางธรรมชาตแิ ละการเคลอ่ื นไหวแบบอสิ ระ..................................................... 31 3.2.3 การสือ่ สารดว้ ยอารมณ์.......................................................................................... 31 3.2.4 ท่าพน้ื ฐานจากนาฏยลักษณ์ในประเภทต่างๆ......................................................... 31 3.3 การใชพ้ ื้นท่ี การแปรแถว.................................................................................................. 32

3.3.1 ลักษณะเวที............................................................................................................. 32 3.3.2 ตำแหนง่ เวท.ี .......................................................................................................... 32 3.3.3 การใชพ้ น้ื ทแี่ ละการแปรแถว................................................................................... 33

3.4 เพลง ดนตร.ี ....................................................................................................................... 33

1 โครงงานนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ การแขง่ ขันศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี นครง้ั ที่ 67 ปกี ารศึกษา 2560 “อัคราภิรกั ษ์ศิลปิน” ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนตน้ ม.6 นายสมศักด์ิ ทองปาน ครูเชี่ยวชาญ โรงเรยี นเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครนิ ทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภส์ มเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าสยามบรมราชกมุ ารี สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 18 (ชลบรุ -ี ระยอง) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร 2 คานา โครงงานนาฏศลิ ป์ไทยสร้างสรรค์ ชุดอัคราภิรกั ษ์ศลิ ปนิ ข้าพเจา้ ไดจ้ ัดทาข้นึ เพื่อสร้างกรอบการเรยี นรู้ ภายใตโ้ ครงงานนาฏศลิ ป์ สาหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษา ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ในการนีไ้ ด้หยบิ ยกผลงาน การสรา้ งสรรค์ชุดน้ีเข้าประกวด นาฏศิลปไ์ ทยสร้างสรรคใ์ นการแขง่ ขนั ศลิ ปหัตถกรรมนักเรียนครั้งท่ี 67 ประจาปี การศึกษา 2560 ในการจดั ทาครง้ั น้ี ผู้สอนได้แรงบันดาลใจที่จะสรรหา หวั ขอ้ ทีน่ า่ สนใจท่ีจะนามาสร้างสรรค์ให้ เกดิ ความศรัทธา สนุกสนาน และเป็นเร่ืองจรงิ ทีย่ ังคงสบื สานกันอยู่ในปัจจบุ ัน ดว้ ยปัจจุบนั เหล่าพสกนิกรชาวไทย มคี วามรกั และห่วงใยในสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ แมแ่ ห่งแผน่ ดนิ หลงั จากทพ่ี ระองคท์ ่านไดท้ รงพระ ประชวร เราทกุ คนล้วนต่างแสดงความรักความห่วงใยในพระองคท์ ่านหลายๆรปู แบบ ซงึ่ พระราชกรณยี กิจที่ พระองคท์ ่านได้เปน็ องค์อุปถัมภ์นั้นมากยงิ่ นัก อาทิเชน่ โครงการสืบสานงานพระราชดาริ การสร้างรายไดส้ ู่อาชีพ งานศิลปาชีพแก่ปวงชนชาวไทยทุกหมู่เหล่า การทอผ้า เคร่ืองจักสาน งานส่ิงประดิษฐอ์ ัญมณี และผ้าไหมไทย จน ไดร้ บั ขนานนามจากยเู นสโก พระแม่ไหมไทย นอกจากนพี้ ระองค์ทา่ นยงั เป็นองค์อุปถมั ภ์โขนหลวง โขน พระราชทาน สืบต่อเน่อื งทุกปี ผูป้ ระดษิ ฐ์การออกแบบจงึ ได้เกดิ แนวคดิ ทีจ่ ะจัดการแสดงสร้างสรรคท์ ี่จะเทดิ พระเกยี รตพิ ระองคท์ ่าน กับบทบาททชี่ าวไทยทัง้ ผองเห็นเป็นแบบอย่างที่ดีงาม ยงั คงตอ้ งสืบสานกนั อยา่ งย่งั ยนื เพือ่ ถวายแด่พระองค์ทา่ น ใหท้ รงพระเกษมสาราญ อยเู่ ป็นม่ิงขวัญของปวงชนชาวไทยตราบนานเทา่ นาน โรงเรียนเฉลมิ พระเกยี รติสมเดจ็ พระศรนี ครินทร์ ระยอง เปน็ ศนู ย์สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ของสหวทิ ยาเขต ระยอง 1 จึงคาดหวงั ว่า การแสดงชดุ นจี้ ะเป็นผลงานการแสดงทน่ี าออกสู่ชุมชนได้อย่างงดงามอีกชุดหน่งึ ด้วย ความโดดเดน่ ทางผลงานนาฏศิลป์ของสถานศกึ ษา เปน็ Best Practice เป็นอัตลักษณ์ของโรงเรียน และใหบ้ รกิ าร นาฏศิลปช์ มุ ชนอยเู่ นืองๆ จงึ ตอ้ งพัฒนาผลงานการสรา้ งสรรคอ์ ยูอ่ ยา่ งต่อเนอ่ื ง เพอื่ ให้ผ้เู รียนมกี ารตื่นตัวศึกษาหา ข้อมลู หวั ขอ้ ทน่ี า่ สนใจ ที่จะจดั ทาในแตล่ ะปี การทาโครงงานนาฏศิลป์ชุดน้ี สามารถใหผ้ ู้เรียนเกดิ การศกึ ษาเรียนรู้ วฒั นธรรมวถิ ชี ุมชน และสรา้ งสรรค์ งานร่วมกนั ให้ผู้เรียนรู้จกั การทาโครงงานกลุ่ม งานวิจัย 5 บท ศึกษาคน้ ควา้ หาขอ้ มูลทฤษฎีเอกสารท่ีเกย่ี วข้องมา รองรับผลงานให้เป็นระบบ ฝกึ ปฏบิ ตั ิ ออกแบบท่าราประกอบเพลง ใชท้ ักษะพน้ื ฐานทางนาฏศิลปเ์ ขา้ มาสรา้ งสรรค์ รจู้ กั รบั ผิดชอบ ตรงเวลา ช่วยเหลอื งาน พฒั นาบคุ ลกิ ภาพของตนเอง และเกดิ สุนทรยี ภาพทางศลิ ปะร่วมกันเพอ่ื อนุรักษ์และสบื สานมรดกวัฒนธรรมประจาชาตใิ ห้คงอยู่คู่แผน่ ดินไทยสืบไป นายสมศกั ดิ์ ทองปาน ครเู ชี่ยวชาญ 3 กติ ตกิ รรมประกาศ โครงงานนาฏศิลปช์ ดุ อัคราภิรกั ษ์ศิลปิน สาเร็จลุล่วงดว้ ยการสนบั สนุนจากท่านผ้อู านวยการโรงเรียนเฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระศรนี ครินทร์ ระยอง และฝ่ายวิชาการ ตลอดจนผู้ปกครองทุกท่านท่ีให้การส่งเสรมิ สนับสนุน ผลงานการสร้างสรรคป์ ระจาปี และท่ีสาคญั คือนักเรียนแกนนานาฏศิลป์ จากชมุ นุม ทม่ี ีฝมี ือในการแสดงนาฏศลิ ป์ มารว่ มกันถา่ ยทอดกระบวนทา่ รา ผา่ นเรอื่ งราวท่ีมีบทเพลง สอ่ื อุปกรณ์ต่างๆ ขอชื่นชมและขอบคณุ ทุกท่านท่มี ี ส่วนเกย่ี วข้องกับความสาเร็จในผลงานประจาปีน้ี โครงงานฉบบั น้ีจะเป็นประโยชน์แกผ่ ทู้ ส่ี นใจ และศึกษาคน้ ควา้ พฒั นาต่อยอด เนือ่ งจากชว่ ยส่งเสริม กระบวนการคิด พฒั นาการทางานกลมุ่ ทางานอย่างเป็นระบบมขี ั้นตอน และสอดรบั กบั คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ทงั้ 8 ประการได้แกค่ ุณภาพของผเู้ รียนดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยมทก่ี าหนดขนึ้ โดยพจิ ารณาจากสภาพสังคม และการเปลี่ยนแปลงของโลกยคุ ปจั จบุ นั ซง่ึ ทาให้มีความจาเปน็ ต้องเน้นและปลกู ฝงั ลักษณะดงั กล่าวใหเ้ กิดขึ้นใน ตวั ผ้เู รยี นทุกคนเพอ่ื ชว่ ยให้ผเู้ รียนเกดิ การพัฒนาในองคร์ วมทัง้ ดา้ นสตปิ ัญญา และคณุ ธรรม อันจะนาไปสูค่ วาม เจริญก้าวหนา้ และมน่ั คงสงบสุขในสงั คม นายสมศกั ดิ์ ทองปาน ครเู ชีย่ วชาญ 4 บทคัดยอ่ ชอื่ รายงาน นาฏศลิ ปไ์ ทยสรา้ งสรรค์ ชดุ “ อัคราภริ กั ษ์ศิลปิน ” ชอื่ ผู้รายงาน นายสมศักดิ์ ทองปาน ปีที่รายงาน 2560 การศึกษาคร้งั นมี้ ีจดุ ประสงค์ (1)พฒั นารูปแบบการสร้างสรรคผ์ ลงานนาฏศิลป์ไทยสรา้ งสรรค์ (2 )เพ่ือเทิดพระเกยี รติสมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกติ พ์ิ ระบรมราชินนี าถ ( 3)พัฒนางานการสร้างความสมั พนั ธ์กับ ชุมชน จัดแสดงให้บรกิ ารกบั หน่วยงานในงานต่างๆ ที่มีต่อรปู แบบการเรยี นรกู้ ารสรา้ งสรรค์นาฏศลิ ป์ โดย ประยกุ ต์ใชท้ ฤษฎีการสรา้ งความรดู้ ว้ ยตนเองโดยการสรา้ งสรรคช์ ิ้นงาน (Constructionism) ของภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2559 จานวน 4 ห้องเรียน ไดม้ าจากประชากร ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 โดยผู้ศึกษานาคะแนนทไ่ี ด้ จากการสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน วิชานาฏศลิ ป์ จากแบบทดสอบท่ีผวู้ ิจัยสร้างข้ึนมาหาค่าเฉลย่ี แลว้ ทดสอบความแตกต่างของคะแนนผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวิชานาฏศลิ ป์ โดยใช้สถติ ิทดสอบ F test (One way ANOVA) แลว้ เลือกคู่ของคา่ เฉล่ียทไ่ี มแ่ ตกตา่ งกันมา 1 คู่ จากนั้นนากลมุ่ ตัวอย่างท่ไี ด้มาจับฉลากเพื่อกาหนดกลุ่ม ทดลองสอนโดยใช้รปู แบบการเรียนรู้การสรา้ งสรรค์นาฏศลิ ป์ โดยประยกุ ตใ์ ช้ทฤษฎีการสรา้ งความรูด้ ว้ ยตนเอง โดยการสร้างสรรค์ช้นิ งาน (Constructionism) และกลุ่มควบคุมที่สอนโดยใช้การเรยี นการสอนแบบปกติ โดยมี ขน้ั ตอนการเรยี นรู้ดังนี้ ขั้นท่ี 1 ศกึ ษาศิลปะ (ทบทวนความรูเ้ ดมิ ศึกษาคมู่ ือดว้ ยตนเอง) ข้ันที่ 2 ทักษะความรู้ ใหม่ ข้ันที่ 3 ก้าวไกลสบื สาน ข้ันที่ 4 ประสบการณ์ส่กู ารประยกุ ต์ ข้นั ท่ี 5 สนกุ กับชมุ ชน (ควบคู่ให้บริการสงั คม และแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนรู้) โดยผ่านการตรวจสอบจากครูผู้เช่ียวชาญ และหาค่าดัชนีความ สอดคล้อง (IOC) วเิ คราะหข์ อ้ มูลโดยหาคา่ สถติ ิพื้นฐาน ไดแ้ ก่ ค่าเฉล่ยี (  ) สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (SD) และ การทดสอบคา่ ที (t test) แบบ Dependent และ Independent ผลการวิจัยสรุปได้ดงั น้ี 1. ได้รูปแบบการเรียนรู้การออกแบบนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ท่ีพัฒนาแล้ว สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน (Constructionism) ทมี่ อี งคป์ ระกอบ 5 องค์ประกอบ คอื หลกั การ จุดมุ่งหมาย เน้อื หา กระบวนการจดั การเรียน การสอน การวัดและการประเมนิ ผล โดยดชั นีการประเมนิ คณุ ภาพรปู แบบการสอน อย่ใู นระดบั ดีมาก 2. