ทำไมต องหาฤทธ ต านอน ม ลอ สระหลายว ธ

ต้อกระจกเป็นภาวะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดการขุ่นของ “เลนส์ตา” ปกติเลนส์ตาจะมีลักษณะใส ทำหน้าที่ช่วยในการรวมแสงให้ตกลงบนจอประสาทตาพอดี เมื่อเกิดต้อกระจก ทำให้แสงไม่สามารถเข้าไปในตาได้ตามปกติ ทำให้การมองเห็นไม่ชัดเจนหรือมีอาการตามัว พบบ่อยในผู้สูงอายุ

สาเหตุของโรค

ต้อกระจกเกิดจากความเสื่อมของโปรตีน ซึ่งเป็นองค์ประกอบของเลนส์ตา ทำให้เลนส์ตาขุ่นและแข็งขึ้น มักพบมากในผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป สาเหตุหลักคือ เป็นความเสื่อมตามวัย โดยสัมพันธ์กับอายุที่เพิ่มขึ้น แต่อาจพบได้กลุ่มอายุน้อยได้เช่นกัน เช่น ความผิดปกติตั้งแต่กำเนิดจากมารดาที่ติดเชื้อหัดเยอรมันขณะตั้งครรภ์

สาเหตุอื่น ๆ ที่ทำให้เกิดต้อกระจก

  • การได้รับรังสีอัลตราไวโอเลตเป็นเวลานาน ๆ
  • มีโรคประจำตัวที่ส่งเสริมให้เกิดต้อกระจกได้ เช่น เบาหวาน ต่อมไทรอยด์ทำงานผิดปกติ
  • โรคทางตา เช่น ม่านตาอักเสบ ตาติดเชื้อ สายตาสั้นมาก ๆ เคยผ่าตัดตามาก่อน เช่น หลังผ่าตัดจอตา
  • ใช้ยากลุ่มสเตียรอยด์เป็นเวลานาน
  • เคยมีอุบัติเหตุที่ดวงตาหรือดวงตาได้รับการกระทบกระเทือนบ่อย ๆ
  • การใช้ยากลุ่มสเตียรอยด์
  • เคยโดนฉายรังสีในส่วนบนของร่างกาย ศีรษะ

อาการต้อกระจก

  • มองไม่ชัดอย่างช้า ๆ ไม่มีการอักเสบหรือปวด มองเห็นมัวเหมือนมีฝ้าหรือหมอกบัง มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับระดับและตำแหน่งของความขุ่นในเนื้อเลนส์
  • ภาพซ้อน สายตาพร่า เกิดจากความขุ่นของเลนส์แก้วตาไม่เท่ากัน การหักเหของแสงไปที่จอประสาทตาจึงไม่รวมเป็นจุดเดียว ในผู้ป่วยบางรายจะมีสายตาสั้นมากขึ้นเรื่อย ๆ จนทำให้ต้องเปลี่ยนแว่นตาบ่อย ๆ บางรายสายตาสั้นขึ้นจนกลับมาอ่านหนังสือได้โดยไม่ต้องใส่แว่น
  • สู้แสงสว่างไม่ได้ มองเห็นแสงไฟกระจาย โดยเฉพาะขณะขับรถในตอนกลางคืน
  • มองเห็นสีต่าง ๆ ผิดเพี้ยนไปจากเดิม ต้องการแสงสว่างมากขึ้นในการมอง
  • เมื่อต้อกระจกสุก อาจสังเกตเห็นเป็นสีขาวตรงรูม่านตา ซึ่งปกติเห็นเป็นสีดำ หากละเลยทิ้งไว้จนต้อกระจกสุกเกินไป อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ เช่น โรคต้อหิน การอักเสบภายในตา ซึ่งทำให้เกิดอาการปวดตา ตาแดง และอาจถึงขั้นสูญเสียการมองเห็นได้

การรักษาต้อกระจก

ช่วงแรกของการเป็นต้อกระจก การเปลี่ยนแว่นตาแก้ไขอาจทำให้มองเห็นชัดขึ้นได้บ้าง ยังไม่มียาหยอดตาหรือยารับประทานใด ๆ ที่รักษาต้อกระจกได้ เมื่อเป็นมากขึ้นมองไม่ชัด วิธีการรักษาคือการผ่าตัดเท่านั้น

ดูเพิ่มเติมคลิก การผ่าตัดรักษาต้อกระจกและเลนส์แก้วตาเทียมชนิดต่าง ๆ

การผ่าตัดต้อกระจก

  1. วิธีสลายต้อกระจกด้วยเครื่องสลายต้อ (Phacoemulsification with Intraocular Lens)

วิธีที่ได้รับความนิยมสูงสุดในปัจจุบัน แผลที่กระจกตาเล็กเพียง 3 มม. แพทย์จะสอดเครื่องมือสลายต้อเข้าไปที่ตัวต้อกระจก ใช้พลังงานความถี่สูงเท่าระดับอัลตราซาวนด์เข้าสลายต้อกระจกจนหมดจึงใส่เลนส์แก้วตาเทียมเข้าไปแทนที่ แผลมีขนาดเล็กมาก ไม่ต้องเย็บแผลในคนไข้ส่วนใหญ่