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนรู้นาฏศิลป์ของนกั เรยี นระหวา่ งกลมุ่ ท่ีสอนโดยใช้รปู แบบการเรียนรู้ นาฏศลิ ป์ไทยสรา้ งสรรค์ โดยใชท้ ฤษฎีการสรา้ งความรดู้ ้วยตนเองโดยการสรา้ งสรรคช์ ิ้นงาน (Constructionism) สาหรับนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 กบั การสอนแบบปกติแตกตา่ งกันอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ่รี ะดบั .01 3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนกลุ่มท่ีเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้นาฏศิลป์ไทย สร้างสรรค์ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ช้ินงาน (Constructionism) สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง โดยภาพรวมมี ค่าเฉลี่ยอยใู่ นระดบั มากที่สุด 5 สารบัญ หน้า เรอ่ื ง คานา......................................................................................................................................................... ก กติ ติกรรมประกาศ.................................................................................................................................... ข บทคดั ย่อ................................................................................................................................................... ค บทท่ี 1บทนา ทมี่ าและความสาคัญของโครงงาน............................................................................................... 1 วัตถุประสงคข์ องโครงงาน............................................................................................................ 1 ขอบเขตของการศกึ ษาคน้ คว้า...................................................................................................... 1 ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ บั ........................................................................................................... 1 กรอบแนวคดิ การวจิ ยั ................................................................................................................... 1 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เก่ียวข้อง 2.1 งานนาฏศิลป์ของไทย 2.1.1 ความหมายของนาฏศลิ ป์…………………………………………………………………………….. 2 2.1.2 ประเภทของการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย……………………………………………………………… 4 2.2. นาฏศลิ ปไ์ ทยสรา้ งสรรค์ 2.2.1 ความหมายของนาฏศลิ ป์ไทยสรา้ งสรรค์………………………………………………………. 5 2.2.2 ทีม่ าของนาฏศลิ ปไ์ ทยสรา้ งสรรค์………………………………………………………………….. 5 2.2.3 นาฏยประดษิ ฐข์ องไทย………………………………………………………………………………. 7 2.2.4 ข้อเสนอแนะให้กบั ผ้คู ิดประดษิ ฐน์ าฏศิลปไ์ ทยสร้างสรรค์………………………………. 8 2.3.ทฤษฎที เ่ี กยี่ วขอ้ ง 2.3.1 ทฤษฎกี ารวิเคราะห์ทา่ รา…………………………………………………………………………….. 9 2.3.2 ทฤษฎีแห่งการเคล่ือนไหวของร่างกาย…………………………………………………………. 10 2.3.3 แนวคดิ เกย่ี วกบั วธิ ีปฏบิ ตั ทิ ่ารา……………………………………………………………………….. 11 2.3.4 สรุปแนวคดิ การสร้างสรรค์นาฏศลิ ปไ์ ทย………………………………………………………… 13 2.4. งานวิจัยท่ีเกีย่ วขอ้ ง…………………………………………………………………………………………………… 15 บทท่ี 3 วธิ ีการดาเนินโครงงาน หัวขอ้ ผลงานโครงงาน................................................................................................................... 16 การออกแบบ / วิธีการเล่าเร่อื ง ................................................................................................... 16 วสั ดอุ ุปกรณ์.................................................................................................................................. 16 การแตง่ กายประกอบการแสดง..................................................................................................... 16 เพลงประกอบการแสดง................................................................................................................ 17 รปู แบบการแปรแถว...................................................................................................................... 17 6 สารบญั (ตอ่ ) เรื่อง หน้า บทท่ี 4 ผลการดาเนินโครงงาน ชดุ อคั ราภิรักษ์ศลิ ปนิ ................................................................................................................ 18 บทที่ 5 สรุปอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ สรุปอภปิ รายผล.............................................................................................................................. 20 ข้อเสนอแนะ................................................................................................................................... 20 บรรณานุกรม........................................................................................................................................... 21 รายชื่อผ้แู ขง่ ขนั ......................................................................................................................... 22 ขอ้ มูลผ้จู ดั ทา............................................................................................................................................ 23 7 บทที่ 1 บทนา 1.1 ท่ีมาและความสาคัญของโครงงาน ดว้ ยปจั จบุ ันเหลา่ พสกนกิ รชาวไทย มีความรกั และห่วงใยในสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ แม่ แห่งแผ่นดิน หลงั จากทพี่ ระองค์ทา่ นไดท้ รงพระประชวร เราทุกคนล้วนต่างแสดงความรักความหว่ งใยในพระองค์ ทา่ นหลายๆรูปแบบ ซึ่งพระราชกรณียกจิ ท่พี ระองค์ทา่ นไดเ้ ปน็ องคอ์ ปุ ถมั ภน์ น้ั มากยง่ิ นัก อาทเิ ช่น โครงการสืบ สานงานพระราชดาริ การสรา้ งรายได้สอู่ าชพี งานศลิ ปาชพี แกป่ วงชนชาวไทยทุกหมู่เหลา่ การทอผ้า เครอื่ งจกั สาน งานสิง่ ประดษิ ฐ์อญั มณี และผ้าไหมไทย จนได้รับขนานนามจากยูเนสโก พระแมไ่ หมไทย นอกจากนพี้ ระองค์ทา่ น ยงั เปน็ องค์อปุ ถัมภ์โขนหลวง โขนพระราชทาน สบื ต่อเนื่องทกุ ปี ผู้ประดิษฐก์ ารออกแบบจงึ ไดเ้ กดิ แนวคิดทีจ่ ะจดั การแสดงสร้างสรรค์ท่ีจะเทิดพระเกียรตพิ ระองคท์ ่าน กับบทบาทท่ชี าวไทยทัง้ ผองเหน็ เปน็ แบบอยา่ งท่ีดีงาม ยังคงต้องสบื สานกนั อยา่ งยง่ั ยนื เพ่อื ถวายแด่พระองค์ทา่ น ใหท้ รงพระเกษมสาราญ อยูเ่ ปน็ มิ่งขวัญของปวงชนชาวไทยตราบนานเทา่ นาน 1.2 วัตถุประสงคข์ องโครงงาน 1.2.1 เพอื่ พฒั นารปู แบบการสรา้ งสรรคผ์ ลงานนาฏศลิ ป์ไทยสรา้ งสรรค์ 1.2.2 เพือ่ เทดิ พระเกยี รติสมเด็จพระนางเจา้ สริ ิกติ พิ์ ระบรมราชนิ นี าถ 1.2.3 พฒั นางานการสรา้ งความสัมพันธก์ บั ชมุ ชน จดั แสดงใหบ้ ริการกบั หนว่ ยงานในงานตา่ งๆ 1.3 ขอบเขตของการศกึ ษาค้นควา้ การศกึ ษาขอ้ มลู คน้ ควา้ เพือ่ ประกอบการดา้ นการออกแบบการแสดง ชุดอคั ราภิรักษ์ศิลปิน ผูอ้ อกแบบได้ เก็บข้อมลู ท่ีเกีย่ วข้องกับสมเด็จพระนางเจา้ สริ ิกติ ิพ์ ระบรมราชินีนาถ และการศึกษาสู่การปฏบิ ัติครั้งนเ้ี ป็นเป็น ความรว่ มมือระหว่างนกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 และออกแบบสร้างสรรค์บรู ณาการกับหนงั ใหญว่ ดั บ้านดอน โดยออกแบบการแสดงท่ีเทดิ พระเกยี รติสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ ิกิติพ์ ระบรมราชินีนาถ 1.4 ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะได้รับ 1.4.1 เกดิ รปู แบบ วิธีการข้ันตอนการทาโครงงานนาฏศิลป์ เพือ่ เผยแพร่ใหแ้ ก่ผทู้ ี่สนใจไดศ้ กึ ษาแนวทาง 1.4.2 ผเู้ รียนเกดิ ความรกั ตระหนักในสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ 1.4.3 ภาคภูมิใจกบั ผลงานการแสดงที่รว่ มกันคดิ วางแผนออกแบบ สามารถนาสงู่ านนาฏศิลปบ์ ริการชมุ ชน 1.5 กรอบแนวคดิ การวจิ ยั การออกแบบสร้างสรรค์ นาฏศลิ ปไ์ ทยสร้างสรรค์ บญุ ข้าวหลามเดือนสามบ้านคา่ ย -แนวคดิ รปู แบบการแสดง -คดั เลือกนักแสดงชาย/หญิง สมเดจ็ พระนางเจ้าสิรกิ ิต์ิพระบรมราชนิ นี าถ รูปแบบวธิ ีการสร้างสรรค์ -ประพนั ธ์เพลงประกอบการแสดง พระราชกรณยี กจิ ที่เกย่ี วข้อง -ออกแบบกระบวนทา่ / แปรแถว หนังใหญ่วดั บา้ นดอน Part 1 ราสดดุ เี ทิดพระเกยี รติ Part 2 เหเ่ รือ ขบวนเทิดพระเกยี รติ -ออกแบบเสอ้ื ผา้ Part 3 เล่าขานงานพระราชกรณยี กจิ Part 4 พสกนกิ รเป็นสขุ แซ่ซอ้ งสรรเสริญ -ฉาก / อุปกรณป์ ระกอบ จบแบบตง้ั ซุ้ม 8 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ชนชาติไทย เป็นชนชาติหน่ึงในโลกท่ีมีขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมเป็นรากฐาน สาคัญทที่ าใหค้ วามเปน็ ชาตดิ ารงอยูอ่ ยา่ งม่นั คง ถงึ แมว้ ่ารากฐานสาคัญของชาติที่ปรากฏ สืบทอดมาตราบเท่าทุก วนั นี้จะได้รับการพัฒนาปรบั เปลย่ี น มาหลายยุคหลายสมยั ก็ตาม แต่การปรบั เปลย่ี นน้นั ก็เป็นไปอย่างนุ่มนวลผสาน กลมกลืนสอดคลอ้ งกบั สภาพและสถานการณ์ของสังคมไทยลักษณะของการปรับเปลี่ยนรวมท้ังการสืบทอดมรดก ทางสังคม และการอนุรักษ์องค์ประกอบของวัฒนธรรมในส่วนที่เหมาะสมน้ันนับเป็นความสุขุม รอบคอบที่บรรพ บุรุษไทยได้ใช้ภูมิปัญญาในการสร้างสรรค์ เพ่ือแสดงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาติ ให้ปรากฏอยู่อย่างม่ันคง นาฏศิลป์ไทยเป็นเอกลกั ษณ์สาคญั สาขาหน่ึงของวฒั นธรรมไทยทสี่ ่ังสมสืบทอดกนั มานานหลายร้อยปแี ม้วา่ จะได้รับ การซึมซับผสมผสานกับวัฒนธรรมจากชนชาติอื่นบ้างในบางประการ แต่ก็มิได้ทาให้นาฏศิลป์ไทย ท่ีมีอยู่ท่ัวทุก ภูมิภาคของประเทศต้องหยุดชะงักหรอื ขาดหายไป หากแต่นาฏศลิ ป์ไทยยังคงความเจรญิ กา้ วหน้า โดยมีพัฒนาการ อยา่ งต่อเนือ่ งและสร้างสรรคจ์ รรโลงสังคมไทยเสมอมา ซ่งึ การศึกษา วิจัยครั้งนี้ ประกอบดว้ ย 2.1 งานนาฏศิลป์ของไทย 2.1.1 ความหมายของนาฏศิลป์ 2.1.2 ประเภทของการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย 2.2 นาฏศิลปไ์ ทยสรา้ งสรรค์ 2.2.1 ความหมายของนาฏศลิ ปไ์ ทยสร้างสรรค์ 2.2.2 ทม่ี าของนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ 2.2.3 นาฏยประดษิ ฐข์ องไทย 2.2.4 ขอ้ เสนอแนะใหก้ บั ผู้คิดประดิษฐ์นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ 2.3 ทฤษฎีทเ่ี ก่ยี วข้อง 2.3.1 ทฤษฎีการวเิ คราะหท์ า่ รา 2.3.2 ทฤษฎีแหง่ การเคลือ่ นไหวของรา่ งกาย 2.3.3 แนวคิดเกี่ยวกบั วธิ ีปฏิบัติทา่ รา 2.3.4 สรุปแนวคิดการสร้างสรรคน์ าฏศิลปไ์ ทย 2.3.5 ข้อควรระวงั ดา้ นนาฏยประดษิ ฐ์ 2.4 งานวจิ ัยทเี่ ก่ียวข้อง 2.1.งานนาฏศลิ ปข์ องไทย 2.1.1 ความหมายของนาฏศิลป์ ความหมายของคาว่า นาฏศิลป์ คา ว่านาฏศิลป์ เป็นคาสมาส ของคา นาฏ และ ศิลป์ 9 พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑติ สถาน พ.ศ. 2542 หน้า 431 , 759 ใหค้ วามหมายวา่ นาฏ , นาฏ-(นาด,นาตะ-นาดตะ - ) น. นางละคร , นางฟอ้ นรา ศลิ ปะ , ศิลป์ , ศลิ ป (สินละปะ , สิน , สนิ ละปะ) น. ฝมี อื , ฝีมอื ทางการชา่ ง,การแสดงออกซึ่งอารมณ์สะเทือนใจ ให้ประจักษ์เห็น โดยเฉพาะหมายถึงวจิ ติ รศิลป์ คาวา่ นาฏศลิ ป์ เป็นคาศัพท์ท่ีคุ้นหูของคนไทยเกือบทุกเพศทุกวัย นับแต่แรกเริ่มเข้าสู่สถาบันการศึกษา ซ่งึ เปน็ เพียงความเข้าใจในเบื้องต้น ตามลักษณะของการปฏบิ ัตวิ า่ หมายถงึ การแสดงท่าร่ายราไปตามบทร้อง หรือทว่ งทานองเพลง แต่สาหรับการศึกษาในเร่ืองที่เกี่ยวข้องกับ นาฏศิลป์น้ัน จาเป็นอย่างย่ิงที่ผู้ศึกษาจะต้องมี พ้ืนฐานความรู้ความเขา้ ใจถงึ ความหมายของคาวา่ นาฏศิลป์อยา่ งถูกตอ้ ง เพอื่ ใหส้ ามารถนาไปใช้เป็นแนวทางการ เรียนรอู้ ย่างกวา้ งขวางลึกซึง้ ในองคป์ ระกอบ และความสาคัญของนาฏศิลปไ์ ทยอยา่ งถูกต้อง คาว่า นาฏศิลป์ เป็นคาที่นักวิชาการทางการศึกษา นักวิชาการทางด้านนาฏศิลป์ได้ให้คาอธิบาย ความหมายไวอ้ ย่างชดั เจน สอดคลอ้ งและใกล้เคยี ง ธนติ อย่โู พธิ์ (2516, หน้า 1) ให้ความหมายว่า คาว่า “นาฏศิลป์” ถ้าแปลอย่างไม่ประหยัดก็ว่า ความ ช่าชองในการละคร ฟ้อนรา แต่ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลได้ว่า “นาฏศิลป์” (นาดตะสิน) น. ศลิ ปะแห่งการละครหรือการฟ้อนรา (ส.) ท่ีข้าพเจ้าแปล “ศิลป” ความช่าชอง นั้นก็ด้วยมีความเห็นอยู่ว่า ผู้ท่ีมี ศิลปะทเี่ ราเรียนกนั ว่า “ศลิ ป”ี หรือ “ศลิ ปิน”ในปจั จบุ นั นี้ จะตอ้ งเป็นผูม้ ฝี มี ือมีความชา่ ชองในการปฏิบัติได้ดีจริงๆ ด้วย มิใช่สักแต่ว่ามคี วามรู้ ท่าเต้นพอไดบ้ ้าง ราพอไดบ้ า้ ง อาคม สายาคม (2525, หน้า 29,31) ให้ความหมายว่า“นาฏ” หมายถึงการร่ายราของโขน – ละคร ฟ้อนรา และระบา... “ศิลปะ” หมายถึงส่ิงที่มนุษย์เราได้สร้างสรรค์ไว้ ฉะนั้นคาว่า “นาฏศิลป” จึงพอสรุปได้ว่า หมายถึง “การร่ายราในส่ิงที่มนุษย์เราได้ปรุงแต่งจากธรรมชาติให้สวยสดงดงามขึ้น แต่ท้ังน้ีมิได้หมายถึงแต่การ ร่ายราเพียงอย่างเดียวจะตอ้ งมดี นตรเี ปน็ องค์ประกอบไปด้วย จึงจะช่วยใหส้ มบรู ณแ์ บบตามหลักวิชานาฏศลิ ป” ประทนิ พวงสาลี (2506, หน้า 1) ให้ความหมายว่า“นาฏศิลป” มีความหมายไปในทานอง การร้องรา ทาเพลงการให้ความบันเทิงใจ อันร่วมด้วยความโน้มเอียงของอารมณ์ และความรู้สึกส่วนสาคัญส่วนใหญ่ของ นาฏศิลป์อยู่ที่การละครเป็นเอกหากแต่ศิลปะประเภทน้ีจาต้องอาศัยดนตรี และขับร้องเข้าร่วมด้วย เพื่อเป็นการ ส่งเสริมให้เกิดคุณค่าในศิลปะยิ่งขึ้นตามสภาพหรืออารมณ์ต่างๆกันสุดแต่จะมุ่งหมาย ฉะน้ันคาว่านาฏศิลป นอกจากจะหมายถงึ การฟ้อนราแลว้ ยงั ต้องถือเอาความหมายการรอ้ งการบรรเลงเข้าร่วมด้วย สมุ ิตร เทพวงษ์ (2541,หนา้ 4) นาฏศิลป์ เปน็ การรวมความเปน็ เลิศของศิลปะแขนงต่าง ๆ วิวัฒนาการมา พร้อมกับความเจริญของมนุษย์ โดยอาศัยพลังและเจตนา เป็นเคร่ืองผลักดันให้จิตกระตุ้นร่างกายให้แสดงการ เคลอื่ นไหว มีจังหวะ มีแบบแผน เพื่อให้เกิดความสุข ความเข้าใจ และความงดงามแก่ตนเองและผู้อ่ืน นาฏศิลป์ ไทย เปน็ ศลิ ปวัฒนธรรมประจาชาตแิ ต่โบราณ เปน็ ศิลปะชั้นสูง แยกประเภทการแสดงออกเป็นหลายแบบ ใช้ภาษา ทา่ เหมือนกันแตแ่ ยกลักษณะและประเภทการแสดงแตกต่างกัน ขอบ ข่ายของนาฏศิลป์ไทย จาแนกเป็นประเภท ต่างๆ ไดแ้ ก่ โขน หนงั หุ่น ละครรา ละครรา ละครรอ้ ง ละครสังคีต ละครพูดการละเล่นของหลวงการเล่นเบิกโรง การละเลน่ พ้นื เมือง 10 ชมนาด กิจขันธ์ (2547 , หน้า 1) นาฏศิลป์ของไทย เป็นการร่ายราท่ีมีระบบของการร่ายรา หมายถึง ความมีระเบียบแบบแผนหรือกฎเกณฑ์หรือขอบเขตจากัดในการทาท่าทาง ร่ายรา ซ่ึงมีลักษณะเฉพาะของแต่ละ ชาติ สรุปความหมายของนาฏศิลปไ์ ทย หมายถงึ ศิลปะการแสดง ที่ใช้ทกั ษะกระบวนการทา่ ราส่ือภาษา สร้าง ความเข้าใจโดยดัดแปลงจากทา่ ทางธรรมชาติ อากัปกิรยิ าอาการตา่ งๆ ของมนษุ ย์หรือสัตว์ กลายเปน็ ทา่ ทางในการ ร่ายราและการฟ้อนรา และสอดแทรกดว้ ยคตคิ วามเช่อื เร่ืองเล่า ขนบจารีต วฒั นธรรมประเพณขี องแตล่ ะอาชพี และกลมุ่ ชนน้นั ๆ 2.1.2 ประเภทของการแสดงนาฏศลิ ป์ไทย 1.ระบา คอื ศิลปะของการรา่ ยราที่แสดงพรอ้ มกนั เปน็ หมู่เป็นชุด ความงามของการแสดงระบา อยูท่ ค่ี วาม สอดประสานกลมกลืนกนั ดว้ ยความพรอ้ มเพรยี งกัน การแสดงมีทั้งเนอื้ ร้องและไม่มีเนอ้ื รอ้ ง ใช้เพียงดนตรี ประกอบ คาวา่ \"ระบา\" รวมเอา \"ฟอ้ น\" และ \"เซง้ิ \" เข้าไว้ด้วยกัน เพราะวธิ ีการแสดงไปในรปู เดียวกนั แตกต่างกัน ท่ีวิธีร่ายราและการแต่งกายตามระเบยี บประเพณีตามทอ้ งถิน่ ระบา แบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ คอื ระบาด้งั เดิมหรอื ระบามาตรฐานและระบาปรับปรงุ หรือระบาเบด็ เตลด็ 2.รา หมายถึง การแสดงทีม่ ่งุ ความงามของการร่ายรา เป็นการแสดงท่าทางลีลาของผูร้ า โดยใช้มอื แขน เป็นหลกั 2.1 การราเดยี่ ว คือการราทีใ่ ช้ผู้แสดงเพียงคนเดียวจดุ มงุ่ หมายคือ 2.1.1 ต้องการอวดฝีมอื ในการรา 2.1.2 ตอ้ งการแสดงศิลปะรา่ ยรา 2.1.3 ต้อง การสลบั ฉากเพอื่ รอการจดั ฉากหรอื ตวั ละครแต่งกายยังไม่เสร็จเรียบร้อย การราเด่ยี ว เชน่ การราฉยุ ฉายตา่ งๆรามโนราห์บชู ายัญราพลายชมุ พลฯลฯ 2.2 การราคู่ แบง่ เปน็ 2 ประเภท คอื ราคูใ่ นเชงิ ศลิ ปะการตอ่ สู้ ไม่มีบทรอ้ ง และราค่ใู นชุดสวยงาม 2.1.1 การราคู่ในเชงิ ศิลปะการต่อสู้ ได้แก่ กระบ่ี กระบอง ดาบสองมอื โล่ ดาบ เขน ดงั้ ทวน และรากริชเปน็ การราไม่มีบทรอ้ งใช้สลับฉากในการแสดง 2.1.2 การราคใู่ นชดุ สวยงาม ทา่ ราในการราจะต้องประดิษฐ์ใหส้ วยงาม ทั้งทา่ ราทมี่ ีคารอ้ งตลอด ชดุ หรอื มบี างชว่ งเพอื่ อวดลลี าท่ารา มบี ทรอ้ งและใชท้ ่าทางแสดงความหมายในตอนน้ัน ๆ ได้แก่ หนุมานจบั สุพรรณมจั ฉา หนมุ านจับนางเบญกาย พระรามตามกวาง พระลอตามไก่ รามสูร เมขลา รจนาเส่ยี งพวงมาลยั ทษุ ยนั ตต์ ามกวาง ราแมบ่ ท ราประเลง ราดอกไม้เงนิ ทอง รถเสนจับม้า 2.3 การราหมู่ เป็นการแสดงมากกว่า 2 คนขน้ึ ไป ไดแ้ ก่ ราโคม ญวนรากระถาง ราพัด ราวงมาตรฐาน และราวงทวั่ ไป การแสดงพน้ื เมอื งของชาวบา้ น เช่นเต้นการาเคยี ว รากลองยาว ฟอ้ น หมายถึง ศิลปะการแสดงที่ เปน็ ประเพณขี องทางภาคเหนือ จะใชผ้ ู้แสดงเปน็ จานวนมาก มลี ลี าการฟ้อนพร้อมเพรียงกันด้วยจังหวะที่ค่อนข้าง ช้า 11 จากการศึกษาความหมายของนาฏศลิ ปข์ ้างต้น ผ้วู ิจยั สรุปไดว้ ่า นาฏศิลป์ หมายถึง ศิลปะ การรา่ ยรา ท่มี แี บบแผนท่มี นุษยร์ งั สรรคข์ น้ึ จากการใชว้ ถิ ชี ีวิตตามธรรมชาติ ตามท้องถ่ินและตามพื้นที่ต่าง ๆ ของ แต่ละภูมภิ าค โดยอาจมกี ารพัฒนาดัดแปลงมาจากการละเล่นพื้นบ้านของท้องถ่ินนั้น การแสดงพ้ืนบ้านเป็น มรดกทางวัฒนธรรมอันลา้ ค่า ท่ีบรรพบุรษุ ไทยได้สัง่ สมสรา้ งสรรค์และสืบทอดไว้เป็นเอกลักษณ์ประจาชาติ เพื่อให้ รนุ่ ลกู หลานไดเ้ รยี นรูแ้ ละรักในคณุ คา่ ในศลิ ปะไทยในแขนงน้ี เกิดความภาคภูมิใจในความเป็นไทย และพร้อมท่ีจะ ช่วยสืบทอดจรรโลง และธารงไว้เป็นสมบัติของชาติสืบไป การแสดงพื้นบ้าน เป็นการแสดงเพื่อก่อให้เกิดความ สนุกสนานเพลิดเพลิน และความบันเทิงในรูปแบบต่างๆ ซ่ึงจะมีลักษณะแตกต่างกันตามสภาพภูมิประเทศ สังคม วัฒนธรรม แต่ละทอ้ งถ่นิ ดงั นนั้ การแบง่ ประเภทของการแสดงพื้นบ้านของไทย โดยท่ัวไปจะแบ่งตามส่วนภูมิภาค เชน่ การแสดงพนื้ บ้านของภาคเหนือ ภาคกลาง อสี าน ใต้ กลา่ วไดว้ ่า การแสดงพนื้ บา้ นในแตล่ ะภาคจะมีลักษณะที่ คลา้ ยคลงึ กนั ในเรื่องของมูลเหตแุ หง่ การแสดง ซง่ึ แบง่ ออกไดด้ งั น้ี 1.แสดงเพื่อเซ่นสรวงหรือบูชาเทพเจ้า เป็นการแสดงเพื่อแสดงความเคารพต่อส่ิงศักดิ์สิทธิ์หรือเซ่น บวงสรวงดวงวญิ ญาณทีล่ ว่ งลับ 2.แสดงเพอ่ื ความสนกุ สนานในเทศกาลต่างๆ หรอื เพื่อเก้ยี วพาราสกี ันระหวา่ งชาย-หญงิ 3.แสดงเพือ่ ความเปน็ สิริมงคล เป็นการราเพ่ือแสดงความยนิ ดใี นโอกาสตา่ ง ๆ หรือใช้ใน โอกาสต้อนรับแขกผ้มู าเยือน 4.แสดงเพอ่ื ส่ือถึงเอกลักษณ์ของท้องถนิ่ อันเก่ียวกบั การประกอบอาชีพและวัฒนธรรม ประเพณเี พอื่ สรา้ งชอ่ื สยี งให้เป็นที่ร้จู ัก เป็นต้น 2.2.นาฏศิลป์ไทยสรา้ งสรรค์ 2.2.1 ความหมายของนาฏศลิ ป์ไทยสร้างสรรค์ สวภทั ร วงษด์ นตรี (2541 ,หนา้ 85) ได้กลา่ วถงึ นาฏศลิ ป์ไทยสรา้ งสรรค์ โดยใหค้ วามหมายดังนี้ นาฏศิลป์ สร้างสรรค์ คือ การพัฒนางานด้านนาฏศิลป์ท่ีกาลังได้รับความสนใจและการสนับสนุนจากทุกหน่วยงาน ทุก สถาบนั ทง้ั ภาครัฐและเอกชน ที่เกี่ยวข้องอย่างกว้างขวางเป็นผลงานท่ีประดิษฐ์ข้ึน โดยพื้นฐานแห่งความรู้เท่าทัน การเปลยี่ นแปลงของกระแสโลกอย่างเป็นปัจจุบัน นอกเหนือจากความงามวิจิตร ตามแบบฉบับของนาฏศิลป์ไทย แล้ว นาฏศิลป์สร้างสรรค์ยังต้องมีความสมบูรณ์พร้อมในคุณค่า และคุณประโยชน์ด้านอ่ืนๆท่ีพึงมีต่อสังคม นาฏศลิ ปไ์ ทยท่ีสร้างสรรค์ขึ้นจะมีลักษณะของทีม่ าตา่ งๆกัน 2.2.2 ทีม่ าของนาฏศลิ ปไ์ ทยสร้างสรรค์ งานนาฏศิลปไ์ ทยสรา้ งสรรคท์ ่ปี รากฏเป็นผลงานการแสดงในรปู แบบต่างๆ มีท่ีมาจาก เหตุปัจจัยต่างๆ ดัง สรปุ ได้ดังตอ่ ไปนี้ 1.จากประเพณี พิธีกรรม และความเชอื่ 2.จากโบราณคติและวรรณกรรม 3.แสดงเอกลักษณท์ อ้ งถ่ิน 4.จากการประกอบอาชพี 12 5.ประกอบในโขน ละคร 6.ประเภทเบด็ เตลด็ 1. จากประเพณี พิธีกรรม และความเชื่อ นาฏศิลป์เน่ืองมาจากประเพณี พิธีกรรม และความเช่ือ สรา้ งสรรคข์ น้ึ จากรูปแบบและวธิ ีการท่ีปฏบิ ตั ใิ นกิจกรรมต่างๆ ตามประเพณี พธิ ีกรรมและความเชื่อซ่ึงเป็นที่เคารพ ศรัทธายึดถือสืบต่อกันมาแต่อดีต เช่นการนานาฏศิลป์เพื่อใช้เป็นเคร่ืองบวงสรวง บูชา แก้สินบน ถวายเพื่อการ สักการะ หรือเกิดจากความเช่ือ ศรัทธา อันสืบเน่ืองมาจากโบราณกาล ซ่ึงบางคร้ัง จะมีที่มาจากนิทาน ตานาน พงศาวดาร ฯลฯ แลว้ นามาเป็นพ้ืนฐานของกระบวนการแสดงในลกั ษณะของนาฏศิลป์ เชน่ เมขลา รามสูร ระบา – นางสงกรานต์ ระบาแหด่ อกไม้ 2. จากโบราณคติและวรรณกรรม เป็นการประดิษฐ์ลีลาท่าราจากพ้ืนฐาน ข้อมูลที่เป็นภาพป้ันหล่อ จาหลักของศลิ ปะโบราณวตั ถุ ภาพจิตรกรรม นิทานปรัมปรา ซ่ึงท่านผู้รู้ทางนาฏศิลป์และดุริยางคศิลป์หลายท่าน ได้ค้นควา้ เปรียบเทยี บเพื่อสร้างสรรคล์ กั ษณะทา่ ทาง สาเนียงดนตรีแล้วจนิ ตนาการข้ึนเป็นภาพเคล่ือนไหวอันงาม วิจิตรที่มีวิญญาณและชีวิตชีวา ประกอบด้วยท่วงทานองดนตรีไพเราะตามยุคสมัยที่ปรากฏตามข้อมูลน้ันๆ เช่น ระบาเทพนพเคราะห์ ระบาสพุ รรณภูมิ ระบาเทพบูชติ 3. แสดงเอกลักษณ์ท้องถ่ินงสรรค์ข้ึน โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือการแสดง จุดเด่นบางคือนาฏศิลป์ท่ีสร้า ประการของท้องถิ่น ได้แก่ ลักษณะดั้งเดิมของชุมชนเอกลักษณ์ในวิถีชีวิตหรือปูชนียสถานสาคัญ เพ่ือปลูกฝัง ค่านิยม สร้างความรู้สึกภาคภูมิใจ และเพ่ือเผยแพร่เชิดชูความงามสง่า ของปูชนียสถาน หรือเกียรติยศในชุมชน ของตนให้ปรากฏ นับเป็นศิลปะซ่ึงเกิดจากภูมิปัญญาองปราชญ์ชาวบ้าน เช่นระบานพนารายณ์ สดุดีศรี สมุทรสงคราม ระบาปทุมบนั เทิง 4. จากการประกอบอาชพี เปน็ นาฏศิลป์ที่สร้างสรรค์ขึ้นจากการศึกษา ธรรมชาติของกระบวนการในการ ประกอบอาชพี และนากระบวนการน้ันมาประดิษฐ์ ขดั เกลาใหป้ ระณตี งดงามในเชิงนาฏลีลา ส่วนท่ีนอกเหนือจาก ความงามด้านความบันเทิงแล้ว ยังมีลักษณะของการบันทึกจดหมายเหตุ ซ่ึงจะยังประโยชน์ อันสาคัญย่ิงต่อการ สบื คน้ ภูมปิ ญั ญาบรรพชน ดา้ นการประกอบอาชพี ตามวถิ ีชีวติ ไทยเชน่ ระบาเก็บพรกิ ไทย ราทาตาล 5. ประกอบในโขน ละคร คือ นาฏศิลปท์ ีป่ ระดิษฐข์ ึ้นเพื่อเสริมแต่งความงามตระการให้กับการแสดงด้วย จุดประสงคต์ ่าง ๆ อาทิ การอธิบายความ เช่นระบานพรัตน์ ในการแสดงละครนอก เรื่อง สุวรรณหงส์ ตอนชมถ้า เป็นการอธบิ ายความงามของอญั มณลี ้าค่า และเป็นสิริมงคล หรือฉุยฉายทศกัณฐ์ลงสวน ที่แสดงลีลาภาคภูมิใจใน การแต่งกาย และแฝงความเจ้าชู้กรุ้มกริ่มไว้ในเชิง บางชุดใช้เพ่ือคั่นเวลาในการเปล่ียนฉาก จัดฉากใหญ่ หรือการ แสดงบางชุดสอดแทรกไวใ้ นเน้อื เรื่อง เช่น ฟ้อนม่านมงคล เป็นการจัดระบา รา ฟ้อน ในการสมโภชตามเน้ือเร่ือง ของละครพันทาง เรื่องราชาธริ าช ตอนสมิงพระรามอาสา ในฉากอภิเษกสมรสสมิงพระรามกับพระราชธดิ า เป็นต้น นาฏศิลป์ในโขน ละคร ตามที่กล่าวมาข้างต้นบางชุดได้ตัดตอนออกมาเฉพาะชุดและนาออกแสดงเป็นลักษณะ วพิ ิธทัศนา เชน่ หนุมานจบั นางเบญจกาย ระบากินรีร่อน ระบานกสามหมู่ เป็นต้น 6. นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ประเภทเบ็ดเตล็ด คือนาฏศิลป์ท่ีมีลักษณะต่างไปจากนาฏศิลป์ประเภทท่ี กล่าวมาแลว้ ในปัจจุบันได้รับการสร้างสรรค์ให้มขี ึ้นอีกหลายชุด เช่นเดียวกบั นาฏศิลปส์ ร้างสรรคป์ ระเภทอ่ืนๆ โดย สถาบนั ต่างๆทั่วประเทศไทย เชน่ ระบาดอกบวั ไทย ราเทดิ วฒั นธรรม จากการศึกษาประเภทของนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ข้างต้น จะพบว่า นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์มีความ หลากหลายและลว้ นแตส่ รา้ งสรรคเ์ พ่ือมงุ่ หมายด้านความงดงาม วิจติ รตระการตา เป็นงานสรา้ งสรรค์สนองตอบต่อ จติ ใจของมนุษย์เพ่อื พฒั นางานดา้ นวิจิตรศิลป์ สามารถทีจ่ ะหยบิ ยกเรื่องใกล้ตัว ตามสภาพความเป็นอยู่หรือวิถีชีวิต 13 การดารงอยู่ เล่าขานผา่ นผลงานนาฏศิลปไ์ ดอ้ ย่างนา่ ชนื่ ชม จนเปน็ ทีย่ อมรบั และเผยแพร่กันต่อมาจนปัจจุบัน เช่น ระบา รา ฟ้อน โขน ละคร 2.2.3 นาฏยประดษิ ฐ์ของไทย สรุ พล วริ ฬุ ห์รกั ษ์ (2543 , หน้า 211-213) ได้ให้ความหมายและเสนอแนวทางการทางานเป็นข้ันตอน ไว้ดังน้ี นาฏยประดษิ ฐ์ หมายถึง การคดิ การออกแบบ และการสร้างสรรค์ แนวคิด รูปแบบ กลวิธีของนาฏยศิลป์ ชุดหนึ่ง ท่ีแสดงโดยผู้แสดงคนเดียวหรือหลายคน ท้ังน้ีรวมถึงการปรับปรุงผลงานในอดีต นาฏยประดิษฐ์ จึงเป็น การทางานท่ีครอบคลุม ปรัชญา เน้ือหา ความหมาย ท่ารา ท่าเต้น การแปรแถว การตั้งซุ้ม การแสดงเดี่ยว การ แสดงหมู่ การกาหนดดนตรี เพลง เครอื่ งแต่งกาย ฉาก และ ส่วนประกอบอน่ื ๆ ที่สาคัญในการทาให้นาฏยศิลป์ชุด หนงึ่ สมบูรณต์ ามท่ีตั้งใจไว้ ผู้ออกแบบนาฏยศิลป์ เรียกกันโดยท่ัวไปว่า ผู้อานวยการฝึกซ้อม หรือผู้ประดิษฐ์ท่ารา แต่ในทน่ี ้ีขอเสนอคาใหม่ว่า นกั นาฏยประดษิ ฐ์ ซึ่งตรงกับภาษองั กฤษวา่ Choreographer นาฏยประดิษฐ์มีการทางานเป็นขัน้ ตอนดังนี้คือ 1. การคดิ ใหม้ ีนาฏยศิลป์ 2. การกาหนดความคิดหลัก 3. การประมวลขอ้ มูล 4. การกาหนดขอบเขต 5. การกาหนดรูปแบบ 6. การกาหนดองคป์ ระกอบอืน่ ๆ 7. การออกแบบนาฏยศิลป์ 7.1 ทฤษฎที ัศนศิลป์ คอื องค์ประกอบตา่ งๆ และวธิ ีนาองค์ประกอบเหล่านน้ั มาบรรจุไว้ในภาพทา ให้เกดิ ความงามและมคี วามหมาย นาฏยศลิ ปต์ ้องอาศัยหลักทศั นศิลป์เปน็ สว่ นหนึ่งในการแสดงออกเช่น ท่ารา การ แปรแถว การตั้งซุ้ม รูปแบบ สีสันของเครื่องแต่งกาย และแสงสี หากนักนาฏยประดิษฐ์มี ความรู้ความเข้าใจใน ทฤษฎีทัศนศิลป์ไมเ่ พยี งพอ ผลงานท่ีสรา้ งสรรค์ กอ็ าจด้อยคณุ ค่าทางศลิ ปะ 7.1.1 องคป์ ระกอบทัศนศิลป์ ได้แก่ จุด เส้น รปู ทรง สี พนื้ ผวิ 7.1.2 การจัดองค์ประกอบทัศนศิลป์ มีหลัก 4 ประการ ความมีเอกภาพ ความสมดุล ความกลมกลนื ความแตกตา่ ง 7.2 ทฤษฎีแห่งความเคลอ่ื นไหว (Kenetology) 7.2.1 การใช้พลัง คอื การใช้ความแรงของพลัง อาจมีท้ังพลังท่ีหนักและอาจจะพลังน้อย เพ่อื ความนมุ่ นวล อ่อนโยน เชื่องชา้ มีการเน้นเร่งหรอื ลดในการใชพ้ ลังเพอื่ การเคลอ่ื นไหว 7.2.2 การใช้ท่ีว่าง คือการเคลื่อนไหวท่ีต้องอาศัยการหยุดอยู่บนตาแหน่งต่างๆบนเวที และคานึงถึงความกว้าง ความแคบและใกลไ้ กล รวมถงึ ทิศทางทง้ั แปดทิศ 7.3 ขั้นตอนในการออกแบบนาฏยศลิ ป์ 7.3.1 การกาหนดโครงร่างรวม ออกแบบวาดวางแผนโดยใช้ภาพวาดประกอบเพื่อความ เขา้ ใจตรงกัน วาดออกแบบตามที่จินตนาการไว้ เปน็ เอกสารทชี่ ่วยจาในการทางานและปรับเปลี่ยนแก้ไขไปเรอ่ื ยๆ 7.3.2 การแบ่งช่วงอารมณ์ เป็นการใช้จานวนนักแสดง และออกแบบการเคล่ือนไหว เพอื่ สะท้อนอารมณท์ ต่ี ้องการในชว่ งนนั้ ๆ 14 7.3.3 ท่าทางและทิศทาง การแสดงมักจะมีท่าทางหลักอยู่เป็นระยะๆ ตลอดเวลาของ การแสดงเพ่ือเชอื่ มหรือแสดงความเปน็ เอกภาพของการแสดงชุดนั้นและมที ่าทางอน่ื ๆกาหนดให้เป็นไปเฉพาะในแต่ ละชว่ ง ส่วนทศิ ทางกเ็ ปน็ ตัวกาหนดการเข้าออกและการเคลือ่ นที่ 7.3.4 การลงรายละเอียด คือการซ้อมท่ีมากพอสมควรและเร่ิมพิถีพิถันกับรายละเอียด เพ่มิ ความเอาใจใสเ่ ปน็ พิเศษในแตล่ ะช่วง เพ่อื ใหก้ ารแสดงสมบูรณย์ ง่ิ ข้นึ นอกจากน้ีอาจารย์สุรพล วิรุฬห์รักษ์ ยังสรุปตอนท้ายว่า ในการออกแบบนาฏยศิลป์ แม้จะดาเนินตาม ข้ันตอนดังกล่าว แต่บางคร้ังความคดิ ของนกั นาฏยประดษิ ฐ์ ไม่แจ่มใส ไม่โลดแล่น จึงไม่สามารถเรียบเรียงออกมา ใหเ้ หน็ เป็นภาพได้ ในกรณเี ช่นนัน้ นกั นาฏยประดิษฐต์ ้องขอความร่วมมอื จากผแู้ สดง และผเู้ กย่ี วข้องให้ช่วยทดลอง ปฏิบตั ิ เชน่ ลองตัง้ ซุ้ม ลองเกาะเกย่ี วกัน ลองแสดงทา่ ทางกบั อปุ กรณ์การแสดง ให้เกดิ ความแปลกใหม่ เหล่านี้เป็น ต้น เม่ือไดข้ อ้ ยตุ ิอันพึงพอใจแล้วก็บันทึกเอาไว้จะด้วยความทรงจา ด้วยภาพวาด หรือภาพถ่าย หรือ วีดิทัศน์ก็ได้ (สรุ พล วิรุฬหร์ ักษ์ , 2543 , หนา้ 211-213) นาฏยประดษิ ฐข์ องไทย นาฏยประดิษฐ์ของไทย มีจารีตมาช้านาน และมีลักษณะสาคัญสามประการคือ 1.ท่ารา 2.การแปรแถว และ 3.การตงั้ ซุม้ ดังนี้ 1. ทา่ รา ทา่ ราของไทย แบ่งออกได้เป็นสามแบบ คือ ท่าระบา ทา่ ละคร และทา่ เต้น 2. การแปรแถว การแปรแถวในนาฏยประดิษฐ์ของไทยค่อนข้างจากัด เป็นการแปรแถวท่ีไม่สลับซับซ้อนมากนัก อาจเป็นไปได้ว่านักนาฏยประดิษฐ์ไทย เน้นการประดษิ ฐท์ า่ ราเดี่ยวมากกว่าการแปรแถว การแปรแถวแบบหลัก ๆ ในนาฏยประดิษฐ์ของไทย ได้แก่ แถวหน้ากระดานขนาน แถวหน้ากระดานทแยงมุม แถวตอนเดี่ยว แถวตอนคู่ หรอื ปากพนัง วงกลมชั้นเดียว วงกลมซ้อน สาหรับการแปรขบวนในแถวน้ัน ได้แก่ การเดินหน้าถอยหลัง การเดิน ตามกัน การเดนิ สลบั กนั และการเดนิ เขา้ ออกศนู ย์กลาง 3.การต้งั ซุม้ การต้ังซุ้มของนาฏยศิลป์ไทย นิยมจัดให้ผู้แสดงจับกลุ่มเป็นซุ้มรูปสามเหลี่ยม โดยทาท่าให้สอง ข้างของแกนกลางเหมือนกนั ทัง้ ซ้ายขวา หากมีหลายกลุ่มก็จะจัดกลุ่มกลางให้ใหญ่เป็นกลุ่มหลักและกลุ่มย่อยสอง ข้างมจี านวนเทา่ กนั และทาท่าเหมือนกัน จากองค์ความรู้ดังกล่าว พบวา่ ท่าราไทยมีปริมาณมากมาย อีกทง้ั มีกาหนดระเบียบกฎเกณฑ์การ ใช้ท่าราต่าง ๆ แต่ละท่าไว้ค่อนข้างตายตัว ทั้งเปิดโอกาสให้ใช้ภูมิปัญญาของนักนาฏยประดิษฐ์ คิดออกแบบให้ หลากหลาย ออกไปอย่างไม่มีที่สิน้ สดุ เช่นการแปรแถว และการตั้งซุ้ม แม้จะนิยมคิดในแนวให้สองข้างเหมือนกัน แต่มิไดม้ ขี อ้ จากัดในเร่อื งนี้ เช่น การขน้ึ ลอยในโขน ก็เปน็ การออกแบบการตั้งซุ้มให้สอดคลอ้ งไมเ่ หมอื นกันได้อย่าง งดงาม นาฏยประดิษฐ์ของไทยในอดีต มีความร่ารวยในจารีตและภูมิปัญญา ซ่ึงสามารถอานวยประโยชน์ให้นัก นาฏยประดิษฐ์ของไทยในปัจจุบัน สามารถนาไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับปัจจุบันสมัยได้อย่างไม่มี ข้อจากัด นบั ว่านาฏยประดิษฐข์ องไทยมคี ุณคา่ สูงส่งมากชนดิ หน่งึ ในโลก 2.2.4 ขอ้ เสนอแนะสาหรบั ผ้คู ิดประดิษฐ์นาฏศิลปไ์ ทยสร้างสรรค์ ข้อเสนอแนะสาหรับผคู้ ดิ ประดิษฐน์ าฏศลิ ปไ์ ทยสรา้ งสรรค์เปน็ ขอ้ ควรระวังเพ่อื การสรา้ งสรรคผ์ ลงานท่ีมคี ุณภาพไว้ดังตอ่ ไปนี้ 15 1. ไม่ทาส่ิงหนงึ่ สิ่งใดซา้ ๆ จนคนดูเจนตาและไม่เห็นว่าสิ่งใดใหม่เกิดขึ้น แม้ว่าสิ่งที่ทาขึ้นน้ัน จะ ทาไดย้ าก แต่เม่ือทาบ่อย ๆ กห็ มดความหมาย 2. ไมท่ าสิ่งใดที่คนดคู าดเดาได้วา่ จะเกิดอะไรข้ึน เพราะคนดจู ะไม่แปลกใจ และจะไมช่ ่ืนชมเพราะ ไม่ตน่ื ตาตื่นใจ 3. ไม่ทาส่ิงท่ีหลากหลาย มีสิง่ ละอันพันละน้อยปะปนสับสนวุ่นวาย จนยากที่จะทาให้คนดูเข้าใจ และตดิ ตามการแสดงอยา่ งต่อเนือ่ ง 4. ไม่ทาส่ิงใดท่ีทาลายสมาธิอย่างต่อเนื่องของคนดู มิฉะน้ันคนดูจะต้องเร่ิมต้นใหม่ต่อเม่ือการ แสดงได้ผ่านไประยะหน่ึงแลว้ และอาจตดิ ตามตอ่ ไปไมท่ นั ก็เลยหยดุ การชื่นชมแต่เพียงเท่านน้ั 5. ไม่ทาส่ิงใดท่ีเกินความสามารถของผู้แสดงจะทาได้ดี เพราะจะได้ผลตรงข้าม คือคนดูจะดูถูก ความสามารถของผ้แู สดง และมผี ลเลยมาถึงการไมย่ อมรับผลงานโดยรวมอีกดว้ ย 6. ไมท่ าสง่ิ ใดท่กี ีดขวางการเคล่ือนไหวของผแู้ สดง ไมว่ า่ จะเป็นเครอ่ื งแต่งกายที่รุ่มร่าม หรือ ฉาก ทเ่ี กะกะ เพราะจะทาให้สะดดุ หลุด ลม้ เสียความงดงามของการแสดงไปได้ 7. ไม่ทาสิ่งใดที่แปลกใหม่ ท่ีคนดูไม่คุ้นเคย หรือไม่สามารถจะเข้าใจได้ด้วยปัญญาและ ประสบการณ์ 8. ไม่ทาสิง่ ใดทขี่ ดั ต่อ ศลี ธรรม จารีตประเพณที ีค่ นดูยอมรบั นับถอื 9. ไม่ทาส่ิงใดท่ีขาดความพรอ้ มและความม่นั ใจ 10. ไม่ทาสิง่ ใดท่คี นดเู บื่อ สรุป นาฏยประดิษฐ์ เป็นการประมวลปัจจัยต่าง ๆ ของการแสดงมาสร้างสรรค์เป็นนาฏยศิลป์ นาฏยประดิษฐ์แม้จะเป็นศิลปะสร้างสรรค์ ท่ีต้องการความแปลกความใหม่ แต่ก็ยังต้องอาศัยปัจจัยของนาฏย จารีตจากอดีตเป็นฐาน วัตถุดิบ ความคิด วิธีการ การศึกษาและเรียนรู้ ตัวอย่างจากอดีตยิ่งมีมากและหลากหลาย เพยี งใด กย็ อ่ มทาให้นกั นาฏยประดิษฐ์สามารถนาส่ิงท่ีได้พบเห็นมาใช้ในการออกแบบของตนได้มากประการหนึ่ง และสามารถหลีกเลี่ยงไม่ออกแบบซ้ากับผลงานท่ีมีอยู่แล้วอีกประการหนึ่ง ท้ังสองประการนี้จะทา ให้ผลงาน สร้างสรรคข์ องนกั นาฏยประดษิ ฐม์ ีความแปลกใหม่และโดดเด่นอย่างแทจ้ ริง 2.3 ทฤษฎที ่ีเก่ยี วข้อง 2.3.1 ทฤษฎีการวเิ คราะหท์ ่ารา อรวรรณ ขมวัฒนา (2530, หนา้ 30) ไดก้ ล่าวในงานวิจยั เรือ่ ง “ราไทยในศตวรรษท่ี 2 แห่งกรุง รัตนโกสินทร์” ลักษณะของท่าราไทย โดยวิเคราะห์จากลีลาการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกาย ต้ังแต่ ศีรษะ ไหล่ แขน ลาตัว มอื ขาและเทา้ พบวา่ หลกั สาคัญของท่าราไทยมีรากฐานอย่างเดียวกันทั้งพระ นาง ยักษ์ ลิง คือ การทรงตวั ตอ้ งตงั้ ตัวให้ตรง ตึงเอว ตึงไหล่ การใช้ข้อต่อของร่างกาย เพ่ือแสดงจังหวะ การฝึกกาลังขาเพ่ือการยืน รบั น้าหนักท่มี น่ั คง การใชก้ ล้ามเน้ือ การใช้ข้อเท้า ต้องหักข้อเท้าข้ึน ให้ส้นเท้าขนานกับพ้ืน การใช้ข้อมือ ต้องหัก ขอ้ มือเขา้ เมือ่ จีบมือและหักข้อมอื อกเมอ่ื แบมือ ส่วนของสะโพกต้องไม่บิดไปบิดมา และหน้าอกต้องไม่แอ่น อีกทั้ง ยงั ได้สรปุ หลกั สาคัญข้ันต้นทตี่ ้องปฏิบตั ิ ไดแ้ ก่ 1.การทรงตวั จะตอ้ งต้ังหน้า ตวั ตรงและเสีย้ วอดั เปดิ ปลายคางหรือตกทา้ ย ทอยหน้าอกหย่อนและผาย อัด หย่อนหวั ไหล่ ดนั กระเบนเหน็บ กดหรือดนั ตะคากและทับหน้าขา 2.การแบง่ สว่ นร่างกาย โดยแบง่ ออกเป็น 4 ส่วน คือ 2.1การต้งั หน้า สว่ นหน้าตั้งแต่ศรี ษะลงไปถงึ ลาคอ การเคลื่อนไหว 16 ด้วยลักษณะอาการ “พยัก หน้า” ยักคอ ส่ายหน้า กล่อมหน้า หลักท่ีต้องบังคับ คือ เปิดปลายคาง หรือตกท้าย ทอย เอียงหูซ้าย-ขวา เปน็ ต้น 2.2การต้งั ตัว หมายถึง ส่วนของลาตวั ต้งั แต่บ่าท้ังสองข้างไปถึงสะเอว หรือสว่ นสุดของลาตัว การเคลื่อนไหวด้วยลักษณะอาการ ใช้ลาตัวเป็นการบริหารลาตัว หน้า ”ยักหรือกล่อมตัว“ ท้อง สะเอว หลักทต่ี อ้ งบงั คบั คอื หยอ่ นอก ผายไหล่ หย่อนไหล่ ดันกระเบนเหนบ็ และทับหนา้ ขากดตะคาก เป็นตน้ 2.3 การตั้งวงใช้ส่วนแขน ตัง้ แตต่ น้ หรอื โคนแขนท้ังสองข้างลงไปถึงปลาย นิ้วมือหลกั ท่ีต้องบงั คับ คือ การดัดนิว้ ดัดขอ้ มอื ข้อแขน ควงมือ ควงขอ้ แขน เปน็ ตน้ 2.4 การต้ังเหลีย่ ม คอื ส่วนเทา้ ตงั้ แต่โคนขาลงไปถงึ ปลายเท้า การ เคลอื่ นท่ีดว้ ยลกั ษณะอาการยืน ยบุ ยดื กระโดด สะบดั เหวี่ยง หมุนข้อเท้า เข่า และอาการเกร็ง หลักท่ีต้องบังคับ คอื เปดิ หนา้ ขา หลบหน้าขา หนบี นอ่ ง ตดั ข้อเทา้ และการเกร็ง ใชใ้ นการยืนยอ่ เฉลย่ี น้าหนัก เป็นตน้ ผู้วิจัยได้ใช้หลักของแนวคิดเกี่ยวกับลักษณะของท่าราไทย ลีลาการเคล่ือนไหวส่วนต่างๆของ รา่ งกายตั้งแต่ศีรษะ ไหล่ ลาตัว แขน ขา และเทา้ มาวิเคราะหเ์ กยี่ วกบั การใชส้ รีระในการรา 2.3.2 ทฤษฎแี ห่งการเคล่อื นไหวของรา่ งกาย ชมนาด กิจขันธ์ (2547,หนา้ 28) แนวคิดและทฤษฎขี องตะวนั ออก ผวู้ ิจยั ได้ใช้ กรอบแนวคดิ ที่ไดม้ าใชใ้ นการวจิ ัยดังน้ี 1.ในขณะท่ฟี อ้ นรา ภาวะและรส จะเกดิ ขึ้นสลบั กัน และตา่ งกอ็ าศัยซึง่ กันและกนั 2.นาแนวคิดของ นฤตตะ มาเปน็ กรอบในการวิจยั คือ เป็นการหานาฏยลักษณ์ จากการฟ้อนราโดยเฉพาะไม่เจือปนด้วยความหมายพิเศษ หรืออารมณ์ใดๆ เป็นการฟ้อนราล้วนๆเป็นการ เคลื่อนไหวร่างกายที่ไม่มีความหมายหรือมีอารมณ์มาเก่ียวข้อง แต่เป็นการแสดงกลวิธีท่ีละเอียด ซับซ้อนของ จงั หวะและท่าทางต่างๆ 3.ใชแ้ นวคิดการแยกสัดส่วนของอวัยวะท่ใี ชใ้ นการฟอ้ นรา โดยพิจารณาถงึ อวยั วะ ทีเก่ียวขอ้ งกบั การเคลอื่ นไหวของนาฏศิลปไ์ ทย จาแนกอวัยวะออกเป็นส่วนๆ ซึ่งมีการกาหนดการเคล่ือนไหวเป็น แบบแผนตายตวั ของอภนิ ายะ 4.