อนุมูลอิสระ (Free Radical) คือ โมเลกุลหรืออะตอมที่ไม่เสถียรเนื่องจากขาด อิเลกตรอน ซึ่งโดยปกติในร่างกายของเรามีโมเลกุลหรืออะตอมที่มีอิเลคตรอนอยู่เป็นจำนวนคู่ ในกรณีที่ร่างกายมีการสูญเสียอิเลคตรอนจากการถูกอนุมูลอิสระแย่งจับ จะทำให้โมเลกุลของเซลล์ในร่างกายไม่เสถียร ขาดความสมดุล ซึ่งส่งผลทำให้เซลล์ร่างกายเสียหายได้

อนุมูลอิสระมาจากไหน

แหล่งภายนอก ได้แก่ มลพิษในอากาศ โอโซน ไนตรัสออกไซด์ ไนโตรเจนไดออกไซด์ ฝุ่น ควันบุหรี่ อาหารที่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัว แสงแดด ความร้อน รังสีแกมม่า และแหล่งภายใน ได้แก่อนุมูลอิสระที่ร่างกายสร้างขึ้น ตัวอย่างของอนุมูลอิสระ ได้แก่

  • O2- Superoxide anion อนุมูลซุปเปอร์ออกไซด์
  • OH- Hydroxyl radicle อนุมูลไฮดรอกซิล
  • ROO Peroxy radicle อนุมูลเปอร์ออกซี
  • H2O2 Hydrogen Peroxide ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
  • Lipid Peroxyl, LO2 ลิปิดเปอร์ออกซี

อนุมูลอิสระเข้าไปทำลายเซลล์ได้อย่างไร

อนุมูลอิสระเข้าไปทำลายเซลล์ เมื่อร่างกายไม่สามารถผลิตหรือได้รับสารต้านอนุมูลอิสระเพียงพอที่จะไปยับยั้งหรือไปจับอนุมูลอิสระได้ภายในเซลล์ของร่างกาย ผลคือทำให้เซลล์เกิดความเสียหายและนำไปสู่การเกิดโรคต่างๆ เช่น โรคมะเร็ง หัวใจและหลอดเลือด แก่ก่อนวัย ต้อกระจก และโรคอื่นๆ เช่น อนุมูลอิสระไปทำลายผนังหลอดเลือดแดง และเมื่อมีไขมันไปสะสมอยู่ในบริเวณหลอดเลือดแดงที่ถูกทำลาย จะทำให้เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในที่สุด แต่ถ้าเราได้รับสารต้านอนุมูลอิสระเพียงพอ สารต้านอนุมูลอิสระเข้าไปป้องกันหรือแย่งที่จับกับอนุมูลอิสระ และนำอนุมูลอิสระเหล่านั้นไปทิ้งนอกเซลล์ ทำให้เซลล์ไม่ถูกทำลาย

ร่างกายจึงมีกลไกที่จะกำจัดสารอนุมูลอิสระได้ 2 วิธี คือ

  • การใช้เอนไซม์ที่ร่างกายสร้างขึ้นเพื่อจับกับอนุมูลอิสระ เช่นเอ็นไซม์ superoxide dismutase (SOD) เอ็นไซม์ catalase glutathione peroxidaes แต่ร่างกายมักสร้างไม่เพียงพอ เซลล์จึงเกิดการบาดเจ็บขึ้น และเมื่อคนเรามีอายุมากขึ้น การสร้างสารต้านอนุมูลอิสระจะลดลง ในขณะที่อัตราการเกิดอนุมูลอิสระยังเท่าเดิม ผลที่ตามมาคือ ทำให้เกิดโรคต่างๆมากมาย
  • การได้รับสารต้านอนุมูลอิสระจากอาหาร เช่นวิตามิน อี เบ้ตาแคโรทีน แอนโทไซยานิดิน (anthrocyanidin) สารประกอบโฟลีฟีนอลต่างๆ เช่น แทนนิน แคทซิชิน เป็นต้น นอกจากนี้ยังรวมถึงโคเอนไซม์คิวเท็น (CoenzymeQ10) หรือโคคิวเท็น (Co Q10) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่ออื่นๆ เช่น ยูบิควิโนน (Ubiquinone) โดยจัดเป็นสารจำพวกวิตามิน หรือคล้ายวิตามิน และมีอยู่ในทุกเซลล์ของร่างกาย ทำหน้าที่เป็นโคเอนไซม์ที่จำเป็นตัวหนึ่งในการเริ่มปฏิกิริยาเคมีเพื่อสร้างพลังงาน ในร่างกาย จึงมีความสำคัญต่อกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ โดยเฉพาะกล้ามเนื้อหัวใจ เนื่องจากหัวใจต้องทำงานตลอดเวลา สำหรับบุคคลทั่วไป แม้ว่าร่างกายจะสร้าง CoQ10 ได้เอง แต่ความสามารถนี้จะลดลง เมื่ออายุ 21 ปีขึ้นไป ในขณะที่ปริมาณที่ร่างกายต้องการกลับไม่ลดลง

จากข้อมูลในการทำวิจัยเบื้องต้นพบว่าน้ำมันรำข้าวที่ผ่านการสกัดเย็นเป็นแหล่งที่ดีของ CoQ10 เช่นกัน และมีหลายการศึกษาพบว่า CoQ10 มีบทบาทที่สำคัญต่อการรักษาโรคทาลัสซีเมีย นอกจากนี้ CoQ10 ยังช่วยลด oxidative stress ทำให้มีการต้านอนุมูลอิสระได้ดียิ่งขึ้น และยังสามารถชะลอการเสื่อมของเซลล์สมองที่เกิดจาก oxidative stress โดย CoQ10 จะทำหน้าที่ stabilizing mitochondria membrane ด้วยเหตุนี้ CoQ10 จึงอาจเป็นทางเลือกในการรักษาผู้ป่วยที่เกิดจากเซลล์สมองเสื่อม ได้แก่ โรคพาร์กินสัน โรค Friedreich's Ataxia

ดังที่กล่าวมาแล้วจะเห็นได้ว่า ข้าวนับว่าเป็นธัญญาหารที่มหัศจรรย์ กล่าวคือในตัวข้าวเองมีคุณค่าทางโภชนาการอยู่บนทุกอณูของเมล็ด ทั้งเนื้อข้าว รำข้าว หรือจมูกข้าว ดังนั้นเราควรกินข้าวให้ครบทุกส่วนของเมล็ด เพื่อชีวิตที่แข็งแรง ห่างไกลจากโรคเรื้อรังต่างๆ และมีสุขภาพดี มีอายุยืนยาว

ทำไมต องหาฤทธ ต านอน ม ลอ สระหลายว ธ

“ข้าวลูกผสม” Game-Charger of Rices


ในต้นฤดูร้อนของรัฐ Texas และ Arkansas เฮลิคอปเตอร์ขนาดเล็กถูกนำขึ้นบินเหนือนาข้าว จุดประสงค์คืออาศัยแรงลมจากใบพัดช่วยในการผสมเกสร ซึ่งเป็นวิธีการสร้างเมล็ดพันธุ์ข้าวลูกผสมของบริษัท RiceTec พันธุ์ที่ได้นั้นเป็นพันธุ์ข้าวที่ให้ผลผลิตสูง และเป็นที่นิยมของเกษตรกรทางตอนใต้ของสหรัฐอเมริกา แม้ว่าวิธีการดังกล่าวจะมีต้นทุนสูง และมีความยุ่งยากเพียงใด แต่ก็ยังคุ้มค่าเมื่อเทียบกับผลลัพธ์ เนื่องจากเมล็ดพันธุ์ลูกผสมนั้น จะเจริญเติบโตเป็นต้นข้าวที่แข็งแรงและปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้เป็นอย่างดี ยิ่งไปกว่านั้นยังให้ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์ข้าวปกติ ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า Hybrid vigor ซึ่งจะพบในลูกผสมที่เกิดจากการผสมข้ามสองพันธุ์…

อนุมูลอิสระออกซิเจน (reactive oxygen species) เกิดขึ้นได้อย่างไร

ROS จะเกิดขึ้นจากกระบวนการต่างๆของร่างกายผ่านกระบวนการสร้าง ATP โดย O2 จะเปลี่ยนไป เป็น H2O โดยปกติร่างกายของมนุษย์จะต้องการ ATP วันละ 300 mol ซึ่งจะได้จากการใช้O2 จานวน 100 mol ซึ่ง ROS ที่เกิดขึ้นนั้นจะถูกเปลี่ยนให้กลายเป็นน้าโดยผ่านเอนไซม์และบางขั้นตอนก็ผ่านปฏิกิริยาโดยไม่ ใช้เอนไซม์นอกจากการสร้างพลังงานแล้ว ในกลไก ...

ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ มีอะไรบ้าง

ชะลอกระบวนการแก่ชรา.

ลดความเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็ง.

ลดภาวะอาการอัลไซเมอร์.

ลดระดับคอเลสเตอรอลในร่างกาย.

ช่วยป้องกันและลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ.

ช่วยป้องกันโรคเส้นเลือดในสมองตีบ.

ช่วยเป็นเกราะในการป้องกันมลพิษต่าง ๆ จากสิ่งแวดล้อม.

โรคที่เกิดจากอนุมูลอิสระมีอะไรบ้าง

สารอนุมูลอิสระเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคเรื้อรังต่างๆ.

โรคความดันโลหิตสูง.

โรคหลอดเลือดหัวใจ.

โรคอัลไซเมอร์.

มะเร็ง.

DPPH and ABTS ต่างกันอย่างไร

DPPH ต่างจาก ABTS ที่ DPPH ไม่ต้องผ่านการท าปฏิกิริยาที่ท าให้เกิดอนุมูลอิสระเหมือนกับ ABTS และ FRAP เนื่องจากอนุมูลอิสระของ DPPH ที่มีสีม่วงอยู่ในรูปอนุมูลไนโตรเจนที่มีความคงตัวสูงมาก 4.2 การทดสอบฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสด้วยวิธี dopachrome.