หลกั สาคญั ของนาฏศลิ ป์ไทยมีรากฐานอยา่ งเดยี วกนั ท้ัง พระ นาง ยักษ์ และลิง คอื การทรงตัว การใชข้ ้อต่อของร่างกาย การฝึกกาลังขา การใช้กล้ามเน้ือเกลียวข้าง เกลียวหน้า เกลียวหลัง การ ใช้ขอ้ เท้าและขอ้ มือ ชมนาด กจิ ขันธ์ (2547 ,หน้า 28) ไดก้ ลา่ วไวใ้ น ศาสตร์แหง่ การเคลือ่ นไหวของ รา่ งกาย : แนวคิดและทฤษฎีของตะวันตก โดยศึกษาการวิเคราะห์การเคลื่อนไหวร่างกายตามแนวคิดและทฤษฎี ของตะวนั ตก ทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับการวิจัยในครั้งนี้ โดยพิจารณาเน้ือหาในประเด็นที่เป็นส่วนสาคัญของการเคลื่อนไหว ร่างกาย สรปุ ได้ดงั นี้ 1.หลักการวเิ คราะหก์ ารเคลื่อนไหวร่างกายของลาบาน (Labanotation) หลกั การวิเคราะหก์ ารเคลือ่ นไหวของร่างกายของลาบานมี 8 ประการ ดังน้ี 1.1 ทิศจุดหมายปลายทาง (Direction Destination) หมายถึง การพิจารณาทิศทาง ของอวยั วะทีเคลอ่ื นไหวไปน้นั เปน็ ไปในทิศทางใด การวเิ คราะห์เชน่ น้ีจะเน้นที่จุดหมายปลายทางสุดท้ายของแต่ละ ท่าทาง มากกวา่ เนน้ กิริยาของอวยั วะทเี่ คลอื่ นไหว 1.2 อิรยิ าบถ (Motion) เปน็ การวเิ คราะห์การเคลอื่ นไหวจากอริ ยิ าบถ 17 หนึ่งไปสู่อีกอิริยาบถหนึ่ง โดยไม่ระบุตาแหน่งสุดท้ายของการเคลื่อนไหวอันเป็นเป็นการเอ้ือต่อการตีความของ ทา่ ทางอย่างอสิ ระ 1.3 การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ (Anatomical Change)เปน็ การ พิจารณาอวัยวะสว่ นท่เี ป็นขอ้ ต่อตา่ งๆของร่างกาย เช่น หัวไหล่ ข้อศอก ข้อมือ สะโพก หัวเข่า ข้อเท้า เป็นต้น ซงึ่ ไมว่ ่าอวยั วะใดงอ โค้ง ยืดหรอื เหยียด หมนุ หรอื บดิ ขน้ึ อยู่กับการเคล่ือนไหวของข้อต่อของร่างกายดังกล่าว การ วเิ คราะหล์ กั ษณะน้ีจะใหผ้ ลทชี่ ดั เจนและถูกตอ้ ง 1.4 สมั พนั ธภาพ (Relationship)เป็นการวิเคราะหค์ วามเกยี่ วขอ้ งกัน ของทา่ ทางระหวา่ งตวั ผรู้ ่ายราตง้ั แต่ 2คนข้นึ ไป หรอื ระหวา่ งตวั ผ้รู า่ ยรากับอุปกรณ์การแสดง เช่น การจับมือหรือ อวัยวะอนื่ ๆ ระหวา่ งคู่ทร่ี า การถอื แบก ยก หรือสมั ผสั อุปกรณก์ ารแสดง หรอื บคุ คลท่ีแสดงดว้ ยกนั เป็นตน้ 1.5 จุดก่ึงกลางของน้าหนักและการรงตัว (Center of Weight Balance) เป็นการ วิเคราะห์หารายละเอยี ดของการเคลื่อนไหวร่างกายในการทรงตวั ตลอดจนอวยั วะทรี่ บั น้าหนกั และการถา่ ยนา้ หนัก ตวั ในแต่ละจังหวะท่วงท่า ซึ่งมลี กั ษณะท้ังทเี รยี บง่าย สลบั ซับซ้อนและรวดเร็ว 1.6 พลวัต (Dynamics)เป็นการวิเคราะห์พละกาลงั หรอื แรงขับเคลือ่ น ของร่างกายซงึ่ จะเกย่ี วกบั นา้ หนักตัว อากาศวถิ ี แรงขับภายในและระยะเวลาของการเคลื่อนไหวร่างกายนนั้ ๆ 1.7 การกาหนดจังหวะ (Rhythmic Pattern) เป็นการวิเคราะห์ลักษณะของการ เคล่อื นไหวที่ตอบสนองของดนตรี ซงึ่ เป็นการเคลอื่ นไหวท่ีมีความสมั พนั ธ์ซ่ึงกันและกนั 2. องค์ประกอบท่เี ปน็ สว่ นสาคญั ของการเคลอื่ นไหวรา่ งกาย องคป์ ระกอบที่ สาคญั มี 4 ประการ คือ 2.1 ส่วนของร่างกาย (Body Part) หมายถึงการพิจารณาว่า อวัยวะ ส่วนใดบ้างของร่างกายท่ีเคลือ่ นไหว 2.2 อากาศวถิ ี (Space) หมายถงึ การพจิ ารณาวา่ อวยั วะท่ีเคล่ือนไหวนั้นไปในทิศทางใด ระดับสงู เพยี งใด เพราะการเคล่ือนไหวขอไปในอากาศอยู่รอบๆ ตวั เรา 2.3 เวลาหรอื จงั หวะ (Time) หมายถึงการพิจารณาความมาก-นอ้ ยของจังหวะ หรือเวลา ทอ่ี วยั วะน้ันๆเคลอ่ื นทีไ่ ป 2.4 รปู แบบ (Style) หมายถึงการพจิ ารณาลักษณะของการเคลือ่ นไหวของอวยั วะว่าเป็น อยา่ งไร เชน่ เชือ่ งช้า นุม่ นวล คกึ คกั หรอื ฉวัดเฉวียน เปน็ ตน้ ผู้วิจัยได้นาหลักแนวคิดและทฤษฎีการวิเคราะห์การเคลื่อนไหวร่างกายของตะวันตกที่กล่าวมา ทั้งหมด มาประยกุ ตเ์ ข้ากับแนวคิดและทฤษฎีการเคล่อื นไหวรา่ งกายของตะวนั ออก เพอ่ื ได้แนวทางในการวิเคราะห์ ทา่ รานาฏศลิ ป์ไทย (ชมนาด กจิ ขนั ธ์ , 2547 ,หนา้ 28) 2.3.3 แนวคดิ เกีย่ วกบั วธิ ีปฏบิ ัติท่ารา สุภาวดี โพธเิ วชกุล (2552,หน้า 62) ได้กลา่ วถึงแนวคิดเกีย่ วกับระดับมาตรฐานของวิธีปฏิบัติท่า รานาฏศิลปไ์ ทยแบบหลวง โดยกลา่ ววา่ ระดับมาตรฐานของวิธีปฏบิ ัตทิ ่ารานาฏศิลป์ไทยแบบหลวง หมายถึง ระดับ คุณภาพท่าราของผู้ปฏิบัติท่ีเกิดจากการฝึกหัดอย่างเป็นขั้นตอนและต่อเน่ืองเป็นระยะเวลายาวนาน รวมถึง ประสบการณ์ของผูป้ ฏบิ ัตทิ ่ีได้รับบทบาทต่างๆจากการแสดงซ้าๆหลายครั้งหลายคราว ทาให้เกิดคุณภาพของการ ปฏบิ ตั ทิ า่ ราอย่างเปน็ มาตรฐาน แบ่งออกเป็น 2 ระดบั คือ ระดับขั้นพ้ืนฐานและระดบั ขน้ั สูง 18 ระดบั ขนั้ พื้นฐาน คอื ผ้ปู ฏิบัตินาฏศลิ ปไ์ ทยไดถ้ ูกต้องและมคี ณุ ภาพตามหลักเกณฑ์มาตรฐานวิธีรา นาฏศลิ ป์ไทยแบบหลวง ประกอบด้วย ความถกู ตอ้ งและความสมบรู ณ์ของท่าราดังกล่าวแล้ว โดยต้องเข้าใจการใช้ รา่ งกายแตล่ ะสว่ นในการปฏิบัติท่ารานาฏศลิ ป์ไทยแบบหลวงให้สัมพันธก์ นั ทุกสว่ นของร่างกาย การใช้สรีระหรืออวัยวะต่างๆดังนี้ ศุภชัย จันทร์สุวรรณ์ (อ้างถึงใน สุภาวดี โพธิเวชกุล , 2552 , หนา้ 63) การใชศ้ ีรษะ ผู้ปฏิบัติจะเอียงศรี ษะไปทางซา้ ยหรอื ขวาตลอดเวลา ไม่โคลงหรือเหว่ียงศีรษะและ การเอยี งต้องปฏิบัตใิ หส้ มั พันธ์กับการใช้ใบหน้า การใช้ใบหน้า ผู้ปฏิบัติจะใช้ใบหน้าหันไปทิศทางใดน้ัน ศีรษะของผู้ปฏิบัติที่เอียงไปมาเป็น ตวั กาหนด การใชค้ อ ผู้ปฏิบตั ใิ ชล้ าคอเป็นแกน เพ่อื ช่วยกลอ่ มหรือหมุนหนา้ เพียงเบาๆให้สัมพันธ์กับไหล่ไป ตามเพลงร้องหรอื เสยี งดนตรีพาไป ไม่ฟาดคอไปมา การใชไ้ หล่ ผูป้ ฏิบัตใิ ช้ไหลแ่ ตเ่ พียงเบาๆไปตามใบหน้าท่ีมองไปทางใดทางหนึ่ง ข้อสาคัญต้องต้ัง ไหล่ให้ผ่งึ ผายตลอดเวลา โดยไม่ปลอ่ ยใหท้ รุดหรอื ออ่ นลา้ ลง การใช้แขน ผู้ปฏิบัติต้องใช้แขน เพื่อแสดงถึงแบบแผนของนาฏศิลป์ไทย ได้แก่ ต้ังแขนเป็นวง เหยียดตึง หรอื งอศอก มีระยะชดิ หา่ งตามกาหนด ทาใหเ้ ห็นถงึ ภาพรวมของท่าทางท่ีสมบรู ณเ์ ดน่ ชัด การใชม้ ือ ถอื วา่ เปน็ หวั ใจของการออกทา่ ร่ายรา เพราะคนดูจะสังเกตมือของผู้ราเป็นอันดับแรก วา่ มกี ารตงึ น้ิว ออ่ นโคง้ หักข้อมือได้เพียงใด อาจกล่าวได้ว่าการใช้มือทุกท่าทาง ต้องหักข้อมือตลอดเวลาไม่ว่าจะ หักหงาย หักควา่ กลา่ วไดว้ ่าไมม่ ที ่าราใดเลย ทไ่ี มร่ าโดยไม่หักข้อมอื การใช้ตัว ผู้ปฏิบตั ิตอ้ งทรงตวั ให้ผ่งึ ผาย ถอื เปน็ หัวใจของการราทกุ ประเภท การใช้เอว ผู้ปฏิบัติจะปล่อยให้เอวอ่อนตามไหล่และศีรษะไปเองตามธรรมชาติ การดันเอวให้ แผน่ หลังตั้งตรงช่วยดผู ึ่งผาย และเอวเปน็ ตัวบังคับสะโพกมิให้เคลอื่ นไหวไป มา การใช้ขา มสี ว่ นสาคัญในการแสดงประเภทของตวั ละคร ได้แก่ พระ นาง โดยปฏิบัติตัวพระต้อง ยอ่ ขา หรือยกขาให้เป็นมุมและกันเข่าตลอดเวลา ถ้าผู้ราปล่อยให้ขาหนีบเข้ามาเป็นเหล่ียมแคบจะดูเป็นลักษณะ การใชข้ าของตัวนางไปทนั ที การใช้เท้า ผู้ปฏิบัติใช้เท้าในลักษณะต่างๆกันตามแบบปฏิบัติของนาฏศิลป์ไทย เช่น สะดุดเท้า ผสมเท้า กระท้งุ เทา้ เป็นตน้ ในการปฏบิ ัติการราแบบหลวง มหี ลกั สาคญั ประการหนึ่งเกย่ี วกับการใช้ลาตัวเอียงหรืออ่อนไปด้านใดด้าน หน่ึง ขณะปฏิบัติท่าราอยู่กับเคลื่อนที่นั้น ให้ผู้ปฏิบัติใช้ลาตัวเพียงส่วนบนต้ังแต่เอวขึ้นไปถึงศีรษะเท่าน้ันที่เอียง หรืออ่อนไปด้านใดด้านหน่ึงได้ แต่ส่วนของลาตัวต้ังแต่เอวลงไปจนถึงเท้า ต้องบังคับให้สะโพกตรงเป็นแกนกลาง ของลาตวั ไม่ยน่ื สะโพกและไมเ่ คลอ่ื นไหวสะโพกไปดา้ นใดด้านหนงึ่ ตลอดเวลาในการปฏบิ ัติท่าราครัง้ หนึง่ ๆ สรุปได้ว่า การปฏิบัติท่าราให้ได้มาตรฐานข้ันพื้นฐาน เป็นการจัดวางตาแหน่ง ระดับและทิศทางของ อวัยวะทุกส่วนของรา่ งกายตามทไ่ี ดก้ าหนดเป็นวิธีการรา ร่วมกับวิธีการเคล่ือนไหวอวัยวะของร่างกายเป็นท่าทาง ต่างๆไปตามคาร้องและทานองเพลงตามลักษณะการราแบบต่างๆ อยา่ งสมดลุ และสมั พันธ์กัน ผ้วู ิจยั ไดน้ าหลกั ทฤษฎีของ รองศาสตราจารย์สุภาวดี โพธิเวชกุล มาใช้ในเร่ืองของการการวิเคราะห์ท่ารา โดยสังเกตการออกแบบท่าราท่ตี ้องใช้รา่ งกายแตล่ ะส่วนในการปฏิบัติท่ารานาฏศลิ ป์ไทย ตั้งแต่การใช้ศีรษะ การใช้ ไหล่ การใช้ลาตัว การใช้แขนและมือ การใช้ขาและเท้า รวมไปถึงการใช้ความสามารถไปสู่ความเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตวั ของนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ 19 ดา้ นการแปรแถว 1. การแสดงนาฏศลิ ป์ไทยสมยั โบราณไมน่ ิยมการแปรแถวใหห้ ลากหลาย เหมือนปัจจุบันน้ี มักจะนิยมแถว ตรงเรียงหน้ากระดาน หรือแถวตอนคู่ หรือลักษณะวงกลมแล้วประดิษฐ์ท่าราให้เหมือนกัน ต่อมาการแสดง นาฏศิลป์ไทยในระยะหลงั ๆ ไดร้ ับอิทธพิ ลการแสดงของต่างประเทศ ในเร่ืองของการแปรแถวจึงได้นาการแปรแถว น้นั มาดัดแปลงบรรจลุ งในการแสดงนาฏศิลป์ของไทยมากขึน้ เชน่ ในทา่ ราท่าเดยี วเหมือนกันหมด แต่การแปรแถว ต่างกัน โดยแบ่งผู้แสดงเป็นแถวเฉยี งส่วนหนึง่ ตั้งซ้มุ ส่วนหน่งึ เปน็ คอู่ ยอู่ ีกทางหน่ึง หรอื ในชว่ งเวลาน้ันผู้แสดงต้ังท่า ราตา่ งกัน แต่ว่าอยู่ในจังหวะท่วงทานองเดยี วกัน ผูป้ ระดิษฐ์ทา่ ราจะต้องคานึงถึงความสัมพันธ์กลมกลนื เป็นหลกั 2. เม่ือเปลย่ี นการแปรแถว ตอ้ งใหล้ ีลาการเคล่ือนไหวเป็นไปดว้ ยความนมุ่ นวล ไม่วิ่งตัดหน้ากันและกัน ไม่ ว่ิงซับซอ้ นจนน่าเวียนศีรษะ หรอื จะใชว้ ธิ ีต้งั ทา่ ราแลว้ เดินตามจังหวะเปล่ยี นแปรแถวใหม่ กค็ วรจะกระทาได้ 3. ผลดีของการแปรแถว ทาให้เปล่ียนอารมณ์ความรู้สึกของผู้ดู ไม่จาเจ ซ้าซากจนน่าเบ่ือแล้วเปิดโอกาส ใหผ้ แู้ สดงได้สบั เปล่ียนผลดั ข้นึ มาอยหู่ น้าเวทไี ดท้ ่ัวทุกคน 4. การคิดประดิษฐ์ท่ารา ท่ีมีแต่การบรรเลงตลอดเพลงต้ังแต่ต้นจบจบ การแปรแถวจะต้องให้พอดีกบ จงั หวะใหญ่ของทานองเพลง เชน่ ทานองแพลงลายน้ีมี 8 จังหวะ แล้วซอยออกมา 4 จังหวะ เพราะฉะน้ันจังหวะท่ี 1 และท่ี 2 น้ันคอื ลีลาเพื่อลงในจงั หวะท่ี 4 หรอื จากจงั หวะท่ี 4 แล้วเว้นช่วงไปลงจงั หวะท่ี 8 ก็ได้ การเชือ่ มทา่ สามารถทาไดห้ ลายวิธีคอื 1. เล่นเท้าในขณะท่มี บี ทเอ้อื นทานองยาวๆ 2. วงิ่ แปรแถว 3. ต้งั ซุ้ม 4. ยนื พักทา่ นง่ิ (ไมค่ วรใชเ้ วลานาน) 5. ใสล่ ีลาท่าเช่อื ม 6. ยืนตง้ั แมท่ ่ายดื ยุบตามจงั หวะอยกู่ ับท่ี การเชื่อมท่ารา ก็คือลีลาของท่าราท่ีเชื่อมแม่ท่า จากท่าหนึ่งไปยังอีกแม่ท่าหนึ่ง ให้ดูสอดคล้องสวยงาม กลมกลืนกัน โดยใช้วิธีถอนเท้าหรือเยื้องตัวให้ตรงลงจังหวะพอดี จะทาให้ดูสวยงามในขณะที่ฟ้อนรา ให้คานึงถึง พ้ืนฐานความสามารถของผู้เรียนว่าจะสามารถรับลีลาท่าเช่ือมได้มากน้อยเพียงใด เพราะลีลาท่าเชื่อมที่สวยงาม มักจะต้องอาศัยการยักเย้ือง ถ้าผู้เรียนไม่สามารถท่ีจะรับได้ก็ให้ประดิษฐ์ท่าเช่ือมไปอย่างเรียบๆ โดยการตัดลีลา ออกใหห้ มด วธิ นี คี้ วามสวยงามจะลดน้อยลง 2.3.4 แนวคดิ การสร้างสรรคน์ าฏศิลป์ไทย จากการศึกษาแนวคดิ เพือ่ สร้างสรรคท์ ่ารา ของผเู้ ชี่ยวชาญตามท่กี ล่าวมาข้างต้นน้ัน ผู้วิจัยสรุปได้ว่าผู้ที่จะ สามารถสรา้ งสรรคน์ าฏศิลปไ์ ทยทม่ี ีคุณภาพไดน้ ัน้ ควรมีคณุ สมบตั ดิ ังตอ่ ไปนี้ 1. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในเชงิ นาฏศิลปอ์ ยา่ งลึกซ้ึง เก่ียวกับแนวคิด การประดิษฐ์ท่ารา การแปรแถว ขนบ การเขา้ – ออกของผู้แสดง ฯลฯ มีความร้เู ทา่ ทนั การแปรเปลย่ี นของกระแสโลกและสังคมใฝ่ศึกษาพัฒนาความรู้ให้ กว้างไกล ครอบคลมุ รอบด้าน ท้ังด้านประวัติศาสตร์ ภูมศิ าสตร์ สังคม วรรณกรรม ฯลฯ 2. มีความสามารถ ท่ีจะพัฒนางานใหเ้ กดิ ความแปลกใหม่ เปน็ นกั คิดสรา้ งสรรค์เลือกเฟ้นศิลปะสาขาอื่น ๆ ท่ีเป็นองค์ประกอบสาคัญ เช่นการดนตรี การออกแบบเครื่องแต่งกาย อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบ ฯลฯ มาใช้ได้อย่าง เหมาะสมกลมกลนื 3. มีสนุ ทรียภาพ เหน็ คุณค่า สามารถเลือกสรรสว่ นท่เี ปน็ เลศิ ของศิลปะในสาขา ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ทกุ สาขา มาผสมผสาน ใหเ้ กดิ เปน็ ผลงานได้อยา่ งมคี ณุ ภาพ 20 สรุ พล วิรฬุ ห์รักษ์ (2543 , หน้า199 - 200) กลา่ วถงึ การแต่งกายประกอบการ แสดงไว้ดงั นีป้ ระเภทของเครือ่ งแตง่ กาย เครื่องแตง่ กายสาหรับนาฏยศิลป์ อาจแบ่งไดเ้ ปน็ 4 ประเภทคอื 1. เครื่องแตง่ กายปกติ 2. เครอ่ื งแตง่ กายประยุกต์ 3. เครื่องแตง่ กายประเพณี 4. เครื่องแตง่ กายสรา้ งสรรค์ 1. เคร่ืองแตง่ กายปกติ หมายถงึ เครือ่ งแตง่ กายท่ีคนทว่ั ไปตกแตง่ รา่ งกายเพ่ือดาเนินชวี ติ ตามปกติของแต่ละบุคคล แล้วนามาใช้เป็นเครื่องแต่งกายในการแสดงนาฏยศิลป์ เครื่องแต่งกายประเภทน้ีมี มากมายหลายรูปแบบ แต่มีเครื่องแต่งกายบางชิ้นที่ไม่ใคร่เหมาะสมกับนาฏยศิลป์ เช่น มีน้าหนักมาก มี เคร่ืองประดบั มากและมีความรุ่มรา่ มมาก 2. เครอ่ื งแต่งกายประยกุ ต์ หมายถงึ เคร่อื งกายนาฏยศิลป์ที่เลยี นแบบเครื่องแตง่ กาย ปกติ แต่ดัดแปลงให้เหมาะแก่การแสดงนาฏยศิลป์ เช่น ปรับให้กางเกงตรงโคนขาและเป้ากระชับลาตัว จะได้ สะดวกในการยกขา เตะขา ฉกี ขา มิฉะนั้นตะเข็บบริเวณน้ันตะแตกหรือนุ่มห่มให้ทะมัดทะแมงกว่าปกติอย่างการ นุง่ ผ้าโจงกระเบนสาหรบั การราไทยชดุ ต้นวรเชษฐ์ จะจบั กลบี และรั้งผ้าผ้าให้สูงขึ้นมาใกล้หัวเข่า ซึ่งปกติอยู่ท่ีระดับ ประมาณครึง่ แขง้ เพื่อให้ขยับขาในการราได้ไมต่ ดิ ชายผ้าโจง ส่วนสไบกร็ ัดอกและลาตัวแน่นจนเห็นรูปร่างมากกว่า หม่ ผา้ สไบหลวมให้สบายตัวตามปกติ หรอื ชดุ ลิเกทรงเคร่ือง เม่อื แรกคิดก็ประยกุ ต์มาจากชดุ ข้าราชการช้ันสูงในราช สานัก รชั กาลท่ี 5 นน่ั เอง 3. เคร่อื งแตง่ กายประเพณี หมายถงึ เครอื่ งแตง่ กายนาฏยศลิ ปท์ ีไ่ ดร้ ับการพฒั นาตาม กาหนดเป็นรูปแบบตายตัว ท้ังรูปทรง สีสัน และเคร่ืองประดับต่าง ๆ เคร่ืองแต่งกายประเพณีมักใช้ควบคู่กับตัว ละครหรือตวั ระบาในการแสดงชดุ ใดชดุ หนงึ่ โดยเฉพาะ อาทิ ชุดรัดเครือ่ งพระนาง ละครราไทย ชุดงิ้วจีน ชุดกาถัก กาลอิ นิ เดยี เครื่องแต่งกายภายในกรอบประเพณีน้ี ยงั ได้กาหนดรายละเอียดเฉพาะละครแตล่ ะตวั วา่ มรี ูปแบบสีสัน และการประดบั ประดาอย่างไร 4. เครื่องแต่งกายสร้างสรรค์ หมายถึง เคร่ืองแต่งกายที่คิดประดษิ ฐ์ขน้ึ โดยไม่ยดึ หลกั ของเคร่ืองแต่งกายท้ัง 3 ประเภทดังกล่าว แต่เป็นการออกแบบเฉพาะกรณี เคร่ืองแต่งกายประเภทน้ี จะมีผู้คิด สร้างสรรค์ประกอบกับนาฏยศิลป์ชุดใหม่ ๆ อยู่เสมอ เพ่ือให้เกิดความแปลกตา และเพ่ือสนองความคิดและ จนิ ตนาการทมี่ ีอย่อู ยา่ งไม่จากดั การออกแบบเคร่อื งแต่งกาย การออกแบบเคร่ืองแตง่ กายมหี ลักคานงึ ถงึ 6 ประการ คือ 1. หน้าทีใ่ ช้สอย 2. รูปแบบ 3. บุคลิกตวั ละคร/ผู้แสดง 4. การสรา้ ง 5. การถอดเปลีย่ น 6. การประหยดั 21 สุรพล วิรุฬรักษ์ (2543 , หน้า234)ได้กล่าวถึงการแปรแถวในการจัดการแสดงไว้ว่าการ แปรแถวใน นาฏยศลิ ปข์ องไทยคอ่ นข้างจากัด เปน็ การแปรแถวท่ไี ม่สลับซบั ซ้อนมากมายนัก อาจเป็นไปได้วา่ นกั นาฏยประดิษฐ์ ไทย เนน้ การประดิษฐท์ า่ ราเดย่ี ว มากกว่าการแปรแถว การแปรแถวแบบหลกั ๆ ในนาฏยศลิ ปไ์ ทย ได้แก่ แถวหน้า กระดานขนาน แถวหน้ากระดานทแยงมุม แถวตอนเดี่ยว แถวตอนคู่ แถวยืนปากผายหรือปากผนัง วงกลมช้ัน เดียว วงกลมซ้อน 2.4. งานวิจยั ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง จิรายุทธ พนมรักษ์ (2533) ได้ศึกษาเรื่อง เอกลักษณ์ไทยในงานนาฏยศิลป์ไทย สมัยร่วม ของนราพงษ์ จรัสศรี จากการศึกษาพบว่าเอกลักษณ์ไทยในงานนาฏยศิลป์ไทยร่วมสมัยของ นราพงษ์ จรัสศรี มีการนา ประสบการณค์ วามเป็นเชื้อชาติไทย ผสมผสานระหว่างแนวความคิด ลีลาของนาฏศิลป์ไทย นาฏยศิลป์ตะวันออก และนาฏศิลป์ตะวันตก ทาให้เกิดนาฏลีลาแบบไทยร่วมสมัย กระบวนท่าที่ปรากฏจะสะท้อนความเคารพ ขนบ จารตี ดง้ั เดิมและสร้างสรรคข์ ้นึ ใหม่ โดยคานงึ ถงึ ความเหมาะสม โดยไมท่ าลายของเก่าอันเป็นพ้ืนฐาน นอกจากน้ียัง แสดงถึงความเป็นอิสระทางการสร้างสรรค์เพื่อให้ภาพทางการแสดงปรากฏ ตรงตามเน้ือเรื่องและสถานการณ์ ก่อให้เกดิ สนุ ทรียภาพทางศลิ ปะ สรา้ งจิตสานกึ ความเป็นไทยแกผ่ ู้ชม ซง่ึ เก่ยี วข้องกบั งานวิจยั ทผ่ี ู้วิจัยกาลังศึกษาคือ การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศลิ ปไ์ ทยสร้างสรรค์ ไม่ว่าจะคิดออกแบบในรูปแบบใด ส่ิงหนึ่งที่ควรตระหนัก คือความ เปน็ ไทย ยึดเนน้ ขนบจารีตดงั้ เดมิ ตามรูปแบบแนวคิดต่าง ๆท่ีบคุ คลสาคัญด้านนาฏศลิ ป์ไทยไดก้ ลา่ วขา้ งต้น จากการวจิ ัยดงั กลา่ ว ผ้วู ิจยั พบว่าในขณะท่มี ีการคิดสร้างสรรค์ผลงานการแสดงท่ีประดิษฐ์ขึ้นได้ใช้ความรู้ ดา้ นศิลปะการแสดงต่างๆโดยเฉพาะการแสดงหุ่นกระบอก ผนวกเข้ากับการแสดงโขนแบบจารีตและบุคลิกและจิต วิญญาณ ท่ีแสดงออกตามธรรมชาติของเยาวชนผู้แสดง ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผลิตผลงานใหม่ๆ แต่ยังคงยึดระเบียบ แบบแผนในการนาเสนอผลงานสร้างสรรค์ ภูริตา เรืองจิรยศ (2551) มขอมโบราณ การศึกษาได้ศึกษาเรื่องการสร้างสรรค์ระบา ข้อมูลศิลปกรร พบวา่ การสร้าวสรรคร์ ะบา ข้อมูลศิลปกรรมขอมโบราณคือระบาทสี่ ร้างสรรคข์ ้นึ ตามจินตนาการแนวความคิดของผู้ สร้างสรรค์ จากการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลและหลักฐานทางศิลปกรรมขอมโบราณ เพ่ือให้เห็นถึงขนบธรรมเนียม ประเพณี พิธีกรรมตามคติความเช่ือต่างๆและความศรัทธาที่มีต่อศาสนาพราหมณ์ ลัทธิไศวนิกาย ลัทธิไวษณพ นกิ าย และศาสนาพทุ ธ นิกายมหายาน ด้วยสาเหตุที่ว่าชาวขอมโบราณมีความเช่ือและความศรัทธาท่ีมีต่อศาสนา พราหมณ์และศาสนาพทุ ธในเรอื่ งการฟอ้ นรา เพ่ือบูชาบวงสรวงเทพเจ้าหรือสิ่งศักด์ิสิทธ์ิและจาการท่ีขอมเคยเรือง อานาจอยู่ในบริเวณพ้ืนท่ีประเทศไทยปัจจุบัน ซ่ึงเห็นได้จากการค้นพบโบราณสถานและโบราณวัตถุสมัยลพบุรี ช่วงพุทธศตวรรษที่ (16-19) ทาให้มีแนวคิดในการสร้างสรรค์ระบา ศิลปกรรมขอมโบราณข้ึนในชุดแรกคือระบา ลพบรุ แี ละได้รบั ความนยิ มจากผู้ชมจานวนมาก สรปุ วา่ จากการศกึ ษาผลงานวิจัยทเ่ี กี่ยวข้อง จะพบว่ากระบวนการสร้างสรรค์งานนาฏศิลป์สู่การ ประกวดผลงานระดับชาติ จาเป็นต้องอาศัยองค์ประกอบหลายอย่างเพ่ือให้ผลงานนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์เกิด ความสมบูรณ์ในรูปแบบของการสร้างสรรค์ผลงาน งานวิจัยของทุกท่านท่ีกล่าวมา ล้วนต้องศึกษาเทคนิค วิธีการ ขนั้ ตอนของการออกแบบประดิษฐ์ผลงานนาฏศิลปไ์ ทยสร้างสรรค์ โดยอาศัยองคป์ ระกอบดา้ นแนวคิด ด้านรูปแบบ ของการสร้างสรรค์ ด้านกระบวนท่าท่ีใช้ประกอบการแสดง ด้านการเลือกบทเพลงประกอบการแสดง ด้านการ ออกแบบเสือ้ ผ้า ด้านอุปกรณ์ ฉาก ประกอบการแสดง และด้านการออกแบบการแปรแถว ทุกอย่างท่ีกล่าวมาถือ เป็นปัจจัยสาคัญในการทาให้ผลงานงดงามและหัวใจสาคัญในการสร้างสรรค์ก็คือกระบวนท่าท่ีออกแบบเพ่ือ สร้างสรรค์ 22 บทที่ 3 วิธีการดาเนนิ โครงงาน หัวข้อผลงานโครงงาน “ อัคราภริ ักษศ์ ิลปนิ ” การออกแบบ / วิธกี ารเล่าเรอื่ ง รูปแบบวธิ ีการสร้างสรรค์ ออกแบบดงั นี ้ Part 1 ราสดดุ ีเทดิ พระเกียรติ Part 2 เหเ่ รือ ขบวนเทิดพระเกยี รติ Part 3 เลา่ ขานงานพระราชกรณียกจิ Part 4 พสกนิกรเป็นสขุ แซ่ซอ้ งสรรเสรญิ / จบแบบต้งั ซุ้ม วัสดุอปุ กรณ์ ฉากลายไทย 4 แผ่น พร้อมพระฉายาลกั ษณ์ เรือสพุ รรณหงส์ 1 ชดุ แยกหัวท้าย หนงั ใหญพ่ ระราชกรณยี กจิ 4 ชุด หนงั ใหญ่ลงดาเชิดผสม 2 ชดุ เครอ่ื งหัตถกรรมจักสาน 2 ชุด ผา้ ไหมใหญ่ 4 ผนื , เลก็ 2 ผืน ชดุ เศยี ร เครื่องศิราภรณ์ พระ นาง ยักษ์ ลิง การแตง่ กายประกอบการแสดง 23 เพลงประกอบการแสดง เพลงอคั ราภริ กั ษศ์ ลิ ปนิ สมศักดิ์ ทองปาน ผู้ประพนั ธ์ นายธรี วฒั น์ นพเสาร์ ตาแหนง่ ดรุ ยิ างคศิลปิน(ปฏิบตั ิงาน) ผเู้ รียบเรยี งออกแบบดนตรีและบรรเลง กองการสังคีต สานกั วัฒนธรรม กฬี า และการทอ่ งเทย่ี ว ดนตรเี พลงเวสสุกรรม 2 ช้ัน อคั ราภิรกั ษ์ศลิ ปนิ พระผู้ทรงนามระบลิ อุปถัมภ์ พระราชกรณียกจิ งามเลศิ หัตถกรรม ไหมเลศิ ล้าอนรุ ักษโ์ ขนหลวงไทย ดนตรีเพลงแขกบรเทศ 2 ช้นั ยูเนสโกประกาศก้องไปทัว่ หล้า อัครราชนิ ศี รีสยาม ศิลปาชีพวฒั นธรรมเลื่องลอื นาม สถิตเป็นมิ่งขวญั ชาตขิ องชาวไทย นาฏศิลปไ์ ทยสรา้ งสรรค์บันดาลสขุ นาฏยประยุกต์รว่ มขานไข น้อมราลึกมหามงคลดลอวยชัย ขอพระแมไ่ หมไทยทรงพระเจริญ ......................ดนตรบี รรเลงกาพย์เหเ่ รือ ออก....................... ...............ดนตรที าเพลงกลองกราวนอก................. (เชิดหนังใหญ่ประกอบการพากย์) หนังใหญ่ตัวท่ี 1 อคั ราภิรกั ษศ์ ิลปิน หนงั ใหญ่ตวั ท่ี 2 ร่วมยลยลิ ผา้ ไหมไทยสยาม หนงั ใหญ่ตัวที่ 3 หตั ถกรรมนาชวี ิตท่ัวเขตคาม หนงั ใหญ่ตัวที่ 4 เกรกิ พระนามโขนหลวงศรีแผน่ ดนิ ...................ดนตรีบรรเลงเพลงอคั ราภิรกั ษ์ศลิ ปนิ รว่ มสมัย.................... จบ รปู แบบการแปรแถว แถวปากพนงั แถวหนา้ กระดานสับหวา่ ง แถวเฉียงสับหว่าง แถวตอนลึกคู่ แถวตอนลึกเดี่ยว แถวปากพนงั คู่ ผสมผสานการขน้ึ ลอยของโขน และออกแบบการตงั้ ซุ้มตอนจบ 24 บทท่ี 4 ผลการดาเนินโครงงาน นาฏศลิ ป์ไทยสรา้ งสรรค์ชุด “อัคราภิรักษ์ศลิ ปิน” Part 1 ราสดุดเี ทดิ พระเกยี รติ Part 2 เหเ่ รือ ขบวนเทิดพระเกยี รติ 25 Part 3 เล่าขานงานพระราชกรณยี กิจ Part 4 พสกนกิ รเปน็ สขุ แซซ่ ้องสรรเสรญิ / จบแบบต้ังซมุ้ 26 บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ สรุปอภิปรายผล จากการศึกษาโครงงาน อัคราภิรักษ์ศลิ ปิน เป็นผลงานการแสดงที่สามารถเป็นส่ือกลางใหน้ กั เรยี น นักแสดง เกดิ ความรกั และภาคภูมิใจในสถาบนั พระมหากษตั ริย์ และการทไ่ี ดเ้ กดิ มาเปน็ คนไทย การแสดงชุดนี้ สามารถหลอมรวมผลงานพระราชกรณยี กจิ ไดด้ ว้ ยการจากดั ของเวลา เพอ่ื ใหก้ ระชับ เล่าเร่อื งราวชดั เจน จากการ ประเมินความพงึ พอใจของผ้ชู ม ทง้ั ครูอาจารย์และนักเรียน พบวา่ การแสดงชุดน้เี ทิดพระเกยี รติไดอ้ ย่างนา่ ประทบั ใจ และตอบคาถามในช่วงเหตกุ ารณ์ปจั จุบนั ท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ได้เสดจ็ สวรรคต ทาใหพ้ สกนิกรท่ัวหลา้ ต่างเปน็ ห่วงสมเด็จพระนางเจา้ สริ กิ ิต์ิ ทพ่ี ระองคต์ อ้ งอยู่เพยี งลาพงั และทรงพระ ประชวรอีกดว้ ย จึงขอให้ส่ือสรา้ งสรรค์ผลงานการแสดงชดุ นใ้ี ห้พระองค์โปรดทรงทราบถึงความรักความหว่ งใยที่ เราตา่ งเปน็ หว่ งพระองค์ท่าน และขอพระองค์ทา่ นจงทรงมพี ระชนมายยุ ิ่งยืนนาน ขอพระองคท์ รงพระเจริญ ข้อเสนอแนะ 1.การแสดงทไ่ี ด้ประดิษฐข์ ้นึ ในรปู แบบโครงงาน สามารถพัฒนาตอ่ ยอด ในแง่มมุ อน่ื ๆ เพ่อื ใหเ้ กิดการ อนุรักษ์ศลิ ปวฒั นธรรมได้อกี หลายแง่คดิ มมุ มอง จงึ ขอเสนอต่อผทู้ ่ีสนใจ เพอื่ ไดม้ ผี ลงานท่ีมากหลายหลายข้นึ กวา่ เดิมเปน็ การสร้างสรรค์สรรค์รว่ มกันให้ดียิง่ ขน้ึ 2.การแสดงชุดน้เี หมาะสมทจ่ี ะใช้แสดงเนอื่ งในวโรกาสเทิดพระเกยี รติสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ ิกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ 27 บรรณานกุ รม จาตุรงค์ มนตรศี าสตร์.2527.นาฏศลิ ป์ศึกษา.กรุงเทพมหานคร : อกั ษรสยามการพิมพ์ . จิรายทุ ธ พนมรักษ์ .2533 เอกลกั ษณ์ไทยในงานนาฏศิลปไ์ ทยร่วมสมยั . กรงุ เทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย . ชมนาด กจิ ขนั ธ์ . 2547นาฏยลักษณ์ตัวพระละครแบบหลวง .วิทยานพิ นธป์ ริญญาดษุ ฎี บณั ฑิต.คณะศลิ ปกรรมศาสตรจ์ ฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั . ธนิต อยู่โพธิ์. 2516.ค่มู อื นาฏศิลปไ์ ทย . อยุธยา : หา้ งหนุ้ ส่วนจากัดศวิ พร . นิสา เมลานนท์ .2547.คู่มอื นาฏยประดิษฐ์ ชุดนาฏยศพั ทส์ าหรบั ละคร เล่ม 1.คณะมนษุ ย์ ศาสตร์และสังคมศาสตร์ . สถาบันราชภัฏราชนครินทร์. ประทิน พวงสาลี .2514. หลกั นาฏศลิ ป์. กรุงเทพมหานคร : ไทยมิตรการพมิ พ์. พมิ ณภทั ร์ ถมังรกั ษส์ ตั ว์ .2555.เอกสารจดั อบรมนาฏศลิ ปไ์ ทยสร้างสรรค์. จัหวัดชลบรุ ี. ภูริตา เรืองจิรยศ . 2551.การสรา้ งสรรค์ระบา . กรงุ เทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย , รจนา สุนทรานนท์ .2551. การแสดงนาฏศลิ ป์ไทย. กรงุ เทพมหานคร . ราชบัณฑติ ยสถาน . 2542.พจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน.กรุงเทพมหานคร : ศิรวิ ัฒนา อนิ เตอรพ์ ร้ินท์. รานี ชัยสงคราม.2544.นาฏศลิ ป์ไทยเบ้ืองต้น.พมิ พค์ รงั้ ที่1 กรงุ เทพมหานคร :องค์การค้าครุสภา เรณู โกศินานนท์.2544.ราไทย.กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์คุรสุ ภาลาดพรา้ ว . สวภัทร วงษด์ นตรี.2541.นาฏศิลปส์ ภี่ าค เล่ม 1 นาฏศิลป์ภาคกลาง . กระทรวงศึกษาธิการ. สภุ าวดี โพธิเวชกุล .2552. การแก้ไขท่าทางในการปฏิบตั ิทา่ ราให้ได้มาตรฐานนาฏศลิ ปไ์ ทย แบบหลวง , มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา. สุมนมาลย์ นิ่มเนติพนั ธ์.2551.ดนตร-ี นาฏศิลป์ 3. อักษรเจริญทศั น์ : กรงุ เทพมหานคร. สุมิตร เทพวงษ์ .2541.นาฏศลิ ป์ไทย นาฏศลิ ป์สาหรับครปู ระถมและมธั ยม . โอเดยี นสโตร์ : กรุงเทพมหานคร. สรุ พล วริ ุฬห์รกั ษ์.2543.นาฏศลิ ปป์ รทิ รรศ์.กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์หอ้ งภาพสุวรรณ. อรวรรณ ขมวัฒนา . 2530. ราไทยในศตวรรษท่ี 2 แห่งกรุงรตั นโกสนิ ทร์:กรงุ เทพมหานคร. อมรา กล่าเจรญิ .2252 .วธิ สี อนนาฏศลิ ป์.กรงุ เทพมหานคร: สานกั พิมพโ์ อเดียนสโตร์. 2531.สนุ ทรียนาฏศลิ ป์ไทย. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์. อาคม สายาคม.2545. รวมงานนิพนธข์ องนายอาคม สายาคม .รงุ่ ศิลปก์ ารพมิ พ์ : กรม ศลิ ปากร, 28 รายชือ่ นกั เรียนร่วมแขง่ ขัน งานศิลปหัตถกรรมนกั เรยี น ระดับภาค นาฏศิลป์ไทยสรา้ งสรรค์ ม.ปลาย 6/1 ชดุ “อคั ราภริ กั ษศ์ ิลปนิ ” 5/4 4/2 1.นางสาวเบญจลกั ษณ์ ทศิ า 2.นางสาวปฏิมากร แสนสดุ 5/3 3.นางสาวปวนั รัตน์ อ่ิมใจ 5/3 4.นางสาววชิ ิตา แก้วสุวรรณ 5.นางสาวณัฐณิชา หมอยาดี 6/1 6.นางสาวมนทริ า ตู้บันเทงิ 6/4 7.นางสาวจฑุ าทพิ ย์ มิ่งกุล 6/2 8.นางสาวลฎาภา แสงอภไิ ชย 9.นายกมลภพ ก้องสนาะ 6/1 10.นายสาธติ บุญสนิ ธุ์ 6/1 11.นายสิทธกิ ร พยงุ สด 12.นายจักรนิ ทร์ ปญั สวัสดิ์ 5/1 13.นายเมธาสิทธ์ิ ใจหาญ 5/2 14.นายมนตรี จอดนอก 4/4 15.นายพนั ธกานต์ ศรีอคั รภานนท์ 16.นายอรรควุฒิ เจริญกจิ 4/4 6/1 ผู้ฝึกซ้อมควบคมุ 6/3 1.นายสมศกั ด์ิ ทองปาน 2.นายกวี รอนกระโทก 3.นายพรชยั สมเสาร์ 4.นายวิชัย ย่งิ ประเสรฐิ 29 ชอ่ื -นามสกลุ ขอ้ มลู ผูจ้ ดั ทา วัน เดอื น ปี เกิด สถานท่เี กดิ นายสมศกั ดิ์ ทองปาน ประวตั กิ ารศกึ ษา วนั ศกุ ร์ ท่ี 22 มนี าคม พ.ศ.2511 พ.ศ.2530 มธั ยมศึกษา จงั หวัดยะลา พ.ศ.2536 ปรญิ ญาตรี พ.ศ.2559 ปรญิ ญาโท โรงเรยี นสตรยี ะลา ครุศาสตรบัณฑติ สาขานาฏศลิ ป์ วิทยาลยั ครนู ครปฐม ตาแหน่งงานปจั จุบนั ศิลปศาสตรมหาบัณทติ สาขาวชิ าศลิ ปะการแสดง(นาฏศลิ ปไ์ ทย) สถานท่ีทางาน มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสนุ ันทา ครเู ช่ยี วชาญ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรตสิ มเด็จพระศรีนครนิ ทร์ ระยอง 1 หมู่ 4 ตาบลนาตาขวัญ อาเภอเมอื ง จังหวัดระยอง 21000